로고

「2019년 국가정보법」

• 국 가 ‧ 지 역: 태국 • 제정일: 2019년 4월 15일

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพ ยวรางกูร ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็น ปีที่ ๔ ในรัชกาลปัจจุบัน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพ ยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยข่าวกรอง แห่งชาติ พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการ จ ากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๖ ประกอบกับมาตรา ๒๘ มาตรา ๓๒ มาตรา ๓๓ และ มาตรา ๓๖ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระท าได้โดยอาศัยอ านาจตามบทบัญญัติ แห่งกฎหมาย เหตุผลและความจ าเป็นในการจ ากัดสิทธิและเสรีภาพ ของบุคคลตามพระราชบัญญัตินี้ เพื่อประโยชน์แก่การ ปฏิบัติหน้าที่ของส านักข่าวกรองแห่งชาติในการได้มาซึ่ง ข้อมูลหรือเอกสารที่มีผลกระทบต่อความมั่นคงแห่งชาติ ซึ่งการตราพระราชบัญญัตินี้สอดคล้องกับเงื่อนไขที่ บัญญัติไว้ในมาตรา ๒๖ ของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทยแล้ว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้น ไว้โดยค าแนะน าและยินยอมของสภานิติบัญญัติ แห่งชาติท าหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้ 마하와치라롱껀 버딘트라텝파야와랑꾼 폐하께서 재위 4번째 해인 2019(불기 2562년) 4월 15일에 하사하셨다. 폐하께서는 다음과 같이 공포하게 하셨다. 국가 정보 관련 법률을 개정하는 것이 마땅하다. 이 법률은 개인의 권리와 자유의 제한 과 관련한 일부 조항을 포함한다. 즉, 「태국헌법」 제26조가 제28조, 제32 조, 제33조 및 제36조와 연계하여 법 률에서 규정하는 권한에 따라 이행하도 록 규정한다. 이 법에 따라 개인의 권리와 자유를 제 한하는 이유와 필요성은 국가 안보에 영향을 미치는 정보 또는 문서를 수집 하는 국가정보원의 임무 수행에 유익하 도록 하기 위한 것으로, 이 법률의 제 정은 「태국헌법」 제26조에서 규정하 는 조건에 부합한다. 이에 폐하께서 의회 역할을 수행하는 입법부의 조언과 동의를 통하여 다음과 같이 이 법을 제정하게 하셨다.

มาตรา ๑

พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติข่าวกรอง แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒”

มาตรา ๒

พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวัน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

มาตรา ๓

ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติข่าวกรองแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๒๘

มาตรา ๔

ในพระราชบัญญัตินี้ “การข่าวกรอง” หมายความว่า การด าเนินการเพื่อให้ ทราบถึงความมุ่งหมาย ก าลังความสามารถและความ เคลื่อนไหว รวมทั้งวิถีทางของบุคคล กลุ่มบุคคล หรือ องค์การใด ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ ที่อาจ กระท าการอันเป็นพฤติการณ์เป็นภัยคุกคาม ทั้งนี้ เพื่อ รักษาความมั่นคงหรือประโยชน์แห่งรัฐและให้รัฐบาล น ามาประกอบการพิจารณาในการก าหนดนโยบาย แห่งชาติ “การต่อต้านข่าวกรอง” หมายความว่า การด าเนินการ เพื่อต่อต้านการกระท าของต่างชาติ บุคคล กลุ่มบุคคล หรือองค์การใด ที่มุ่งหมายจะให้ได้ไปซึ่งความลับของ ชาติ หรือท าลายความมั่นคงแห่งชาติโดยการจารกรรม การบ่อนท าลาย การก่อวินาศกรรม และการก่อการร้าย หรือการอื่นใดอันเป็นภัยคุกคามเพื่อรักษาความมั่นคง หรือประโยชน์แห่งรัฐ “การข่าวกรองทางการสื่อสาร” หมายความว่า การใช้ เทคนิคและการด าเนินกรรมวิธีทางเทคโนโลยีและ เครื่องมือสื่อสาร เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ ความเคลื่อนไหวในการข่าวกรองและการต่อต้านข่าว กรอง “การรักษาความปลอดภัยฝ่ายพลเรือน” หมายความว่า การให้ค าแนะน า ช่วยเหลือและก ากับดูแลส่วนราชการ ฝ่ายพลเรือน รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ ใน การด าเนินการเพื่อรักษาความปลอดภัยแก่เจ้าหน้าที่ สถานที่ ข้อมูลข่าวสาร และสิ่งของอื่น ๆ ของทาง ราชการให้พ้นจากการจารกรรม การบ่อนท าลาย การ ก่อวินาศกรรม และการก่อการร้าย “ผู้อ านวยการ” หมายความว่า ผู้อ านวยการส านักข่าว กรองแห่งชาต

มาตรา ๕

ให้ส านักข่าวกรองแห่งชาติมีหน้าที่และอ านาจ ดังต่อไปนี้

(๑) ปฏิบัติงานเกี่ยวกับกิจการการข่าวกรอง การต่อต้าน ข่าวกรอง การข่าวกรองทางการสื่อสาร และการรักษา ความปลอดภัยฝ่ายพลเรือน

(๒) ติดตามสถานการณ์ภายในประเทศและ ต่างประเทศที่มีผลกระทบต่อความมั่นคงแห่งชาติ และ รายงานต่อนายกรัฐมนตรีและสภาความมั่นคงแห่งชาติ

(๓) กระจายข่าวกรองที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง แห่งชาติให้หน่วยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง ใช้ประโยชน์ตามความเหมาะสม

(๔) ศึกษา วิจัย และพัฒนาเกี่ยวกับกิจการการข่าว กรอง การต่อต้านข่าวกรอง และการรักษาความ ปลอดภัยฝ่ายพลเรือน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติงาน

(๕) เป็นศูนย์กลางประสานกิจการการข่าวกรอง การ ต่อต้านข่าวกรองและการรักษาความปลอดภัยฝ่ายพล เรือนกับหน่วยข่าวกรองอื่นภายในประเทศ

(๖) เป็นหน่วยงานหลักในการประสานกิจการการข่าว กรองและการต่อต้านข่าวกรองกับหน่วยข่าวกรองของ ต่างประเทศในเรื่องที่เกี่ยวกับความมั่นคงแห่งชาติ

(๗) เสนอแนะนโยบายและมาตรการ ตลอดจนให้ข้อมูล ค าแนะน า และค าปรึกษาด้านการข่าวกรอง การ ต่อต้านข่าวกรอง และการรักษาความปลอดภัยฝ่ายพล เรือนต่อนายกรัฐมนตรีและสภาความมั่นคงแห่งชาติ

(๘) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติ นี้ หรือตามที่นายกรัฐมนตรีหรือสภาความมั่นคง แห่งชาติมอบหมาย

มาตรา ๖

เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา ๕ ส านัก ข่าวกรองแห่งชาติอาจสั่งให้หน่วยงานของรัฐหรือบุคคล ใดส่งข้อมูลหรือเอกสารที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง แห่งชาติภายในระยะเวลาที่ผู้อ านวยการก าหนด หาก หน่วยงานของรัฐหรือบุคคลดังกล่าวไม่ส่งข้อมูลหรือ เอกสารภายในก าหนดเวลาโดยไม่มีเหตุอันสมควร ให้ ส านักข่าวกรองแห่งชาติรายงานต่อนายกรัฐมนตรีเพื่อ พิจารณาสั่งการตามที่เห็นสมควรต่อไป ในกรณีที่มีความจ าเป็นต้องได้มาซึ่งข้อมูลหรือเอกสาร อันเกี่ยวกับการข่าวกรอง การต่อต้านข่าวกรอง การข่าว กรองทางการสื่อสาร หรือการรักษาความปลอดภัยฝ่าย พลเรือน ส านักข่าวกรองแห่งชาติอาจด าเนินการด้วย วิธีการใด ๆ รวมทั้งอาจใช้เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ เครื่องโทรคมนาคม หรือ เทคโนโลยีอื่นใด เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลหรือเอกสาร ดังกล่าวได้ ทั้งนี้ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการ ด าเนินการให้เป็นไปตามระเบียบที่ผู้อ านวยการก าหนด โดยความเห็นชอบของนายกรัฐมนตรี โดยระเบียบ ดังกล่าวอย่างน้อยต้องก าหนดให้มีการบันทึก รายละเอียดขั้นตอนการด าเนินการโดยเจ้าหน้าที่ ผู้รับผิดชอบ เหตุผล ความจ าเป็น วิธีการ บุคคลที่ได้รับ ผลกระทบหรืออาจได้รับผลกระทบ และระยะเวลาใน การด าเนินการ รวมทั้งวิธีการป้องกัน แก้ไข และเยียวยา ผลกระทบต่อบุคคลภายนอกที่ไม่เกี่ยวข้อง การด าเนินการตามมาตรานี้ หากได้กระท าตามหน้าที่ และอ านาจโดยสุจริตตามสมควรแก่เหตุแล้ว และ เป็นไปเพื่อประโยชน์ด้านความมั่นคงหรือการป้องกัน ภัยสาธารณะ ให้ถือว่าเป็นการกระท าโดยชอบด้วย กฎหมาย

มาตรา ๗

ในกรณีที่หน่วยข่าวกรองอื่นของรัฐได้รวบรวมและ รายงานข่าวกรองให้ผู้บังคับบัญชาที่มีหน้าที่รับผิดชอบ ในหน่วยข่าวกรองนั้นแล้ว ให้หน่วยข่าวกรองดังกล่าว จัดส่งส าเนารายงานข่าวกรองนั้นต่อส านักข่าวกรอง แห่งชาติ ทั้งนี้ ตามระเบียบที่ผู้อ านวยการก าหนดโดย ความเห็นชอบของนายกรัฐมนตรี

มาตรา ๘

บรรดาข้อมูลข่าวสารที่ส านักข่าวกรองแห่งชาติได้รับมา เนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้จะ เปิดเผยมิได้ เว้นแต่เป็นการเปิดเผยต่อหน่วยข่าวกรอง หน่วยงานความมั่นคง นายกรัฐมนตรี หรือตามค าสั่ง ศาล

มาตรา ๙

ให้มีผู้อ านวยการส านักข่าวกรองแห่งชาติ มีหน้าที่ ควบคุมดูแลโดยทั่วไปซึ่งราชการของส านักข่าวกรอง แห่งชาติ รับผิดชอบขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี และเป็น ผู้บังคับบัญชาข้าราชการในส านักข่าวกรองแห่งชาติ ให้มีรองผู้อ านวยการส านักข่าวกรองแห่งชาติ และจะให้ มีผู้ช่วยผู้อ านวยการส านักข่าวกรองแห่งชาติเป็นผู้ช่วย สั่งและปฏิบัติราชการก็ได้ ให้ผู้อ านวยการส านักข่าวกรองแห่งชาติ รอง ผู้อ านวยการส านักข่าวกรองแห่งชาติ และผู้ช่วย ผู้อ านวยการส านักข่าวกรองแห่งชาติ เป็นข้าราชการพล เรือนสามัญ

มาตรา ๑๐

เพื่อประโยชน์แก่การพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงานด้าน การข่าวกรองของรัฐ ให้ผู้อ านวยการแต่งตั้งข้าราชการ พลเรือนสามัญในส านักข่าวกรองแห่งชาติที่มีความรู้ ความสามารถและมีประสบการณ์ในงานด้านการข่าว กรอง การต่อต้านข่าวกรอง การข่าวกรองทางการ สื่อสาร หรือการรักษาความปลอดภัยฝ่ายพลเรือนตาม ระเบียบที่ผู้อ านวยการก าหนด เป็นผู้ปฏิบัติงานข่าว กรองเพื่อปฏิบัติหน้าที่ในงานด้านการข่าวกรองของ ส านักข่าวกรองแห่งชาติ ให้ผู้ปฏิบัติงานข่าวกรองตามวรรคหนึ่ง ได้รับเงินเพิ่ม ส าหรับต าแหน่งที่มีเหตุพิเศษตามระเบียบที่ ผู้อ านวยการก าหนด โดยความเห็นชอบของ กระทรวงการคลัง

มาตรา ๑๑

เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ของส านักข่าวกรอง แห่งชาติตามพระราชบัญญัตินี้ ให้หน่วยงานอื่นของรัฐ มีค าสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ของรัฐที่มีความรู้ความสามารถ หรือมีประสบการณ์ในงานด้านการข่าวกรอง การ ต่อต้านข่าวกรอง หรือการรักษาความปลอดภัยฝ่ายพล เรือนไปช่วยปฏิบัติราชการในส านักข่าวกรองแห่งชาติ ตามที่ผู้อ านวยการร้องขอ ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐที่ได้รับค าสั่งให้ไปปฏิบัติหน้าที่ใน ส านักข่าวกรองแห่งชาติตามวรรคหนึ่ง มีสิทธิได้รับเงิน ประจ าต าแหน่งในอัตราที่ได้รับอยู่เดิมต่อไป ส าหรับ สิทธิประโยชน์อื่น ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น

มาตรา ๑๒

ให้ส านักข่าวกรองแห่งชาติจัดให้มีศูนย์ประสานข่าว กรองแห่งชาติ เรียกโดยย่อว่า “ศป.ข.” เป็นหน่วยงาน ภายใน เพื่อท าหน้าที่เป็นหน่วยงานกลางในการ ประสานกิจการการข่าวกรอง การต่อต้านข่าวกรอง และ การรักษาความปลอดภัยฝ่ายพลเรือนร่วมกับหน่วยข่าว กรองอื่นภายในประเทศ โดยให้ผู้อ านวยการแต่งตั้งรอง ผู้อ านวยการคนหนึ่งเป็นผู้อ านวยการศูนย์ประสานข่าว กรองแห่งชาติ เรียกโดยย่อว่า “ผอ.ศป.ข.” มีหน้าที่ รับผิดชอบ บริหารจัดการ และก ากับดูแลการ ด าเนินงานของ ศป.ข. ตามที่ได้รับมอบหมายจาก ผู้อ านวยการ

มาตรา ๑๓

ให้ ศป.ข. มีหน้าที่และอ านาจ ดังต่อไปนี้

(๑) ติดตาม ประเมิน และวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศตลอดยี่สิบสี่ชั่วโมง รวมทั้งรายงานข่าวประจ าวัน ข่าวเร่งด่วน ข่าวเฉพาะ กรณี และรายงานการแจ้งเตือนภัยล่วงหน้าที่เกี่ยวข้อง กับความมั่นคงต่อนายกรัฐมนตรี สภาความมั่นคง แห่งชาติ และผู้อ านวยการ ตลอดจนกระจายข่าวไปยัง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

(๒) เฝ้าระวังภัยคุกคามความมั่นคงปลอดภัย ทั้งใน ภาวะปกติและช่วงที่มีสถานการณ์ ช่วงเทศกาลที่ส าคัญ พระราชพิธี และการประชุมหรืองานพิธีการที่ส าคัญของ รัฐ เพื่อสนับสนุนการป้องกันหรือแก้ไขสถานการณ์ใน กรณีที่มีเหตุการณ์ฉุกเฉินรุนแรงเกิดขึ้น และปฏิบัติ ต่อเนื่องจนสิ้นสุดสถานการณ์นั้น

(๓) ให้ความรู้และประสานความร่วมมือด้านการข่าวกับ ภาครัฐ ภาคเอกชน รวมทั้งประชาชนทั้งในส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค

(๔) รายงานสถานการณ์และผลการปฏิบัติงานโดยรวม ปัญหาและอุปสรรคในการท างานของ ศป.ข. ตาม ระยะเวลาที่ผู้อ านวยการก าหนด ต่อนายกรัฐมนตรีหรือ รัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย และผู้อ านวยการ

(๕) ปฏิบัติงานอื่นตามที่นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีที่ นายกรัฐมนตรีมอบหมาย สภาความมั่นคงแห่งชาติ หรือผู้อ านวยการมอบหมาย

มาตรา ๑๔

เมื่อมีกรณีจ าเป็นในการปฏิบัติงานที่ต้องมีการประสาน การด าเนินงานข่าวกรองกับหน่วยงานอื่นของรัฐในพื้นที่ ภาคใด ผู้อ านวยการอาจจัดให้มีศูนย์ประสานข่าวกรอง แห่งชาติภาค เรียกโดยย่อว่า “ศป.ข.ภาค” ก็ได้ ให้ ศป.ข.ภาค เป็นหน่วยงานขึ้นตรงต่อ ผอ.ศป.ข. โดย ให้ผู้อ านวยการแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญใน ส านักข่าวกรองแห่งชาติคนหนึ่งเป็นผู้อ านวยการศูนย์ ประสานข่าวกรองแห่งชาติภาค เรียกโดยย่อว่า “ผอ.ศป.ข.ภาค”

มาตรา ๑๕

การแต่งตั้ง การพ้นจากต าแหน่ง และวิธีการปฏิบัติงาน ของผู้ปฏิบัติงานใน ศป.ข. และ ศป.ข.ภาค ให้เป็นไป ตามระเบียบที่ผู้อ านวยการก าหนด

มาตรา ๑๖

เจ้าหน้าที่หรือผู้ปฏิบัติงานของส านักข่าวกรองแห่งชาติ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๘ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ ถ้าการกระท าความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นการกระท า ความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่หรือความผิดต่อต าแหน่ง หน้าที่ราชการ ต้องระวางโทษสองเท่าของโทษที่ กฎหมายก าหนดไว้ส าหรับความผิดนั้น

มาตรา ๑๗

ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ผู้รับสนองพระราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี

「2019년 국가정보법」

• 국 가 ‧ 지 역: 태국 • 제정일: 2019년 4월 15일

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพ ยวรางกูร ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็น ปีที่ ๔ ในรัชกาลปัจจุบัน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพ ยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยข่าวกรอง แห่งชาติ พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการ จ ากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๖ ประกอบกับมาตรา ๒๘ มาตรา ๓๒ มาตรา ๓๓ และ มาตรา ๓๖ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระท าได้โดยอาศัยอ านาจตามบทบัญญัติ แห่งกฎหมาย เหตุผลและความจ าเป็นในการจ ากัดสิทธิและเสรีภาพ ของบุคคลตามพระราชบัญญัตินี้ เพื่อประโยชน์แก่การ ปฏิบัติหน้าที่ของส านักข่าวกรองแห่งชาติในการได้มาซึ่ง ข้อมูลหรือเอกสารที่มีผลกระทบต่อความมั่นคงแห่งชาติ ซึ่งการตราพระราชบัญญัตินี้สอดคล้องกับเงื่อนไขที่ บัญญัติไว้ในมาตรา ๒๖ ของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทยแล้ว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้น ไว้โดยค าแนะน าและยินยอมของสภานิติบัญญัติ แห่งชาติท าหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้ 마하와치라롱껀 버딘트라텝파야와랑꾼 폐하께서 재위 4번째 해인 2019(불기 2562년) 4월 15일에 하사하셨다. 폐하께서는 다음과 같이 공포하게 하셨다. 국가 정보 관련 법률을 개정하는 것이 마땅하다. 이 법률은 개인의 권리와 자유의 제한 과 관련한 일부 조항을 포함한다. 즉, 「태국헌법」 제26조가 제28조, 제32 조, 제33조 및 제36조와 연계하여 법 률에서 규정하는 권한에 따라 이행하도 록 규정한다. 이 법에 따라 개인의 권리와 자유를 제 한하는 이유와 필요성은 국가 안보에 영향을 미치는 정보 또는 문서를 수집 하는 국가정보원의 임무 수행에 유익하 도록 하기 위한 것으로, 이 법률의 제 정은 「태국헌법」 제26조에서 규정하 는 조건에 부합한다. 이에 폐하께서 의회 역할을 수행하는 입법부의 조언과 동의를 통하여 다음과 같이 이 법을 제정하게 하셨다.

제1조

이 법은 “「2019년 국가정보법」”이라 고 한다.

제2조

이 법은 관보에 게재한 다음 날부터 시 행한다.

제3조

「1985년 국가정보법」은 폐지한다.

제4조

이 법에서 사용하는 용어의 뜻은 다음 과 같다. “첩보활동”이란 국가의 안전 또는 이익 을 보호하고 정부의 국가 정책을 결정 에 참고하기 위하여 위협으로 작용할 수 있는 행위를 하는 국내외 개인, 결 사 또는 집단의 수단을 포함한 목적, 무력, 능력 및 동태를 파악하기 위한 조치를 말한다. “방첩활동”이란 간첩행위, 전복활동, 파 괴공작, 테러행위를 통하여 국가기밀 입수 또는 국가안보 저해를 목적으로 하는 외국, 개인, 결사 또는 집단의 활 동을 차단하기 위한 조치를 말한다. “통신첩보”란 첩보활동 및 방첩활동의 동태와 관련한 정보의 입수를 위한 기 술 활용과 기술 및 통신도구 측면에서 의 방법을 수행하는 것을 말한다. “민정안전보호”란 간첩행위, 파괴공작 및 테러행위로부터 정부 소속 직원, 장 소, 문서 및 기타 물품을 안전하게 보호하기 위한 조치와 관련하여 관공서, 국영기업 및 기타 국가 기관에 조언 및 조력을 제공하고 관리·감독하는 것을 말한다. “원장”이란 국가정보원장을 말한다.

제5조

국가정보원은 다음 각항의 임무와 권한 을 맡는다.

(1) 첩보활동, 방첩활동, 통신첩보 및 민정안전보호 관련 임무 수행

(2) 국가 안보에 영향을 미치는 국내외 상황을 모니터링하여 총리 및 국가안전 보장회의에 보고

(3) 국가안보에 영향을 미치는 정보를 관련 국가기관 또는 국영기업에 적절히 사용할 수 있도록 전파

(4) 임무 수행의 효율성 제고를 위한 첩보활동, 방첩활동 및 민정안전보호 관련 연구, 조사 및 개발

(5) 국내 다른 기관과의 첩보활동, 방 첩활동 및 민정안전보호와 관련한 조정 의 중심 기관 역할

(6) 해외 정보기관과의 국가안보 관련 사안에 대한 첩보활동 및 방첩활동과 관련한 협력의 주관 기관 역할

(7) 총리 및 국가안전보장회의에 첩보 활동, 방첩활동 및 민정안전보호에 관 한 정보, 의견 및 조언 제공을 포함하 는 정책 및 조치 제언

(8) 이 법률에서 규정한 바 또는 총리 및 국가안전보장회의가 위임한 바에 따 른 기타 임무 수행

제6조

제5조에 따른 임무 수행의 편익을 위 하여 국가정보원은 국가기관 또는 개인 에게 원장이 정하는 기한 내에 국가 안 보에 영향을 미치는 정보 또는 문서를 제출하도록 할 수 있다. 해당 국가기관 또는 개인이 정당한 사유 없이 기한 내 에 정보 또는 문서를 제출하지 아니한 다면, 국가정보원은 총리에게 합당한 바에 따른 후속 지시를 검토하도록 보 고한다. 첩보활동, 방첩활동, 통신첩보 또는 민 정안전보호 관련 정보 또는 문서를 입 수할 필요가 있는 경우 국가정보원은 전자기기, 과학장비, 통신장비 또는 기 타 기술을 아우르는 수단을 통하여 해 당 정보 또는 문서를 입수할 수 있다. 이와 관련한 조치 원칙과 절차 및 조건 은 총리의 동의로 국장이 정하는 규칙 에 따르며, 해당 규칙은 최소한 책임담 당관에 의한 조치 과정, 사유, 필요성, 방법, 영향을 받았거나 받았을 가능성 이 있는 사람 및 조치 기간과 함께 관 련이 없는 제삼자에 대한 영향을 예방, 해결 및 구제하는 방법을 상세히 기록 하도록 규정하여야 한다. 이 조에 따라 조치하는 데 있어 정당한 사유에 따라 임무와 권한을 성실하게 이행하였으며, 공공 안전 또는 방재 측 면의 목적을 위하여 진행되었다면 적법 행위로 본다.

제7조

다른 국가정보기관이 정보를 수집하여 해당 정보기관의 책임을 맡고 있는 기 관장에게 보고한 경우 해당 정보기관은 장관의 승인으로 원장이 정한 규칙에 따라 국가정보원에 해당 첩보 사본을 제출한다.

제8조

국가정보원이 이 법에 따른 임무 수행 으로 인하여 취득한 모든 정보 자료는 정보기관, 안보기관, 총리 또는 법원의 명령에 따른 공개를 제외하고 공개할 수 없다.

제9조

국가정보원의 공무에 대한 전반적 관리 ·감독 역할 및 총리 직속 책임을 맡으 며, 국가정보원의 공무원을 지휘하는 국가정보원장을 둔다. 국가정보원 차장을 두며 지휘 및 공무 수행의 보조자로 국가정보원 원장보를 둘 수 있다. 국가정보원장, 국가정보원 차장 및 국 가정보원 원장보는 일반공무원이 된다.

제10조

국가 첩보활동 측면 임무 수행에서의 질적 발전에 유용하도록 하기 위하여 원장은 원장이 정한 규칙에 따라 첩보 활동, 방첩활동, 통신첩보 또는 민정안 전보호 분야의 지식, 능력 및 경력을 갖춘 사람을 국가정보원의 첩보활동 임 무 수행을 위한 국가정보원 일반공무원 으로 임명한다. 첫 번째 단락에 따른 정보원에게는 재 무부의 승인으로 원장이 정하는 규칙에 따라 특수직 추가 수당을 지급한다.

제11조

이 법에 따른 국가정보원 임무 수행에 유용하도록 하기 위하여 기타 국가기관 은 청장이 요청하는 바에 따라 첩보활 동, 방첩활동 또는 민정안전보호 분야 의 지식, 능력 또는 경험이 있는 국가 공무원을 국가정보원에 파견하여 공무 수행을 지원하도록 할 수 있다. 첫 번째 단락에 따라 국가정보원에서의 임무 수행 명령을 받은 국가공무원은 기존에 지급받은 요율에 따라 계속하여 직책수당을 지급받을 권리가 있다. 기 타 혜택은 해당 사항에 관한 법률에 따 른다.

제12조

국가정보원은 기타 국내정보기관과의 공동 첩보활동, 방첩활동 및 민정안전 보호 업무 협력 주관 기관으로 “써뻐. 커.”라고 약칭하는 국가정보조정센터를 내부 부서로 두며, 원장은 원장보 1명 을 원장으로부터 위임받은 바에 따라 써뻐.커.의 운영 관련 책임, 행정 및 관 리·감독을 담당할 "퍼어.써뻐.커"라고 약칭하는 국가정보조정센터장으로 둔 다.

제13조

써뻐.커.(국가정보조정센터)는 다음 각 항의 임무 및 권한을 담당한다.

(1) 국내외의 현황을 24시간 모니터링· 평가·분석하여 총리와 국장에게 일간 정보·긴급 정보·특정 정보 보고 및 안 보 관련 위험에 대하여 사전 경고하고 관련 기관에 정보 전파

(2) 심각한 비상상황이 발생한 경우 사태를 예방하거나 해결하기 위하여 평 상시 및 상황 발생 기간, 주요 명절, 왕실 행사 및 국가의 주요 회의 또는 행사 기간의 안보 위협을 감시하고 해 당 사태가 종결될 때까지 계속하여 임 무 수행

(3) 중앙과 지방 주민을 포함하여 정부 부문, 민간 부문을 대상으로 정보 분야 지식 제공 및 협력

(4) 원장이 정하는 기간에 따라 전반적 인 임무 수행 상황 및 성과, 써뻐. 커.(국가정보조정센터)의 업무에서의 문제점 및 장애물에 대하여 총리 또는 총리가 위임한 장관 및 원장에게 보고

(5) 총리, 총리가 위임한 장관, 국가안 전보장회의 또는 원장이 위임한 바에 따른 기타 임무 수행

제14조

지역을 불문하고 다른 국가정보기관의 첩보활동과 관련한 조정이 필요한 임무 수행 상의 필요성이 있는 경우 원장은 “써뻐.커.팍” (지방국가정보조정센터)이 라고 약칭하는 지방국가정보조정센터를 둘 수 있다. 써뻐.커.(지방국가정보조정센터)은 퍼 어.커뻐.커(국가정보조정센터장) 직속 기관이 되며, 원장이 국가정보원의 일 반공무원 1명을 “퍼어.써뻐.커.”이라고 약칭하는 지방국가정보조정센터장으로 임명한다.

제15조

써뻐. 커.(국가정보조정센터) 및 써뻐. 커.팍(지방국가정보조정센터)의 실무자 임명, 이임 및 임무 수행 절차는 국장 이 정하는 규칙에 따른다.

제16조

제8조를 위반하는 국가정보원 담당관 또는 실무자는 3년 이하의 징역 또는 6만 밧 이하의 벌금에 처하거나, 징역 과 벌금이 병과된다. 첫 번째 단락에 따른 행위가 임무상 부 정행위 또는 공무상 배임이라면 법률이 해당 위반 행위에 관하여 규정한 처벌 의 두 배로 가중처벌된다.

제17조

총리가 이 법의 집행을 주관한다. 부서 대장 쁘라윳 짠오차 총리