「1999년 외국제품의 반덤핑 및 상계법」
• 국가·지역: 태국 • 제 정 일: 1999년 3월 22일 • 개 정 일: 2019년 5월 19일(「2019년 외국제품의 반덤핑 및 상계법 (제 2권)」
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็นปีที่ ๕๔ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรให้มีกฎหมายว่าด้วยการตอบ โต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุนซึ่งสินค้าจาก ต่างประเทศ พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการ เกี่ยวกับการจ ากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่ง มาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๕๐ ของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้ กระท าได้โดยอาศัยอ านาจตามบทบัญญัติแห่ง กฎหมาย ึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยค าแนะน า และยินยอม ของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서 현 왕조의 54번째 해인 1999년(불기2542년) 3월 22일에 하사하셨다. 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서는 다음과 같이 공포하도록 하셨다. 외국제품의 반덤핑 및 상계 관련 법률을 개정하는 것이 타당하다. 이 법은 인권과 자유를 제한하는 것과 관련한 일부 조항이 있다. 즉 「타이왕국헌법」의 제29조와 제50조가 연계하여 법률의 조항 에 따른 권한에 의거하여 행하도 록 규정한다. 그러므로 국회의 조언과 동의를 통하여 다음과 같이 법을 제정한 다.
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติการ ตอบโต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุนซึ่งสินค้า จากต่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๒”
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นก าหนดเก้า สิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป
ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติป้องกันการทุ่มตลาด พ.ศ. ๒๕๐๗
ในพระราชบัญญัตินี้ “ความเสียหาย” หมายความว่า ความเสียหาย ตามหมวด ๓ “อุตสาหกรรมภายใน” หมายความว่า อุตสาหกรรมภายในตามหมวด ๔ “สินค้าที่ถูกพิจารณา” หมายความว่า สินค้าราย ที่ถูกกล่าวหาว่ามีการทุ่มตลาดหรือได้รับการ อุดหนุน หรือสินค้ารายที่ถูกกล่าวหาว่ามีการ หลบเลี่ยงมาตรการตอบโต้การทุ่มตลาดหรือการ อุดหนุน “สินค้าชนิดเดียวกัน” หมายความว่า สินค้าที่มี คุณสมบัติเหมือนกันทุกประการกับสินค้าที่ถูก พิจารณา แต่ในกรณีที่ไม่มีสินค้าดังกล่าวให้ หมายความว่าสินค้าที่คล้ายคลึงกันอย่างมาก กับสินค้าดังกล่าว “ขั้นตอนทางการค้า” หมายความว่า ขั้นตอนต่าง ๆ ในการจ าหน่ายสินค้าทอดต่าง ๆ จนถึง ผู้บริโภค “ส่วนเหลื่อมการทุ่มตลาด” หมายความว่า ส่วนที่ ราคาส่งออกจากต่างประเทศต ่ากว่ามูลค่าปกติ “ผู้มีส่วนได้เสีย” หมายความว่า (๑) ผู้ผลิตในต่างประเทศ ผู้ส่งออกจาก ต่างประเทศ ผู้น าเข้าซึ่งสินค้าที่ถูกพิจารณา หรือสมาคมในทางการค้าที่มีสมาชิกส่วนใหญ่ เป็นผู้ผลิต ผู้ส่งออก หรือผู้น าเข้าซึ่งสินค้าที่ถูก พิจารณา แล้วแต่กรณี (๒) รัฐบาลของประเทศแหล่งก าเนิดหรือ ประเทศผู้ส่งออกซึ่งสินค้าที่ถูกพิจารณา (๒/๑) ผู้ประกอบสินค้าตามมาตรา ๗๑/๑ (๓) ผู้ผลิตสินค้าชนิดเดียวกันภายในประเทศ หรือสมาคมในทางการค้าที่มีสมาชิกส่วนใหญ่ เป็นผู้ผลิตสินค้าดังกล่าว หรือ (๔) บุคคลอื่นตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวง พาณิชย์ประกาศก าหนด “อากร” หมายความว่า อากรชั่วคราว อากรตอบ โต้การทุ่มตลาด หรืออากรตอบโต้การอุดหนุน แล้วแต่กรณี “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการ พิจารณาการทุ่มตลาดและการอุดหนุน
ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังรักษาการ ตามพระราชบัญญัตินี้ เฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับ การด าเนินงานของกรมศุลกากร และให้มีอ านาจ ออกกฎกระทรวงตามมาตรา ๑๑ เพื่อปฏิบัติการ ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์รักษาการ ตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอ านาจออก กฎกระทรวงและประกาศเพื่อปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงและประกาศนั้น เมื่อได้ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์มีอ านาจ ออกกฎกระทรวงก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขเกี่ยวกับการพิจารณาการทุ่มตลาด การ พิจารณาการอุดหนุน การพิจารณาความ เสียหาย การพิจารณาตอบโต้การทุ่มตลาดและ การอุดหนุน การพิจารณาการหลบเลี่ยง มาตรการตอบโต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุน การพิจารณาตอบโต้การหลบเลี่ยงมาตรการตอบ โต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุนการทบทวน มาตรการ รวมทั้งการด าเนินการใด ๆ อัน เกี่ยวกับพระราชบัญญัตินี้ได้เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้ง กับบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้ ในกรณีที่สมควร กฎกระทรวงตามวรรคหนึ่งนั้น จะก าหนดให้กรณีหนึ่งกรณีใด อาจกระท าได้โดย ออกเป็นประกาศกระทรวงพาณิชย์ก็ได
การตอบโต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุน และ การตอบโต้การหลบเลี่ยงมาตรการตอบโต้การ ทุ่มตลาดและการอุดหนุน ให้ค านึงถึงประโยชน์ ของอุตสาหกรรมภายใน ผู้บริโภค และประโยชน์ สาธารณะประกอบกัน
เพื่อประโยชน์ในการใช้บังคับพระราชบัญญัตินี้ เมื่อคณะกรรมการเห็นสมควรจะให้กรมการค้า ต่างประเทศมีหนังสือขอให้กรมศุลกากร ด าเนินการจัดท าทะเบียนการน าเข้าหรือส่งออก สินค้าใด หรือรวบรวมข้อมูลข่าวสารอย่างหนึ่ง อย่างใดเกี่ยวกับการน าเข้าหรือส่งออกสินค้าก็ได้ ในกรณีนี้ให้กรมศุลกากรมีอ านาจก าหนดให้ผู้น า เข้าหรือผู้ส่งออกแจ้งข้อเท็จจริงใด ๆ ตามที่ คณะกรรมการร้องขอได้ และให้น ากฎหมายว่า ด้วยศุลกากรในส่วนที่เกี่ยวข้องมาใช้บังคับแก่ กรณีนี
ผู้ซึ่งยื่นค าขอให้คณะกรรมการด าเนินการ พิจารณาตอบโต้การทุ่มตลาดหรือการอุดหนุน หรือพิจารณาตอบโต้การหลบเลี่ยงมาตรการ ตอบโต้การทุ่มตลาดหรือการอุดหนุน ผู้น าเข้า ผู้ ประกอบสินค้า ผู้ผลิตในต่างประเทศ หรือผู้ ส่งออกจากต่างประเทศอาจขอรายละเอียดที่ เกี่ยวกับข้อเท็จจริงที่ใช้เป็นฐานในการก าหนด มาตรการชั่วคราว การก าหนดอากรตอบโต้การ ทุ่มตลาดหรือการอุดหนุน การขยายการเรียกเก็บ อากรตอบโต้การทุ่มตลาดหรือการอุดหนุน การ ทบทวนอากรหรือการคืนอากร แล้วแต่กรณี ได้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กระทรวง พาณิชย์ประกาศก าหนด ค าขอตามวรรคหนึ่งให้ยื่นภายในหนึ่งเดือนนับ แต่วันที่มาตรการชั่วคราว การก าหนดอากรตอบ โต้การทุ่มตลาดหรือการอุดหนุน การขยายการ เรียกเก็บอากรตอบโต้การทุ่มตลาดหรือการ อุดหนุน การทบทวนอากรหรือการคืนอากร มีผล ใช้บังคับ
ในกรณีที่พระราชบัญญัตินี้ก าหนดให้ผู้ใดอาจมี ค าขอให้พิจารณาตอบโต้การทุ่มตลาดหรือการ อุดหนุน พิจารณาตอบโต้การหลบเลี่ยงมาตรการ ตอบโต้การทุ่มตลาดหรือการอุดหนุน ให้ท า ความตกลง ให้ทบทวนมาตรการ ให้คืนอากร ตลอดจนการขอข้อมูลข่าวสารใดนั้น ให้ กระทรวงพาณิชย์มีอ านาจออกประกาศ ก าหนดให้มีการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมหรือ ค่าใช้จ่ายได้ตามความเหมาะสมแก่ภาระในการ ด าเนินงานดังกล่าว
เว้นแต่พระราชบัญญัตินี้จะบัญญัติไว้เป็นอย่าง อื่น การคืนอากรหรือหลักประกันการช าระอากร ตามพระราชบัญญัตินี้ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ก าหนดในกฎกระทรวง
การทุ่มตลาดที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ อุตสาหกรรมภายในเป็นการกระท าอันมิชอบที่ อาจตอบโต้ได้
การทุ่มตลาดตามพระราชบัญญัตินี้ ได้แก่ การ ส่งสินค้าเข้ามาในประเทศไทยเพื่อประโยชน์ ในทางพาณิชย์ โดยมีราคาส่งออกที่ตากว่า มูลค่าปกติของสินค้าชนิดเดียวกัน
ราคาส่งออก ได้แก่ ราคาส่งออกจากประเทศผู้ ส่งออกมายังประเทศไทยตามที่ได้ช าระหรือควร จะมีการช าระกันจริง ในกรณีที่ไม่ปรากฏราคาส่งออกหรือราคาส่งออก นั้นไม่น่าเชื่อถือ เนื่องจากมีการร่วมมือกันหรือ จัดให้มีการชดเชยประโยชน์กันระหว่างผู้ที่ เกี่ยวข้องให้ค านวณหาราคาส่งออกจากราคา สินค้านั้นที่ได้จ าหน่ายต่อไปทอดแรกยังผู้ซื้อ อิสระ แต่ในกรณีที่สินค้านั้นไม่มีการจ าหน่าย ต่อไปยังผู้ซื้ออิสระหรือไม่ได้จ าหน่ายต่อไปตาม สภาพสินค้าที่เป็นอยู่ในขณะน าเข้า ให้ค านวณ ราคาส่งออกตามหลักเกณฑ์อย่างหนึ่งอย่างใดที่ เหมาะสมแก่กรณีดังกล่าว ในกรณีตามวรรคสอง การค านวณหาราคา ส่งออกให้หักค่าใช้จ่ายและค่าภาระต่าง ๆ ตลอดจนภาษีอากร และก าไรที่ได้รับอันเกิดขึ้น ระหว่างการน าเข้าและการจ าหน่ายต่อไปออก ด้วย
มูลค่าปกติ ได้แก่ ราคาที่ผู้ซื้ออิสระในประเทศผู้ ส่งออกได้ช าระหรือควรจะมีการช าระกันจริง ในทางการค้าปกติส าหรับสินค้าชนิดเดียวกันที่ ขายเพื่อการบริโภคภายในประเทศนั้น โดย พิจารณาจากการขายสินค้าดังกล่าวในปริมาณ ใดปริมาณหนึ่งที่เหมาะสมซึ่งไม่น้อยกว่าร้อยละ ห้าของปริมาณสินค้านั้นที่ส่งออกจากประเทศผู้ ส่งออกมายังประเทศไทย แต่จะน าปริมาณการ ขายที่ตากว่านั้นมาเป็นเกณฑ์ในการพิจารณาก็ ได้ ถ้ามีเหตุอันรับฟังได้ว่าราคาขายที่พิจารณา จากปริมาณสินค้าดังกล่าวเป็นราคาในตลาด ประเทศผู้ส่งออก ในกรณีไม่ปรากฏราคาตามวรรคหนึ่งหรือราคา นั้นไม่น่าเชื่อถือเนื่องจากมีการร่วมมือกันหรือจัด ให้มีการชดเชยประโยชน์กันระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้อง หรือตลาดในประเทศผู้ส่งออกมีลักษณะเฉพาะ ท าให้ไม่อาจหาราคาที่เปรียบเทียบกันได้โดย เหมาะสม ให้พิจารณาหามูลค่าปกติจากราคา ต่อไปนี้ (๑) ราคาส่งออกในทางการค้าปกติของสินค้า ชนิดเดียวกันที่ส่งออกจากประเทศผู้ส่งออกไป ยังประเทศที่สามที่เหมาะสม ถ้ามีเหตุอันรับ ฟังได้ว่าราคานั้นแสดงถึงราคาในตลาด ประเทศผู้ส่งออก หรือ (๒) ราคาที่ค านวณจากต้นทุนการผลิตใน ประเทศแหล่งก าเนิดรวมกับจ านวนที่ เหมาะสมของค่าใช้จ่ายในการจัดการ การขาย และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ตลอดจนก าไรต่าง ๆ ที่ เกิดขึ้น ในกรณีที่ราคาตามวรรคหนึ่งหรือราคาตามวรรค สอง (๑) ตากว่าต้นทุนการผลิตรวมกับค่าใช้จ่าย ในการจัดการ การขาย และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เมื่อ ได้พิจารณาการขายสินค้าดังกล่าวในช่วง ระยะเวลาหนึ่งที่สมควรโดยมีปริมาณการขายที่ มากพอแล้ว ถ้าปรากฏว่าราคาเหล่านั้นจะไม สามารถท าให้คืนทุนได้ภายในเวลาที่เหมาะสม จะถือว่าราคานั้นเป็นราคาในทางการค้าปกติที่ จะน ามาพิจารณาหามูลค่าปกติไม่ได้ เว้นแต่ ราคานั้นสูงกว่าต้นทุนการผลิตถัวเฉลี่ยถ่วง น ้าหนักต่อหน่วยที่ปรากฏในการพิจารณาตอบ โต้การทุ่มตลาด
ในกรณีที่ระบบเศรษฐกิจของประเทศผู้ส่งออกไม่ ใช้กลไกตลาดการหามูลค่าปกติตามมาตรา ๑๕ ให้พิจารณาเทียบเคียงจากข้อมูลราคาที่เป็นอยู่ ในประเทศที่สามซึ่งมีระบบเศรษฐกิจที่ใช้กลไก ตลาดและเหมาะสมแก่การเปรียบเทียบ แต่ถ้า หาประเทศที่สามที่เหมาะสมไม่ได้ ให้พิจารณา จากราคาของสินค้าชนิดเดียวกันที่จ าหน่ายใน ประเทศไทยหรือจากพื้นฐานอื่นใดตามที่ เหมาะสมแก่กรณี
ในกรณีเป็นการน าสินค้าเข้ามาในประเทศไทย โดยการส่งออกจากประเทศอื่นซึ่งมิใช่ประเทศ แหล่งก าเนิด ให้ใช้ข้อมูลราคาที่เป็นอยู่ใน ประเทศผู้ส่งออกนั้นเป็นเกณฑ์ในการหามูลค่า ปกติตามมาตรา ๑๕ แต่ถ้ามีเหตุอันควรจะใช้ ราคาในประเทศแหล่งก าเนิดเป็นเกณฑ์ในการ หามูลค่าปกติก็ได้ โดยเฉพาะในกรณีที่สินค้านั้น เป็นเพียงการขนถ่ายผ่านประเทศผู้ส่งออก หรือ สินค้านั้นไม่มีการผลิตในประเทศผู้ส่งออก หรือไม่มีราคาที่จะเปรียบเทียบกันได้ในประเทศ ผู้ส่งออก
การพิจารณาหาส่วนเหลื่อมการทุ่มตลาดให้มี การเปรียบเทียบอย่างเป็นธรรมและให้กระท าที่ ขั้นตอนทางการค้าเดียวกันและในเวลาเดียวกัน โดยค านึงถึงบรรดาข้อแตกต่างที่มีผลกระทบต่อ การเปรียบเทียบราคาประกอบด้วย ในกรณีที่ ราคาส่งออกและมูลค่าปกติมิได้อยู่บนขั้นตอน ทางการค้าเดียวกันหรือเวลาเดียวกัน ให้มีการ ปรับลดองค์ประกอบต่าง ๆ ที่แตกต่างกันอันมี ผลกระทบต่อการเปรียบเทียบราคาออกด้วย ภายใต้บังคับวรรคหนึ่ง วิธีการหาส่วนเหลื่อมการ ทุ่มตลาดต่อหน่วยให้ปฏิบัติดังต่อไปนี้ เว้นแต่จะ ีเหตุสมควรที่จะใช้วิธีการอื่น (๑) เปรียบเทียบระหว่างมูลค่าปกติถัวเฉลี่ย ถ่วงน ้าหนักกับราคาส่งออกถัวเฉลี่ยถ่วง น ้าหนัก (๒) เปรียบเทียบระหว่างมูลค่าปกติกับราคา ส่งออกของธุรกรรมแต่ละรายโดยเฉลี่ย หรือ (๓) ในกรณีที่ปรากฏว่าราคาส่งออกมายัง ตลาดภายในประเทศมีความแตกต่างกันใน สาระส าคัญระหว่างผู้ซื้อต่างคนกัน ภูมิภาคที่ ส่งออก หรือระยะเวลาที่ส่งออก และวิธีการ ตาม (๑) หรือ (๒) ไม่อาจแสดงสภาพแท้จริง ของการทุ่มตลาดได้ ให้เปรียบเทียบระหว่าง มูลค่าปกติถัวเฉลี่ยถ่วงน ้าหนักกับราคา ส่งออกของธุรกรรมแต่ละรายโดยเฉลี่ย ในการหาส่วนเหลื่อมการทุ่มตลาดจะใช้วิธีการ สุ่มตัวอย่างตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ กระทรวงพาณิชย์ประกาศก าหนดก็ได้
ถ้าบทบัญญัติใดมิได้แสดงให้เห็นเป็นอย่างอื่น ความเสียหายตามพระราชบัญญัตินี้หมายความ ว่า (๑) ความเสียหายอย่างส าคัญที่เกิดแก่ อุตสาหกรรมภายใน (๒) ความเสียหายอย่างส าคัญที่อาจเกิดแก่ อุตสาหกรรมภายใน หรือ (๓) อุปสรรคล่าช้าอย่างส าคัญต่อการก่อตั้ง หรือการพัฒนาอุตสาหกรรมภายใน
การพิจารณาว่ามีความเสียหายอย่างส าคัญที่ เกิดแก่อุตสาหกรรมภายในตามมาตรา ๑๙ (๑) ต้องมีพยานหลักฐานโดยตรงสนับสนุนเกี่ยวกับ กรณีดังต่อไปนี้ (๑) ปริมาณของสินค้าทุ่มตลาดและผลของ การทุ่มตลาดที่มีต่อราคาของสินค้าชนิด เดียวกันในตลาดภายในประเทศ และ (๒) ผลกระทบของการทุ่มตลาดนั้นที่มีต่อ อุตสาหกรรมภายใน ในกรณีมีการทุ่มตลาดสินค้าใดจากประเทศผู้ ส่งออกมากกว่าหนึ่งประเทศอยู่ระหว่างการ พิจารณาตอบโต้การทุ่มตลาดพร้อมกัน ถ้า ปรากฏว่าส่วนเหลื่อมการทุ่มตลาดและปริมาณ การน าเข้าจากแต่ละประเทศดังกล่าวมีจ านวน มากกว่าเกณฑ์ขั้นตาตามมาตรา ๒๘ การ พิจารณาความเสียหายตามมาตรา ๑๙ (๑) จะ ประเมินผลของการน าเข้าจากแต่ละประเทศ ดังกล่าวรวมกันก็ได้ ถ้ากรณีมีความเหมาะสมต่อ สภาพการแข่งขันในระหว่างสินค้าทุ่มตลาด ด้วยกันและในระหว่างสินค้าทุ่มตลาดกับสินค้า ชนิดเดียวกันในตลาดภายในประเทศ
ในการพิจารณาความเสียหายตามมาตรา ๑๙ (๑) ความสัมพันธ์ระหว่างสินค้าทุ่มตลาดกับ ความเสียหายต่ออุตสาหกรรมภายใน จะต้อง พิจารณาจากพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้องทั้งหมด โดยนอกจากผลจากสินค้าทุ่มตลาดแล้วจะต้อง พิจารณาผลจากปัจจัยต่าง ๆ ที่ปรากฏว่า ก่อให้เกิดความเสียหายแก่อุตสาหกรรมภายใน ในเวลาเดียวกันประกอบด้วย ปัจจัยดังกล่าวให้ รวมถึงปริมาณและราคาของสินค้าน าเข้าที่มิได้ ขายในราคาที่มีการทุ่มตลาด การที่อุปสงค์ลดลง การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการบริโภค การผูกขาด ตัดตอนทางการค้า การแข่งขันระหว่างผู้ผลิตใน ต่างประเทศและผู้ผลิตภายในประเทศ การ พัฒนาทางด้านเทคโนโลยี ประสิทธิภาพในการ ส่งออกและความสามารถในการผลิต
การพิจารณาว่ามีความเสียหายอย่างส าคัญที่ อาจเกิดแก่อุตสาหกรรมภายในตามมาตรา ๑๙ (๒) ต้องมีข้อเท็จจริงสนับสนุนอันมิใช่เป็นเพียง การกล่าวอ้าง หรือการคาดการณ์ หรือความ เป็นไปได้ที่ไกลเกินเหตุ โดยจากเหตุการณ์ที่ เปลี่ยนแปลงไปท าให้เห็นได้ว่าการทุ่มตลาดนั้น อาจก่อให้เกิดความเสียหายอย่างเห็นได้ชัดและ ใกล้จะเกิดขึ้น หรือมีแนวโน้มว่าอาจมีสินค้าทุ่ม ตลาดเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด อันอาจก่อให้เกิด ความเสียหายอย่างส าคัญได้ถ้าไม่ด าเนินการ ป้องกันเสียก่อน ในการนี้อาจพิจารณาจาก ปัจจัยดังต่อไปนี้ (๑) อัตราเพิ่มขึ้นที่เห็นได้ชัดของสินค้าทุ่ม ตลาดอันแสดงให้เห็นความเป็นไปได้ว่าอาจมี การน าเข้าสินค้าดังกล่าวเพิ่มขึ้นอย่างมาก (๒) ขีดความสามารถของผู้ส่งออกได้เพิ่มขึ้น อย่างเห็นได้ชัดและระบายสินค้าได้อย่างอิสระ อันแสดงให้เห็นความเป็นไปได้ว่าอาจมีการ น าเข้าสินค้าดังกล่าวเพิ่มขึ้นอย่างมาก ทั้งนี้ ให้ค านึงถึงการมีอยู่ของตลาดส่งออกอื่นที่อาจ รองรับสินค้าส่งออกที่เพิ่มขึ้นประกอบด้วย (๓) ความชัดเจนของผลของราคาสินค้าทุ่ม ตลาดที่เป็นการกดหรือลดราคาของสินค้าชนิด เดียวกันในตลาดภายในและแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น ของการน าเข้าสินค้านั้น (๔) ปริมาณคงเหลือของสินค้าทุ่มตลาด
การพิจารณาว่ามีอุปสรรคล่าช้าอย่างส าคัญต่อ การก่อตั้งหรือการพัฒนาอุตสาหกรรมภายใน ตามมาตรา ๑๙ (๓) ต้องมีข้อเท็จจริงที่ท าให้ คาดหมายได้ว่าจะท าให้เกิดความล่าช้าอย่าง ส าคัญซึ่งรวมถึงความเป็นไปได้หรือระยะเวลาใน การก่อตั้งหรือการพัฒนาอุตสาหกรรมภายใน ด้วย
อุตสาหกรรมภายในตามพระราชบัญญัตินี้ ได้แก่ ผู้ผลิตสินค้าชนิดเดียวกันภายในประเทศที่มี ผลผลิตรวมกันได้เกินกึ่งหนึ่งของปริมาณการ ผลิตรวมภายในประเทศของสินค้าชนิดนั้นเว้น แต่ในกรณีดังต่อไปนี้ (๑) ถ้าผู้ผลิตสินค้าชนิดเดียวกันรายใดเป็นผู้ น าเข้าสินค้าทุ่มตลาด หรือมีความเกี่ยวข้อง กับผู้น าเข้าสินค้าทุ่มตลาดหรือผู้ส่งออกสินค้า ทุ่มตลาดจากต่างประเทศ ในกรณีเช่นนี้จะไม่ ถือว่าผู้ผลิตดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของ อุตสาหกรรมภายในก็ได้ (๒) ถ้าในอาณาเขตของประเทศได้มีการแบ่ง ตลาดของสินค้าชนิดเดียวกันเป็นตลาด มากกว่าหนึ่งตลาดขึ้นไป จะถือว่าผู้ผลิตสินค้า ชนิดเดียวกันในแต่ละตลาดเป็นอุตสาหกรรม ภายในแยกต่างหากจากกันก็ได้ ถ้าปรากฏว่า ผู้ผลิตสินค้าชนิดเดียวกันของตลาดหนึ่งขาย สินค้าของตนทั้งหมดหรือเกือบทั้งหมดใน ตลาดนั้น และผู้ผลิตสินค้าชนิดเดียวกันราย อื่นภายในประเทศมิได้ส่งสินค้าไปยังตลาดนั้น มากพอควรแก่ความต้องการของตลาด ดังกล่าว ให้ถือว่าผู้ผลิตมีความเกี่ยวข้องกับผู้น าเข้าสินค้า ทุ่มตลาดหรือผู้ส่งออกสินค้าทุ่มตลาดจาก ต่างประเทศตามวรรคหนึ่ง (๑) ถ้าปรากฏว่าฝ่าย ใดฝ่ายหนึ่งสามารถควบคุมอีกฝ่ายหนึ่ง หรือทั้ง สองฝ่ายถูกควบคุมโดยบุคคลที่สาม หรือทั้งสอง ฝ่ายร่วมกันควบคุมบุคคลที่สาม ทั้งนี้ ไม่ว่าโดย ทางตรงหรือทางอ้อม โดยมีเหตุให้เชื่อหรือสงสัย ได้ว่าผลจากการเกี่ยวข้องกันจะเป็นเหตุให้ผู้ผลิต รายนั้นมีพฤติกรรมแตกต่างจากผู้ผลิตรายอื่นที่ ไม่มีความเกี่ยวข้องกันเช่นว่านั้น ในการนี้ให้ถือ ว่าฝ่ายหนึ่งควบคุมอีกฝ่ายหนึ่งได้ถ้าฝ่ายแรกอยู่ ในฐานะทางกฎหมายหรือทางปฏิบัติที่จะยับยั้ง หรือสั่งการฝ่ ายหลังได้ ในกรณีที่มีการแบ่งตลาดตามวรรคหนึ่ง (๒) ความเสียหายให้พิจารณาจากผลที่เกิดขึ้นเฉพาะ ในตลาดนั้น แม้ว่าส่วนใหญ่ของอุตสาหกรรม ภายในประเทศจะไม่เสียหายก็ตาม และให้เรียก เก็บอากรตอบโต้การทุ่มตลาดส าหรับสินค้าทุ่ม ตลาดที่ส่งมาเพื่อการบริโภคเฉพาะในตลาดนั้น ได้ แต่ถ้าปรากฏในทางปฏิบัติว่าการเรียกเก็บ อากรตอบโต้การทุ่มตลาดเฉพาะสินค้าทุ่มตลาด ที่ส่งมาเพื่อการบริโภคในตลาดนั้นไม่อาจปฏิบัติ ได้ หรือเมื่อผู้ส่งออกสินค้าทุ่มตลาดไม่มีข้อเสนอ ท าความตกลงที่เหมาะสมภายในเวลาอันควร ตามมาตรา ๔๔ จะเรียกเก็บอากรตอบโต้การทุ่ม ตลาดจากสินค้าทุ่มตลาดทั้งหมดที่ส่งเข้ามาใน ประเทศไทยก็ได้
การพิจารณาตอบโต้การทุ่มตลาดนอกจากที่ได้ บัญญัติไว้ตามหมวดนี้แล้ว ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์และวิธีการที่ก าหนดในกฎกระทรวง
ข้อมูลข่าวสารใดเป็นข้อมูลข่าวสารที่ต้องปกปิด โดยสาระและเนื้อหา หรือผู้ให้ข้อมูลข่าวสารนั้น ขอให้ปกปิด การพิจารณาจะต้องไม่กระท าการ ใดให้เป็นการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารนั้น ข้อมูลข่าวสารที่ผู้ให้ข้อมูลข่าวสารขอให้ปกปิด นั้น การเปิดเผยจะต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้ นั้นก่อน และในการพิจารณาจะต้องขอให้ผู้ให้ ข้อมูลข่าวสารจัดท าย่อสรุปที่สามารถเปิดเผยได้ เพื่อประกอบการพิจารณา ถ้าผู้ให้ข้อมูลข่าวสาร นั้นไม่จัดท าย่อสรุปดังกล่าวและไม่แจ้งความ ยินยอมให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่ให้มาภายใน เวลาที่ก าหนด ในการนี้จะไม่รับฟังข้อมูลข่าวสาร นั้นประกอบการพิจารณาก็ได้
ในกรณีที่ผู้มีส่วนได้เสียผู้ใดปฏิเสธที่จะน า พยานหลักฐานมาแสดงหรือไม่น า พยานหลักฐานดังกล่าวมาแสดงภายในเวลา ตามที่ก าหนด หรือไม่ให้ความร่วมมือเพื่อให้ ได้มาซึ่งพยานหลักฐาน หรือขัดขวาง กระบวนการพิจารณาตอบโต้การทุ่มตลาด การ พิจารณาจะรับฟังเพียงข้อเท็จจริงเท่าที่มีอยู่หรือ อาจรับฟังไปในทางที่ไม่เป็นคุณแก่ผู้นั้นก็ได้
การพิจารณาตอบโต้การทุ่มตลาดให้เป็นอันยุติ หากปรากฏว่าส่วนเหลื่อมการทุ่มตลาดมีจ านวน น้อยกว่าเกณฑ์ที่ก าหนดในกฎกระทรวง หรือมี ปริมาณการน าเข้าสินค้าทุ่มตลาดน้อยกว่า เกณฑ์ที่ก าหนดในกฎกระทรวง
ในการพิจารณาตอบโต้การทุ่มตลาด กรมการค้า ต่างประเทศหรือคณะกรรมการ แล้วแต่กรณี จะ ด าเนินการเพื่อให้มีการตรวจสอบความเป็นจริง ของข้อกล่าวอ้างหรือพยานหลักฐานอันเกี่ยวกับ การพิจารณาก็ได้ การตรวจสอบความเป็นจริงนั้นจะกระท าใน ขั้นตอนใดของกระบวนการพิจารณาตอบโต้การ ทุ่มตลาดและจะกระท าในประเทศไทย ประเทศผู้ ส่งออก หรือประเทศที่เกี่ยวข้องก็ได้
ก่อนที่จะประกาศค าวินิจฉัยชั้นที่สุดของ คณะกรรมการเกี่ยวกับผลการไต่สวนการทุ่ม ตลาดและความเสียหาย ให้กรมการค้า ต่างประเทศแจ้งให้ผู้มีส่วนได้เสียทราบถึงข้อมูล และข้อเท็จจริงที่ใช้เป็นพื้นฐานในการพิจารณา วินิจฉัย เพื่อให้ผู้มีส่วนได้เสียมีโอกาสยื่นข้อ โต้แย้งในการป้องกันผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ เสียเหล่านั้น ทั้งนี้ ต้องให้ระยะเวลาอันควร ส าหรับการยื่นข้อโต้แย้งดังกล่าว
เมื่อมีการประกาศไต่สวนการทุ่มตลาดและความ เสียหายตามมาตรา ๓๙ แล้ว หากพฤติการณ์มี เหตุอันควรเชื่อว่าในชั้นที่สุดอาจต้องมีการเรียก เก็บอากรตอบโต้การทุ่มตลาดตั้งแต่ก่อนวันใช้ บังคับมาตรการชั่วคราว คณะกรรมการอาจ ขอให้กรมศุลกากรเรียกหลักประกันอากรตาม พระราชบัญญัตินี้ส าหรับสินค้าที่ถูกพิจารณาที่ น าเข้ามาตามระยะเวลาที่ก าหนดได้ ในการนี้ ให้ กรมศุลกากรมีอ านาจเรียกหลักประกันตาม จ านวนที่คณะกรรมการมีค าขอ
ให้เริ่มด าเนินกระบวนการพิจารณาตอบโต้การ ทุ่มตลาด เมื่อมีค าขอของกรมการค้า ต่างประเทศหรือของบุคคลหรือคณะบุคคลตาม มาตรา ๓๓
บุคคลหรือคณะบุคคลอาจยื่นค าขอในนามของ อุตสาหกรรมภายในต่อกรมการค้าต่างประเทศ เพื่อให้คณะกรรมการด าเนินการพิจารณาตอบโต้ การทุ่มตลาด ค าขอตามวรรคหนึ่งจะถือว่าเป็นค าขอที่ยื่นใน นามของอุตสาหกรรมภายในได้ต่อเมื่อได้รับการ สนับสนุนจากผู้ผลิตสินค้าชนิดเดียวกันใน ประเทศซึ่งมีการผลิตรวมกันเกินกึ่งหนึ่งของ ปริมาณการผลิตสินค้าชนิดเดียวกันของผู้ที่ได้ แสดงความเห็นทั้งส่วนที่สนับสนุนและส่วนที่ คัดค้านรวมกัน ทั้งนี้ ไม่ว่ากรณีใดปริมาณการ ผลิตของฝ่ายสนับสนุนนั้นต้องไม่น้อยกว่าหนึ่ง ในสี่ของปริมาณการผลิตสินค้าชนิดเดียวกัน ทั้งหมดในประเทศ การยื่นค าขอตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ วิธีการ ระยะเวลา และเงื่อนไขที่ กระทรวงพาณิชย์ประกาศก าหนด
ถ้าค าขอตามมาตรา ๓๓ มีรายละเอียดหรือ หลักฐานไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้องให้กรมการค้า ต่างประเทศแจ้งให้ผู้ยื่นค าขอด าเนินการให้ ครบถ้วนหรือถูกต้องภายในเวลาที่ก าหนด เมื่อค าขอมีรายละเอียดและพยานหลักฐาน ครบถ้วนและถูกต้องแล้ว ให้กรมการค้า ต่างประเทศเสนอค าขอต่อคณะกรรมการเพื่อ พิจารณา
เมื่อคณะกรรมการได้รับค าขอตามมาตรา ๓๒ แล้ว ให้กรมการค้าต่างประเทศแจ้งให้รัฐบาล ของประเทศผู้ส่งออกที่เกี่ยวข้องทราบถึงการมี ค าขอดังกล่าว
ผู้ยื่นค าขออาจถอนค าขอได้ แต่ถ้าได้มีการ ประกาศไต่สวนการทุ่มตลาดและความเสียหาย ตามมาตรา ๓๙ แล้ว คณะกรรมการจะยุติการ พิจารณาตอบโต้การทุ่มตลาดหรือด าเนินการ พิจารณาต่อไปก็ได้
ในกรณีที่คณะกรรมการมีค าวินิจฉัยว่าค าขอมี มูลเกี่ยวกับการทุ่มตลาดและความเสียหาย ให้ กรมการค้าต่างประเทศด าเนินการไต่สวนต่อไป โดยไม่ชักช้า ถ้าคณะกรรมการมีค าวินิจฉัยว่าค าขอนั้นไม่มีมูล เกี่ยวกับการทุ่มตลาดหรือความเสียหายให้ กรมการค้าต่างประเทศแจ้งค าวินิจฉัยดังกล่าว ให้ผู้ยื่นค าขอทราบโดยไม่ชักช้า
ถ้ารัฐบาลของประเทศใดร้องเรียนว่าสินค้าทุ่ม ตลาดจากประเทศอื่นที่น าเข้ามาจ าหน่ายใน ประเทศไทยก่อให้เกิดความเสียหายแก่ อุตสาหกรรมภายในของประเทศนั้น และ คณะกรรมการมีค าวินิจฉัยเห็นสมควรให้ ด าเนินการพิจารณาตอบโต้การทุ่มตลาดตามที่ ถูกกล่าวหานั้น ให้กรมการค้าต่างประเทศ ด าเนินการตามค าวินิจฉัยของคณะกรรมการ ต่อไป โดยให้น าบทบัญญัติในหมวดนี้มาใช้ บังคับโดยอนุโลมได้ แต่การพิจารณาตอบโต้การ ทุ่มตลาดดังกล่าวต้องได้รับความเห็นชอบจาก องค์การการค้าโลกก่อน เมื่อกรมการค้าต่างประเทศเห็นสมควร หรือเมื่อ อุตสาหกรรมภายในร้องเรียนว่ามีการน าสินค้า จากประเทศอื่นเข้าไปทุ่มตลาดในอีกประเทศ หนึ่งและก่อให้เกิดความเสียหายต่ออุตสาหกรรม ภายใน และกรมการค้าต่างประเทศเห็นว่าค า ร้องดังกล่าวมีมูล ให้กรมการค้าต่างประเทศ ด าเนินการร้องขอให้ทางการประเทศนั้น ด าเนินการพิจารณาตอบโต้การทุ่มตลาดต่อไป หลักเกณฑ์และวิธีการในการด าเนินการตาม วรรคหนึ่งและวรรคสอง ให้เป็นไปตามที่ก าหนด ในกฎกระทรวง
ในการพิจารณาตอบโต้การทุ่มตลาด ให้กรมการ ค้าต่างประเทศเป็นผู้มีอ านาจหน้าที่ไต่สวน ประเด็นการทุ่มตลาดและความเสียหาย เริ่มต้น โดยการออกประกาศไต่สวนการทุ่มตลาดและ ความเสียหายในราชกิจจานุเบกษา และลง โฆษณาในหนังสือพิมพ์รายวันหรือเผยแพร่โดย วิธีการอื่นใดทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพื่อให้สาธารณชนรับรู้ ตามที่เห็นสมควร ประกาศไต่สวนการทุ่มตลาดและความเสียหาย ต้องมีรายการดังต่อไปนี้ (๑) ระบุสินค้า (๒) ประเทศผู้ส่งออกและประเทศที่เกี่ยวข้อง (๓) ข้อเท็จจริงโดยสังเขป (๔) การขอรับข้อมูลข่าวสารอันเป็น รายละเอียดตลอดจนค่าธรรมเนียมที่เกี่ยวข้อง (๕) ระยะเวลาให้ผู้มีส่วนได้เสียเสนอ ข้อเท็จจริงและความเห็นเป็นหนังสือ (๖) ก าหนดเวลาให้ผู้มีส่วนได้เสียแจ้ง ความจ านงขอแถลงการณ์ด้วยวาจา ประกอบการไต่สวนการทุ่มตลาดและความ เสียหาย ให้กรมการค้าต่างประเทศแจ้งประกาศไต่สวน การทุ่มตลาดและความเสียหายให้ผู้ยื่นค าขอ ทราบ และในกรณีที่ทราบที่อยู่ของผู้ส่งออกจาก ต่างประเทศ ผู้น าเข้าหรือตัวแทนของบุคคล ดังกล่าว ให้กรมการค้าต่างประเทศแจ้งเป็น หนังสือให้บุคคลเหล่านั้นทราบประกาศนั้นด้วย
เมื่อได้ด าเนินการไต่สวนการทุ่มตลาดและความ เสียหายเสร็จแล้วให้กรมการค้าต่างประเทศ สรุปผลการไต่สวนและเสนอความเห็นต่อ คณะกรรมการเพื่อพิจารณาวินิจฉัยต่อไป
ในกรณีที่คณะกรรมการมีค าวินิจฉัยเบื้องต้นว่ามี การทุ่มตลาดและมีความเสียหาย ถ้าขณะนั้น ปรากฏว่ามีความจ าเป็นต้องป้องกันความ เสียหายแก่อุตสาหกรรมภายใน คณะกรรมการ อาจใช้มาตรการชั่วคราวโดยประกาศเรียกเก็บ อากรชั่วคราวหรือหลักประกันการช าระอากร ชั่วคราวดังกล่าวได้ อากรชั่วคราวที่เรียกเก็บตามวรรคหนึ่ง จะต้องไม่ สูงกว่าส่วนเหลื่อมการทุ่มตลาดที่ประเมินขณะที่ มีค าวินิจฉัยเบื้องต้น ในกรณีมีการใช้มาตรการชั่วคราว ให้น า บทบัญญัติกฎหมายว่าด้วยศุลกากรและ กฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราศุลกากรมาใช้บังคับ แก่การเรียกเก็บอากรชั่วคราวเสมือนอากร ดังกล่าวเป็นอากรขาเข้าตามกฎหมายนั้น และ อากรชั่วคราวที่เก็บได้รวมทั้งเงินที่บังคับจาก หลักประกันการช าระอากรนั้นให้เก็บรักษาไว้เพื่อ ปฏิบัติตามมาตรา ๕๑ และมาตรา ๕๒ จนกว่า จะสิ้นเหตุที่จะต้องปฏิบัติตามมาตราดังกล่าว
มาตรการชั่วคราวจะน ามาใช้ก่อนหกสิบวันนับ แต่วันประกาศไต่สวนการทุ่มตลาดและความ เสียหายไม่ได้ มาตรการชั่วคราวต้องใช้ตามระยะเวลาที่จ าเป็น และตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (๑) กรณีปกติจะก าหนดให้เก็บเกินสี่เดือน ไม่ได้ (๒) ถ้ามีค าขอของผู้ส่งออกจากต่างประเทศที่ มีสัดส่วนมากพอสมควร คณะกรรมการจะ ประกาศขยายเวลาเก็บอากรชั่วคราวเกินกว่า สี่เดือนแต่ไม่เกินหกเดือนก็ได้ (๓) ในกรณีมีการพิจารณาประเด็นว่าถ้าเรียก เก็บอากรต ่ากว่าส่วนเหลื่อมการทุ่มตลาดจะ เพียงพอต่อการขจัดความเสียหายที่เกิดขึ้นได้ หรือไม่ คณะกรรมการจะประกาศขยายเวลา การเก็บอากรชั่วคราวกรณีตาม (๑) เกินกว่าสี่ เดือนแต่ไม่เกินหกเดือนหรือกรณีตาม (๒) เกิน กว่าหกเดือนแต่ไม่เกินเก้าเดือนก็ได้
การพิจารณาตอบโต้การทุ่มตลาดอาจยุติลง ส าหรับผู้ส่งออกจากต่างประเทศรายหนึ่งรายใด โดยไม่มีการใช้มาตรการชั่วคราว หรือไม่เรียก เก็บอากรตอบโต้การทุ่มตลาด ถ้าสามารถท า ความตกลงกันได้ระหว่างผู้ส่งออกรายนั้นกับ กรมการค้าต่างประเทศเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง ราคาหรือระงับการส่งออกสินค้าในราคาทุ่ม ตลาด กรมการค้าต่างประเทศจะท าความตกลงได้ ต่อเมื่อกรณีเป็นที่พอใจว่าความตกลงนั้นจะขจัด ผลเสียหายจากการทุ่มตลาดได้ แต่ความตกลง ดังกล่าวจะก าหนดให้มีการเพิ่มราคาสูงกว่าที่ จ าเป็นเพื่อขจัดส่วนเหลื่อมการทุ่มตลาดไม่ได้ ความตกลงจะมีผลใช้บังคับได้ต่อเมื่อได้รับความ เห็นชอบจากคณะกรรมการแล้ว
การท าความตกลงจะกระท าได้ภายหลังที่ คณะกรรมการมีค าวินิจฉัยเบื้องต้นแล้ว ความตกลงนั้น ผู้ส่งออกจากต่างประเทศจะเป็น ฝ่ายเสนอหรือกรมการค้าต่างประเทศจะเป็นฝ่ าย เสนอก็ได้ กรมการค้าต่างประเทศจะไม่ยอมรับข้อเสนอท า ความตกลงของผู้ส่งออกจากต่างประเทศเพราะ เหตุผลในทางนโยบายหรือเหตุผลใด ๆ ก็ได้ และ ถ้าเป็นกรณีที่สามารถแจ้งเหตุผลให้ได้ ก็ให้แจ้ง ให้ผู้ส่งออกจากต่างประเทศทราบด้วย
การที่ผู้ส่งออกจากต่างประเทศผู้ใดไม่เสนอท า ความตกลงหรือไม่ยอมรับข้อเสนอท าความตก ลงของกรมการค้าต่างประเทศ จะต้องไม่น าเหตุ นั้นมาพิจารณาไปในทางเสียประโยชน์ต่อผู้นั้น
ผู้ส่งออกจากต่างประเทศที่ท าความตกลงกับ กรมการค้าต่างประเทศต้องให้ข้อมูลข่าวสาร ตามระยะเวลาที่ก าหนด และต้องยอมให้ กรมการค้าต่างประเทศตรวจสอบความเป็นจริง ของข้อมูลข่าวสารนั้นได้ ถ้ามีการฝ่าฝืนความตก ลงก็อาจใช้ข้อมูลเท่าที่มีอยู่ในการก าหนด มาตรการชั่วคราวและด าเนินกระบวนพิจารณา ตอบโต้การทุ่มตลาดต่อไปได้
แม้ได้มีการท าความตกลงกันแล้ว คณะกรรมการ จะด าเนินการพิจารณาตอบโต้การทุ่มตลาด ต่อไปก็ได้ ถ้าผู้ส่งออกจากต่างประเทศประสงค์ เช่นนั้นในการท าความตกลง หรือเป็นกรณีที่ท า ความตกลงกับผู้ส่งออกจากต่างประเทศได้เพียง บางราย หรือเมื่อมีการฝ่ าฝืนความตกลง หรือ คณะกรรมการเห็นสมควรเพราะเหตุอื่น ในกรณีตามวรรคหนึ่งเมื่อสิ้นสุดการพิจารณา ตอบโต้การทุ่มตลาด ถ้าคณะกรรมการมีค า วินิจฉัยชั้นที่สุดว่า (๑) ไม่มีการทุ่มตลาดหรือไม่มีความเสียหาย ก็ให้ยุติการด าเนินการตามความตกลงนั้น แต่ ถ้าปรากฏในขณะนั้นว่ากรณีน่าจะมีการทุ่ม ตลาดหรือมีความเสียหายเกิดขึ้นถ้ามิได้มีการ ด าเนินการตามความตกลงนั้น คณะกรรมการ จะวินิจฉัยให้ด าเนินการตามความตกลงนั้น ต่อไปตามระยะเวลาที่สมควรก็ได้ (๒) มีการทุ่มตลาดและมีความเสียหาย ก็ให้ ด าเนินการตามความตกลงนั้นต่อไป (๓) มีการทุ่มตลาดและมีความเสียหาย เนื่องจากมีการฝ่าฝืนความตกลง คณะกรรมการอาจวินิจฉัยให้เก็บอากรตอบโต้ การทุ่มตลาดตั้งแต่ก่อนวันประกาศใช้บังคับ มาตรการชั่วคราวไม่เกินเก้าสิบวันก็ได้ แต่จะ ใช้กับสินค้าทุ่มตลาดที่น าเข้าก่อนมีการฝ่าฝืน ความตกลงนั้นไม่ได้
ให้น าบทบัญญัติแห่งหมวด ๘ มาใช้บังคับกับ ความตกลงเพื่อระงับการทุ่มตลาดโดยอนุโลม
ในกรณีที่คณะกรรมการมีค าวินิจฉัยชั้นที่สุดว่า ให้มีการเรียกเก็บอากรตอบโต้การทุ่มตลาด อัตราอากรตอบโต้การทุ่มตลาดนั้นให้ก าหนดได้ เพียงเพื่อขจัดความเสียหายและจะเกินกว่าส่วน เหลื่อมการทุ่มตลาดมิได้ อากรตอบโต้การทุ่มตลาดต้องก าหนดให้ เหมาะสมกับผู้ส่งออกจากต่างประเทศแต่ละราย ที่ทุ่มตลาดโดยไม่เลือกปฏิบัติ เว้นแต่เป็นการ ด าเนินการตามความตกลงเพื่อระงับการทุ่ม ตลาดตามส่วนที่ ๕ ของหมวด ๕ ในกรณีที่มีการเรียกเก็บอากรตอบโต้การทุ่ม ตลาดจากสินค้าใด ให้น าบทบัญญัติกฎหมายว่า ด้วยศุลกากรและกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตรา ศุลกากรมาใช้บังคับกับการเรียกเก็บอากร ดังกล่าวเสมือนอากรนั้นเป็นอากรขาเข้าตาม กฎหมายนั้น และอากรตอบโต้การทุ่มตลาดที่ เก็บได้ให้เก็บรักษาไว้เพื่อปฏิบัติตามมาตรา ๕๙ จนกว่าจะสิ้นเหตุที่จะต้องปฏิบัติตามมาตรา ดังกล่าว
ในกรณีที่ผู้น าเข้าไม่ช าระอากรหรือช าระอากร ตอบโต้การทุ่มตลาดไม่ครบถ้วนหรือค้างช าระค่า อากรดังกล่าว ให้เป็นอ านาจของกรมศุลกากรใน การเรียกเก็บอากร เงินเพิ่มและเบี้ยปรับ การกัก ของ การยึดหรืออายัดทรัพย์สิน การขาย ทอดตลาด และการด าเนินการเกี่ยวกับของ ตกค้าง รวมทั้งการลดเงินเพิ่ม งดหรือลดเบี้ย ปรับ ทุเลาการช าระอากรตอบโต้การทุ่ม ตลาด เงินเพิ่มและเบี้ยปรับ ในกรณีที่ผู้น าเข้าไม่เห็นด้วยกับการประเมิน อากร เงินเพิ่มและเบี้ยปรับ การลดเงินเพิ่ม และ งดหรือลดเบี้ยปรับ ของกรมศุลกากรตามวรรค หนึ่ง ให้อุทธรณ์ต่อคณะกรรมการพิจารณา อุทธรณ์ตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร ให้น าบทบัญญัติกฎหมายว่าด้วยศุลกากรและ กฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราศุลกากรมาใช้บังคับ แก่การด าเนินการตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง โดยอนุโลม บทบัญญัติในส่วนที่เกี่ยวกับการจ่ายเงินสินบน หรือเงินรางวัลตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรไม่ น ามาใช้กับการเก็บอากร เงินเพิ่ม และเบี้ยปรับที่ จัดเก็บได้จากอากรตอบโต้การทุ่มตลาดตาม มาตรานี้
ผู้น าเข้าอาจยื่นค าขอคืนอากรตอบโต้การทุ่ม ตลาดต่อกรมศุลกากรได้หากภายหลังปรากฏว่า มีการส่งสินค้าที่ได้ช าระอากรตอบโต้การทุ่ม ตลาดกลับออกไปนอกราชอาณาจักรและให้เป็น อ านาจของกรมศุลกากรในการพิจารณาคืน อากรตอบโต้การทุ่มตลาด ทั้งนี้ ให้น ามาตรา ๒๘ แห่งพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๖๐ บทก าหนดโทษที่เกี่ยวข้อง และบทบัญญัติใน ส่วนที่เกี่ยวกับการเปรียบเทียบ มาใช้บังคับโดย อนุโลม
ในกรณีที่หาส่วนเหลื่อมการทุ่มตลาดโดยใช้ วิธีการสุ่มตัวอย่างตามมาตรา ๑๘ วรรคสาม อากรตอบโต้การทุ่มตลาดให้ก าหนดให้ เหมาะสมกับผู้ได้รับการสุ่มเป็นตัวอย่างแต่ละ ราย ส าหรับผู้ที่ไม่ได้รับการสุ่มเป็นตัวอย่าง ให้ ก าหนดอัตราไว้ไม่เกินอัตราถัวเฉลี่ยถ่วงนาหนัก ของส่วนเหลื่อมการทุ่มตลาด แต่ถ้าผู้ที่ไม่ได้รับ การสุ่มตัวอย่างรายใดได้ให้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ ตนโดยครบถ้วนถูกต้องภายในเวลาที่กรมการค้า ต่างประเทศก าหนด ให้คณะกรรมการก าหนด อัตราอากรตอบโต้การทุ่มตลาดให้เหมาะสม ส าหรับผู้นั้น เว้นแต่การก าหนดอัตราอากรตอบ โต้การทุ่มตลาดส าหรับแต่ละรายจะเป็นภาระ เกินสมควรและอาจท าให้การไต่สวนไม่เสร็จ ภายในก าหนดเวลาตามมาตรา ๕๔ เนื่องจากมี ผู้ได้ให้ข้อเท็จจริงดังกล่าวเป็นจ านวนมาก จะ ก าหนดอัตราอากรตอบโต้การทุ่มตลาดไม่เกิน อัตราถัวเฉลี่ยถ่วงนาหนักดังกล่าวก็ได้
ในกรณีที่มีความเสียหายตามมาตรา ๑๙ (๑) หรือมีความเสียหายตามมาตรา ๑๙ (๒) ซึ่งถ้า มิได้มีการใช้มาตรการชั่วคราวมาก่อนน่าจะท า ให้เกิดความเสียหายตามมาตรา ๑๙ (๑) ได้ คณะกรรมการจะก าหนดให้เรียกเก็บอากรตอบ โต้การทุ่มตลาดตั้งแต่มีการใช้มาตรการชั่วคราว ก็ได้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงพาณิชย์ประกาศก าหนด ถ้าอากรตอบโต้การทุ่มตลาดที่คณะกรรมการ ก าหนดตามวรรคหนึ่งมีอัตราสูงกว่าอากร ชั่วคราวส่วนต่างที่เกิดขึ้นนั้นจะเรียกเก็บมิได้ แต่ ถ้าอากรตอบโต้การทุ่มตลาดมีอัตราต ่ากว่าอากร ชั่วคราวก็ให้คืนผลต่างของอากรส่วนที่เกินให้ ด้วย
ในกรณีที่มีความเสียหายตามมาตรา ๑๙ (๒) หรือ (๓) คณะกรรมการอาจก าหนดให้เรียกเก็บ อากรตอบโต้การทุ่มตลาดได้ตั้งแต่วันที่มีค า วินิจฉัยชั้นที่สุดว่ามีความเสียหายตามมาตรา ๑๙ (๒) และ (๓) แล้วแต่กรณี และอากรที่เรียก เก็บหรือหลักประกันต่าง ๆ ที่ได้บังคับใช้ตาม มาตรการชั่วคราวให้คืนโดยไม่ชักช้า ในกรณีที่คณะกรรมการมีค าวินิจฉัยชั้นที่สุดว่า ไม่มีการทุ่มตลาดหรือไม่มีความเสียหาย บรรดา อากรชั่วคราวที่เรียกเก็บหรือหลักประกันที่ให้ไว้ ตามมาตรการชั่วคราวให้คืนโดยไม่ชักช้า
ในกรณีที่มีการใช้มาตรการตามมาตรา ๓๑ คณะกรรมการอาจก าหนดให้เรียกเก็บอากรตอบ โต้การทุ่มตลาดหลังจากวันประกาศไต่สวนแต่ ต้องไม่เกินเก้าสิบวันก่อนวันที่ใช้มาตรการ ชั่วคราวก็ได้ ถ้าปรากฏข้อเท็จจริงต่อไปนี้ (๑) เคยมีการทุ่มตลาดสินค้ารายนั้นและมี ความเสียหายหรือผู้น าเข้าได้รู้หรือควรได้รู้ว่าผู้ ส่งออกจากต่างประเทศได้ทุ่มตลาดและอาจมี ความเสียหาย และ (๒) ความเสียหายได้เกิดขึ้นจากการเร่งน าเข้า สินค้าทุ่มตลาดเป็นจ านวนมากภายในเวลา อันสั้น ซึ่งจากช่วงเวลา ปริมาณการน าเข้าและ พฤติการณ์อื่นที่เกี่ยวข้องชี้ให้เห็นว่าจะบั่น ทอนผลการใช้บังคับอากรตอบโต้การทุ่มตลาด เป็นอย่างมาก หากไม่ก าหนดให้มีการเรียก เก็บอากรตอบโต้การทุ่มตลาดก่อนวันที่ใช้ มาตรการชั่วคราว ก่อนการเรียกเก็บอากรตอบโต้การทุ่มตลาดตาม วรรคหนึ่ง ต้องให้ผู้น าเข้าได้มีโอกาสเสนอ ความเห็นด้วย
การเริ่มต้นกระบวนการพิจารณาตอบโต้การทุ่ม ตลาดจนถึงการด าเนินการให้มีค าวินิจฉัยชั้น ที่สุดว่าให้มีการเรียกเก็บอากรตอบโต้การทุ่ม ตลาดหรือมีค าวินิจฉัยชั้นที่สุดว่าไม่มีการทุ่ม ตลาดและไม่มีความเสียหาย ต้องด าเนินการให้ แล้วเสร็จภายในหนึ่งปีนับแต่วันประกาศไต่สวน เว้นแต่ในกรณีที่มีเหตุจ าเป็น ให้ขยายได้อีกไม่ เกินหกเดือน
อากรตอบโต้การทุ่มตลาดตามหมวด ๖ ให้น ามา ใช้ได้ตลอดเวลาที่มีการทุ่มตลาดและมีความ เสียหาย
การทบทวนความจ าเป็นในการใช้บังคับอากร ตอบโต้การทุ่มตลาดต่อไป ให้กระท าได้เมื่อ คณะกรรมการเห็นสมควรหรือเมื่อมีค าขอจากผู้ มีส่วนได้เสียหลังจากได้ใช้บังคับอากรตอบโต้ การทุ่มตลาดมาแล้วไม่น้อยกว่าหนึ่งปี โดยในค า ขอดังกล่าวผู้มีส่วนได้เสียอาจขอให้ คณะกรรมการพิจารณาทบทวนเพื่อยุติการเรียก เก็บหรือเปลี่ยนแปลงอัตราอากรตอบโต้การทุ่ม ตลาดได้ แต่ต้องเสนอพยานหลักฐานเพียงพอ เกี่ยวกับปัญหาการทุ่มตลาดหรือความเสียหายที่ สมควรให้มีการทบทวนการใช้บังคับอากร ดังกล่าวในระหว่างนั้น การพิจารณาการทบทวนจะต้องพิจารณาโดย รวดเร็ว และจะต้องเสร็จสิ้นภายในหนึ่งปีนับแต่ วันประกาศให้มีการทบทวน การพิจารณาทบทวนไม่กระทบถึงการเรียกเก็บ อากรตอบโต้การทุ่มตลาดในระหว่างนั้น
อากรตอบโต้การทุ่มตลาดให้เรียกเก็บได้เป็น ระยะเวลาไม่เกินห้าปีนับแต่วันเริ่มใช้บังคับหรือ นับแต่วันที่ผลการทบทวนครั้งสุดท้ายซึ่งมีการ พิจารณาทบทวนทั้งปัญหาการทุ่มตลาดและ ปัญหาความเสียหายใช้บังคับ เว้นแต่เมื่อ คณะกรรมการเห็นสมควรให้ทบทวนหรือเมื่อ บุคคลหรือคณะบุคคลมีค าขอในนามของ อุตสาหกรรมภายในให้ทบทวนภายในเวลาที่ กระทรวงพาณิชย์ประกาศก าหนด และ คณะกรรมการมีค าวินิจฉัยว่าการยุติการเรียก เก็บอากรตอบโต้การทุ่มตลาดจะท าให้มีการทุ่ม ตลาดและความเสียหายต่อไปหรือฟื้นคืนมา อีก ทั้งนี้ การพิจารณาทบทวนจะต้อง ด าเนินการให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปีนับแต่วัน ประกาศให้มีการทบทวน การพิจารณาทบทวนไม่กระทบถึงการเรียกเก็บ อากรในระหว่างระยะเวลาที่อากรตอบโต้การทุ่ม ตลาดตามวรรคหนึ่งยังมีผลใช้บังคับ แต่หากการ พิจารณาทบทวนไม่แล้วเสร็จหลังพ้นก าหนด ระยะเวลาที่อากรตอบโต้การทุ่มตลาดมีผลใช้ บังคับ ให้คณะกรรมการเรียกหลักประกันการ ช าระอากรในระหว่างนั้นจนกว่าผลการพิจารณา ทบทวนจะใช้บังคับ ในกรณีที่คณะกรรมการมีค าวินิจฉัยว่าการยุติ การเรียกเก็บอากรตอบโต้การทุ่มตลาดจะท าให้ มีการทุ่มตลาดและความเสียหายต่อไปหรือฟื้น คืนมาอีก ให้เรียกเก็บอากรตอบโต้การทุ่มตลาด ตั้งแต่วันที่มีการเรียกหลักประกันการช าระอากร ตามวรรคสอง ในกรณีที่คณะกรรมการมีค าวินิจฉัยให้ยุติการ เรียกเก็บอากรตอบโต้การทุ่มตลาด บรรดา หลักประกันการช าระอากรที่ให้ไว้ในระหว่างการ ทบทวน ให้คืนโดยไม่ชักช้า
ผู้ส่งออกจากต่างประเทศหรือผู้ผลิตสินค้าใน ต่างประเทศรายใดซึ่งมิได้ส่งสินค้าทุ่มตลาดเข้า มาในช่วงระยะเวลาที่น าข้อมูลมาใช้เพื่อการไต่ สวนการทุ่มตลาดแต่ได้ส่งสินค้าทุ่มตลาดเข้ามา หลังช่วงระยะเวลาดังกล่าว อาจขอให้ทบทวน การเรียกเก็บอากรตอบโต้การทุ่มตลาดส าหรับ ตนเป็นการเฉพาะรายได้ โดยต้องแสดงให้เห็นว่า ตนไม่มีความเกี่ยวข้องกับผู้ส่งออกจาก ต่างประเทศหรือผู้ผลิตสินค้าในต่างประเทศราย อื่นซึ่งอยู่ในบังคับถูกเรียกเก็บอากรตอบโต้การ ทุ่มตลาดดังกล่าว ให้ถือว่าผู้ขอทบทวนมีความเกี่ยวข้องกับผู้ ส่งออกจากต่างประเทศหรือผู้ผลิตสินค้าใน ต่างประเทศรายอื่นตามวรรคหนึ่ง ถ้าปรากฏว่า ฝ่ายใดฝ่ ายหนึ่งสามารถควบคุมอีกฝ่ ายหนึ่ง หรือทั้งสองฝ่ายถูกควบคุมโดยบุคคลที่สาม หรือ ทั้งสองฝ่ายร่วมกันควบคุมบุคคลที่สาม ทั้งนี้ ไม่ ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม ในการนี้ ให้ถือว่า ฝ่ายหนึ่งควบคุมอีกฝ่ ายหนึ่งได้ ถ้าฝ่ายแรกอยู่ใน ฐานะทางกฎหมายหรือทางปฏิบัติที่จะยับยั้งหรือ สั่งการฝ่ายหลังได้ ในระหว่างการทบทวนตามวรรคหนึ่งจะเรียกเก็บ อากรตอบโต้การทุ่มตลาดกับสินค้าน าเข้าที่ ส่งออกหรือผลิตจากผู้ขอทบทวนดังกล่าวไม่ได้ แต่คณะกรรมการอาจขอให้กรมศุลกากรเรียก หลักประกันอากรก็ได้ ในการนี้ ให้กรมศุลกากร มีอ านาจเรียกหลักประกันอากรตามจ านวนที่ คณะกรรมการมีค าขอ ในกรณีที่คณะกรรมการมีค าวินิจฉัยว่ามีการทุ่ม ตลาด ให้เรียกเก็บอากรตอบโต้การทุ่มตลาด ย้อนหลังไปนับแต่วันที่ประกาศให้มีการทบทวน แต่หากคณะกรรมการมีค าวินิจฉัยว่าไม่มีการทุ่ม ตลาด ให้คืนหลักประกันอากรที่เรียกไว้โดยไม่ ชักช้า การพิจารณาทบทวนจะต้องด าเนินการให้แล้ว เสร็จภายในหนึ่งปีนับแต่วันประกาศให้มีการ ทบทวน
ผู้น าเข้าอาจขอคืนอากรตอบโต้การทุ่มตลาดใน ขณะหนึ่งขณะใดได้ถ้าผู้นั้นพิสูจน์ได้ว่าไม่มีส่วน เหลื่อมการทุ่มตลาด หรือส่วนเหลื่อมการทุ่ม ตลาดลดลงต ่ากว่าอากรตอบโต้การทุ่มตลาดที่ ใช้บังคับ การขอคืนอากรตามวรรคหนึ่ง ให้ยื่นค าขอต่อ กรมการค้าต่างประเทศภายในหกเดือนนับแต่วัน ช าระอากร การพิจารณาคืนอากรต้องด าเนินการให้แล้ว เสร็จภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่คณะกรรมการ รับค าขอ เว้นแต่ในกรณีที่มีเหตุจ าเป็นให้ขยาย เวลาได้อีกไม่เกินหกเดือน
ให้น าบทบัญญัติในหมวด ๒ หมวด ๓ หมวด ๔ ส่วนที่ ๑ ส่วนที่ ๒ ส่วนที่ ๓ ของหมวด ๕ และ หมวด ๖ มาใช้บังคับแก่การทบทวนและการขอ คืนอากรตามหมวดนี้โดยอนุโลม
ผู้ใดไม่พอใจค าวินิจฉัยชั้นที่สุดของ คณะกรรมการตามมาตรา ๔๙ หรือค าวินิจฉัย ของคณะกรรมการในการขอให้ทบทวนตาม มาตรา ๕๖ มาตรา ๕๗ มาตรา ๕๘ และมาตรา ๕๙ ให้อุทธรณ์ค าวินิจฉัยดังกล่าวต่อศาล ทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ ได้ภายในสามสิบวันนับแต่วันได้รับแจ้งค า วินิจฉัยนั้น การอุทธรณ์ตามวรรคหนึ่งไม่เป็นเหตุให้ทุเลาการ เรียกเก็บหรือคืนอากรตามพระราชบัญญัตินี้ เว้น แต่ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่าง ประเทศจะสั่งเป็นอย่างอื่น
ในหมวดนี้ “รัฐบาล” หมายความว่า รัฐบาลของประเทศ แหล่งก าเนิดหรือประเทศผู้ส่งออกซึ่งสินค้าที่ น าเข้ามาในประเทศไทย และให้หมายความ รวมถึงหน่วยงานของรัฐด้วย “วิสาหกิจ” หมายความว่า วิสาหกิจหรือ อุตสาหกรรม หรือกลุ่มวิสาหกิจ หรือกลุ่ม อุตสาหกรรม
การอุดหนุนตามพระราชบัญญัตินี้ ได้แก่ การ ได้รับประโยชน์อย่างหนึ่งอย่างใดเนื่องจาก รัฐบาลกระท าการดังต่อไปนี้ (๑) ให้ความช่วยเหลือทางการเงิน ซึ่ง หมายความรวมถึง (ก) การกระท าใด ๆ เกี่ยวกับการโอนเงิน เช่น การให้เงิน การให้กู้ยืมเงิน การเข้า ร่วมทุน หรือการกระท าใดเกี่ยวกับการ เพิ่มขีดความสามารถทางการเงิน หรือ การลดภาระหนี้ เช่น การค ้าประกันเงินกู้ (ข) การท าให้รายได้ที่รัฐบาลพึงจะจัดเก็บได้ ตามปกติต้องสูญเสียไป เช่น การให้ เครดิตภาษีหรือการให้สิ่งจูงใจทางภาษี อากรอื่น แต่การให้สินค้าส่งออกได้รับ การยกเว้นหรือลดหย่อนภาษีอากร ประเภทที่เรียกเก็บจากสินค้าชนิด เดียวกันที่ใช้เพื่อการบริโภค ภายในประเทศหรือการคืนภาษีอากร ดังกล่าวในจ านวนไม่เกินภาระภาษี อากรที่เกิดขึ้นไม่ถือว่าเป็นการให้ความ ช่วยเหลือทางการเงิน (ค) การจัดหาสินค้าหรือบริการอื่นใด นอกจากสาธารณูปโภคทั่วไป หรือการ ซื้อสินค้า หรือ (ง) การให้เงินผ่านกลไกสนับสนุนทาง การเงิน หรือการมอบหมายหรือสั่งให้ เอกชนด าเนินการอย่างหนึ่งอย่างใด ตาม (ก) (ข) หรือ (ค) ซึ่งไม่แตกต่างจาก การด าเนินการตามปกติที่รัฐบาลพึง ด าเนินการเอง (๒) ให้การสนับสนุนด้านรายได้หรือด้านราคา ไม่ว่าในรูปแบบใดทั้งทางตรงและทางอ้อมเพื่อ เพิ่มการส่งออกสินค้าใดหรือลดการน าเข้า สินค้าใด
การอุดหนุนที่มีลักษณะเจาะจงและก่อให้เกิด ความเสียหายแก่อุตสาหกรรมภายในเป็นการ กระท าอันมิชอบที่อาจตอบโต้ได้
การอุดหนุนใดที่ให้แก่วิสาหกิจบางรายจะเป็น การอุดหนุนที่มีลักษณะเจาะจงหรือไม่ ให้ พิจารณาจากหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (๑) การที่รัฐบาลให้การอุดหนุนแก่วิสาหกิจ บางรายโดยชัดแจ้ง เป็นการอุดหนุนที่มี ลักษณะเจาะจง (๒) การอุดหนุนที่มีกฎหมาย กฎ หรือระเบียบ ก าหนดหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขเกี่ยวกับการ ได้รับการอุดหนุนและจ านวนเงินอุดหนุนที่ใช้ เป็นการทั่วไปและมีการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ หรือเงื่อนไขนั้นอย่างเคร่งครัด ไม่เป็นการ อุดหนุนที่มีลักษณะเจาะจง ทั้งนี้ หลักเกณฑ์ หรือเงื่อนไขดังกล่าวต้องไม่เอื้อประโยชน์แก่ วิสาหกิจบางรายมากกว่าวิสาหกิจรายอื่น และ ต้องสอดคล้องกับเหตุผลพื้นฐานทาง เศรษฐกิจ เช่น การก าหนดจ านวนลูกจ้างหรือ ขนาดของวิสาหกิจ (๓) ในกรณีที่ไม่เข้าหลักเกณฑ์การอุดหนุนที่มี ลักษณะเจาะจงตาม (๑) และ (๒) หาก คณะกรรมการมีเหตุอันควรเชื่อได้ว่ามีการ อุดหนุนที่มีลักษณะเจาะจงโดยพฤตินัย คณะกรรมการอาจน าปัจจัยอื่นดังต่อไปนี้มา พิจารณาประกอบด้วย (ก) การจ ากัดจ านวน ิสาหกิจที่จะได้รับการอุดหนุน (ข) การให้ วิสาหกิจบางรายได้รับหรือได้ใช้ประโยชน์จาก การอุดหนุนมากกว่าวิสาหกิจรายอื่น (ค) จ านวนเงินอุดหนุนที่ให้แก่วิสาหกิจบางรายมี สัดส่วนที่มากกว่าที่ให้แก่วิสาหกิจรายอื่น และ (ง) การมีดุลพินิจที่จะเลือกให้การ อุดหนุน ทั้งนี้ ให้ค านึงถึงความหลากหลาย ทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องและระยะเวลาที่มี โครงการอุดหนุนดังกล่าวด้วย การอุดหนุนที่ให้แก่วิสาหกิจบางรายที่ตั้งอยู่ใน บางพื้นที่ทางภูมิศาสตร์เป็นการอุดหนุนที่มี ลักษณะเจาะจง แต่หากการอุดหนุนนั้นเป็นการ ก าหนดหรือเปลี่ยนแปลงอัตราภาษีอากรที่มี หลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขใช้บังคับเป็นการทั่วไป ไม่ ถือว่าเป็นการอุดหนุนที่มีลักษณะเจาะจง การอุดหนุนดังต่อไปนี้ให้ถือว่าเป็นการอุดหนุนที่ มีลักษณะเจาะจงและมิให้น าความในวรรคหนึ่ง และวรรคสองมาใช้บังคับ (๑) การอุดหนุนที่มีเงื่อนไขเพื่อการส่งออกไม่ ว่าโดยนิตินัยหรือโดยพฤตินัย และให้รวมถึง การอุดหนุนตามลักษณะที่ก าหนดใน กฎกระทรวง ทั้งนี้ การอุดหนุนที่มีเงื่อนไขเพื่อ การส่งออกโดยพฤตินัย ได้แก่ การอุดหนุนที่มี เงื่อนไขขึ้นอยู่กับการส่งออกหรือรายได้จาก การส่งออก ทั้งที่เกิดขึ้นจริงหรือที่คาดการณ์ไว้ (๒) การอุดหนุนที่มีเงื่อนไขเพื่อให้มีการใช้ สินค้าที่ผลิตในประเทศแหล่งก าเนิดมากกว่า สินค้าน าเข้า การพิจารณาว่ามีการอุดหนุนที่มีลักษณะเจาะจง ตามมาตรานี้ต้องมีพยานหลักฐานโดยตรง สนับสนุน
(ยกเลิก)
(ยกเลิก)
(ยกเลิก)
อากรตอบโต้การอุดหนุนให้ค านวณจาก ประโยชน์ที่ได้รับในช่วงระยะเวลาที่น าข้อมูลมา ใช้เพื่อการไต่สวนการอุดหนุน โดยก าหนดเป็น อัตราต่อหน่วยของสินค้าของผู้ที่ได้รับการ อุดหนุนแต่ละราย ถ้าผู้รับการอุดหนุนมีภาระหรือต้องเสียค่าใช้จ่าย ส่วนใดให้แก่รัฐบาลที่ให้การอุดหนุน ผู้รับการ อุดหนุนจะขอให้หักค่าใช้จ่ายดังกล่าวออกก็ได้ แต่ภาระการพิสูจน์ข้อเท็จจริงดังกล่าวเป็นของ ผู้รับการอุดหนุน อากรตอบโต้การอุดหนุนนั้นให้ก าหนดเพียงเพื่อ ขจัดความเสียหาย และจะเกินกว่าประโยชน์ที่ ผู้รับการอุดหนุนได้รับมิได้
การค านวณหาประโยชน์ที่ได้รับตามมาตรา ๖๓ ให้พิจารณาตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (๑) การที่รัฐบาลเข้าร่วมทุนไม่ถือเป็นการให้ ประโยชน์ เว้นแต่การลงทุนนั้นไม่สอดคล้อง กับการปฏิบัติตามปกติของภาคเอกชนใน ประเทศแหล่งก าเนิดหรือประเทศผู้ส่งออก (๒) การที่รัฐบาลให้กู้ยืมเงินไม่ถือเป็นการให้ ประโยชน์ เว้นแต่มีส่วนต่างระหว่างจ านวนเงิน ที่ผู้กู้ต้องช าระและประโยชน์อื่นใดที่ค านวณ เป็นตัวเงินได้อันเนื่องมาจากการกู้ยืมจาก รัฐบาลกับการกู้ยืมทางพาณิชย์ที่เปรียบเทียบ กันได้ในตลาด ในกรณีนี้ประโยชน์ที่ได้รับคือ ส่วนต่างของจ านวนดังกล่าว (๓) การที่รัฐบาลค ้าประกันเงินกู้ไม่ถือเป็นการ ให้ประโยชน์ เว้นแต่มีส่วนต่างระหว่างจ านวน เงินที่ผู้ได้รับการค ้าประกันต้องช าระและ ประโยชน์อื่นใดที่ค านวณเป็นตัวเงินได้ระหว่าง การค ้าประกันโดยรัฐบาลกับการค ้าประกัน โดยเอกชนในทางพาณิชย์และให้น าความใน (๒) มาใช้บังคับโดยอนุโลม (๔) การที่รัฐบาลให้สินค้าหรือบริการหรือการ ซื้อสินค้าไม่ถือเป็นการให้ประโยชน์เว้นแต่ เป็นการให้โดยได้รับค่าตอบแทนที่น้อยกว่า อัตราที่สมควรหรือการซื้อสินค้าที่ให้ ค่าตอบแทนสูงกว่าอัตราที่สมควร ซึ่งอัตราที่ สมควรให้พิจารณาจากสภาพทางการตลาดที่ เป็นอยู่ในประเทศที่รัฐบาลให้สินค้าหรือ บริการหรือที่ซื้อสินค้านั้น การค านวณประโยชน์ที่ได้รับ ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์และวิธีการที่ก าหนดในกฎกระทรวง กฎกระทรวงดังกล่าวจะก าหนดให้กรณีหนึ่งกรณี ใดเป็นไปตามที่กระทรวงพาณิชย์ประกาศ ก าหนดก็ได้
การพิจารณาก าหนดอากรตอบโต้การอุดหนุน ให้น าบทบัญญัติหมวด ๒ หมวด ๓ หมวด ๔ หมวด ๕ หมวด ๖ หมวด ๗ หมวด ๘ และหมวด ๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม เว้นแต่ในกรณี ดังต่อไปนี้ (๑) บทบัญญัติแห่งมาตรา ๔๒ (๒) และ (๓) มิให้ใช้บังคับในการใช้มาตรการชั่วคราว (๒) ความตกลงเพื่อระงับการอุดหนุนระหว่าง ผู้ส่งออกกับกรมการค้าต่างประเทศจะต้อง ได้รับความเห็นชอบจากประเทศผู้ส่งออกด้วย
ในกรณีที่ผู้น าเข้าไม่ช าระอากรหรือช าระอากร ตอบโต้การอุดหนุนไม่ครบถ้วนหรือค้างช าระค่า อากรดังกล่าว ให้เป็นอ านาจของกรมศุลกากรใน การเรียกเก็บอากร เงินเพิ่มและเบี้ยปรับ การกัก ของ การยึดหรืออายัดทรัพย์สิน การขาย ทอดตลาด และการด าเนินการเกี่ยวกับของ ตกค้าง รวมทั้งการลดเงินเพิ่ม งดหรือลดเบี้ย ปรับ ทุเลาการช าระอากรตอบโต้การอุดหนุน เงิน เพิ่มและเบี้ยปรับ ในกรณีที่ผู้น าเข้าไม่เห็นด้วยกับการประเมิน อากร เงินเพิ่มและเบี้ยปรับ การลดเงินเพิ่ม และ งดหรือลดเบี้ยปรับ ของกรมศุลกากรตามวรรค หนึ่ง ให้อุทธรณ์ต่อคณะกรรมการพิจารณา อุทธรณ์ตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร ให้น าบทบัญญัติกฎหมายว่าด้วยศุลกากรและ กฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราศุลกากรมาใช้บังคับ แก่การด าเนินการตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง โดยอนุโลม บทบัญญัติในส่วนที่เกี่ยวกับการจ่ายเงินสินบน หรือเงินรางวัลตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรไม่ น ามาใช้กับการเก็บอากร เงินเพิ่ม และเบี้ยปรับที่ จัดเก็บได้จากอากรตอบโต้การอุดหนุนตาม มาตรานี้
ผู้น าเข้าอาจยื่นค าขอคืนอากรตอบโต้การ อุดหนุนต่อกรมศุลกากรได้หากภายหลังปรากฏ ว่ามีการส่งสินค้าที่ได้ช าระอากรตอบโต้การ อุดหนุนกลับออกไปนอกราชอาณาจักรและให้ เป็นอ านาจของกรมศุลกากรในการพิจารณาคืน อากรตอบโต้การอุดหนุน ทั้งนี้ ให้น ามาตรา ๒๘ แห่งพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๖๐ บทก าหนดโทษที่เกี่ยวข้อง และบทบัญญัติใน ส่วนที่เกี่ยวกับการเปรียบเทียบ มาใช้บังคับโดย อนุโลม
เมื่อคณะกรรมการได้รับค าขอจากผู้ยื่นค าขอใน นามของอุตสาหกรรมภายในหรือกรมการค้า ต่างประเทศให้พิจารณาตอบโต้การอุดหนุน ก่อนที่จะเปิดการไต่สวน ให้กรมการค้า ต่างประเทศแจ้งให้รัฐบาลของประเทศซึ่งสินค้า ดังกล่าวถูกพิจารณาว่าได้มีการอุดหนุนทราบ และขอให้รัฐบาลของประเทศนั้นมาปรึกษาหารือ เกี่ยวกับการอุดหนุนและความเสียหายของ อุตสาหกรรมภายในตามค าขอ การปรึกษาหารือจะด าเนินการในขั้นตอนใด ระหว่างการพิจารณาตอบโต้การอุดหนุนก็ได้ และกรมการค้าต่างประเทศต้องให้โอกาสตาม ควรในการปรึกษาหารือนั้น แต่การปรึกษาหารือ ไม่เป็นเหตุกระทบการด าเนินการในขั้นตอนการ พิจารณาตอบโต้การอุดหนุน ในการปรึกษาหารือกรมการค้าต่างประเทศต้อง ให้โอกาสประเทศซึ่งสินค้าที่ถูกพิจารณาได้รับ ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับการพิจารณา เว้นแต่ เป็นข้อมูลข่าวสารที่ต้องปกปิดโดยสาระและ เนื้อหา หรือผู้ให้ข้อมูลข่าวสารนั้นขอให้ปกปิด
ในหมวดนี้ “มาตรการตอบโต้” หมายความว่า มาตรการ ตอบโต้การทุ่มตลาดหรือการอุดหนุน “ผู้ประกอบสินค้า” หมายความว่า (๑) ผู้ที่น าสินค้าที่ถูกใช้มาตรการตอบโต้ซึ่งยัง ท าไม่ส าเร็จที่ผลิตจากประเทศที่ถูกใช้ มาตรการตอบโต้มาท าให้ส าเร็จในประเทศ ไทยหรือในประเทศอื่น หรือ (๒) ผู้ที่น าส่วนประกอบหรือชิ้นส่วนของสินค้า ที่ถูกใช้มาตรการตอบโต้ที่ผลิตจากประเทศที่ ถูกใช้มาตรการตอบโต้มาประกอบเป็นสินค้าที่ เหมือนกับสินค้าที่ถูกใช้มาตรการตอบโต้ใน ประเทศไทยหรือในประเทศอื่น
การขยายการเรียกเก็บอากรตอบโต้การทุ่มตลาด และการอุดหนุนตามหมวดนี้ ให้ใช้กับการน าเข้า สินค้าที่มีการไต่สวนแล้วปรากฏว่ามีการหลบ เลี่ยงมาตรการตอบโต้
การหลบเลี่ยงมาตรการตอบโต้ตามมาตรา ๗๑/ ๒ ต้องมีองค์ประกอบดังต่อไปนี้ (๑) การเปลี่ยนแปลงรูปแบบทางการค้าอัน เกิดจากการด าเนินการที่เกี่ยวข้องกับการผลิต หรือการด าเนินธุรกิจโดยไม่มีเหตุอันควรหรือ เหตุผลทางเศรษฐกิจสนับสนุนอย่าง เพียงพอ แต่เป็นไปเพื่อมิให้อยู่ภายใต้บังคับ การเรียกเก็บอากรตอบโต้การทุ่มตลาดหรือ การอุดหนุนหรือเพื่อมิให้อยู่ภายใต้บังคับอัตรา อากรตามที่คณะกรรมการประกาศก าหนด (๒) การเปลี่ยนแปลงรูปแบบทางการค้าตาม (๑) มีผลเป็นการบั่นทอนผลการใช้บังคับ มาตรการตอบโต้ในด้านของราคาหรือปริมาณ และ (๓) หลักฐานการทุ่มตลาดโดยเปรียบเทียบ ระหว่างมูลค่าปกติของสินค้าที่ถูกใช้มาตรการ ตอบโต้การทุ่มตลาดที่ค านวณขึ้นก่อนหน้ากับ ราคาส่งออกของสินค้าที่ถูกพิจารณาหรือราคา ขายของสินค้าที่เหมือนกับสินค้าที่ถูกใช้ มาตรการตอบโต้การทุ่มตลาดของผู้ผลิตใน ต่างประเทศ ผู้ส่งออกจากต่างประเทศ หรือผู้ ประกอบสินค้า ซึ่งถูกกล่าวหาว่ามีการหลบ เลี่ยงมาตรการตอบโต้ทั้งนี้ โดยค านึงถึงปัจจัย ที่อาจมีผลกระทบต่อการเปรียบเทียบราคา ด้วย หรือหลักฐานการได้รับการอุดหนุน หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการพิจารณาเหตุ อันควรหรือเหตุผลทางเศรษฐกิจ การบั่นทอนผล การใช้บังคับมาตรการตอบโต้ในด้านของราคา หรือปริมาณ และหลักฐานการทุ่มตลาดหรือการ ได้รับการอุดหนุน ตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่ ก าหนดในกฎกระทรวง
การด าเนินการที่เกี่ยวข้องกับการผลิตหรือการ ด าเนินธุรกิจตามมาตรา ๗๑/๓ (๑) ได้แก (๑) การแก้ไขดัดแปลงสินค้าที่ถูกใช้มาตรการ ตอบโต้เพียงเล็กน้อยโดยไม่มีผลต่อลักษณะ หรือคุณสมบัติที่ส าคัญของสินค้านั้น ไม่ว่าการ แก้ไขดัดแปลงสินค้าดังกล่าวจะท าในประเทศ ที่ถูกใช้มาตรการตอบโต้หรือในประเทศอื่น (๒) การส่งออกสินค้าที่ถูกใช้มาตรการตอบโต้ จากประเทศที่ถูกใช้มาตรการดังกล่าวมา ประเทศไทยโดยผ่านประเทศอื่น (๓) การส่งออกสินค้าที่ถูกใช้มาตรการตอบโต้ จากประเทศที่ถูกใช้มาตรการดังกล่าวมา ประเทศไทยโดยผ่านผู้ผลิตหรือผู้ส่งออกรายที่ ไม่ถูกเรียกเก็บหรือรายที่ถูกเรียกเก็บอากร ตอบโต้การทุ่มตลาดหรือการอุดหนุนในอัตรา ที่ต ่ากว่าอัตราที่สินค้านั้นถูกเรียกเก็บ (๔) การน าสินค้าที่ถูกใช้มาตรการตอบโต้ซึ่ง ยังท าไม่ส าเร็จที่ผลิตจากประเทศที่ถูกใช้ มาตรการตอบโต้มาท าให้ส าเร็จ หรือการน า ส่วนประกอบหรือชิ้นส่วนของสินค้าที่ถูกใช้ มาตรการตอบโต้ที่ผลิตจากประเทศที่ถูกใช้ มาตรการตอบโต้มาประกอบเป็นสินค้าที่ เหมือนกับสินค้าที่ถูกใช้มาตรการตอบโต้ใน ประเทศไทยหรือในประเทศอื่น โดยให้ พิจารณาดังต่อไปนี้ (ก) การท าให้ส าเร็จหรือการประกอบเป็น สินค้าที่เหมือนกับสินค้าที่ถูกใช้มาตรการ ตอบโต้ได้เริ่มด าเนินการหรือมีการ ด าเนินการที่เพิ่มขึ้นตั้งแต่วันประกาศไต่ สวนการทุ่มตลาดหรือการอุดหนุน และ (ข) สินค้าที่ถูกท าให้ส าเร็จหรือประกอบเป็น สินค้าที่เหมือนกับสินค้าที่ถูกใช้มาตรการ ตอบโต้มีสัดส่วนมูลค่าเพิ่มหรือมูลค่า ส่วนประกอบหรือชิ้นส่วนดังนี้ ๑) ในกรณีสินค้าที่ถูกท าให้ส าเร็จมี มูลค่าเพิ่มของสินค้านั้นน้อยกว่าร้อยละ ยี่สิบห้าของต้นทุนการผลิต หรือ ๒) ในกรณีส่วนประกอบหรือชิ้นส่วนของ สินค้าที่ผลิตจากประเทศที่ถูกใช้ มาตรการตอบโต้มีมูลค่าเท่ากับหรือ มากกว่าร้อยละหกสิบของมูลค่า ส่วนประกอบหรือชิ้นส่วนทั้งหมดของ สินค้าที่เหมือนกับสินค้าที่ถูกใช้ มาตรการตอบโต้ เว้นแต่สินค้าที่ ประกอบขึ้นจากส่วนประกอบหรือ ชิ้นส่วนดังกล่าวมีมูลค่าเพิ่มไม่น้อยกว่า ร้อยละยี่สิบห้าของต้นทุนการผลิต ๓) การค านวณมูลค่าเพิ่มตาม ๑) และ ๒) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวง พาณิชย์ประกาศก าหนด (๕) การด าเนินการที่เกี่ยวข้องกับการผลิตหรือ การด าเนินธุรกิจอื่นใด ตามที่ก าหนดใน กฎกระทรวง
ให้เริ่มด าเนินกระบวนการพิจารณาตอบโต้การ หลบเลี่ยงมาตรการตอบโต้เมื่อมีค าขอของ กรมการค้าต่างประเทศหรือของบุคคลหรือคณะ บุคคลตามมาตรา ๗๑/๖ การยื่นค าขอตามวรรคหนึ่งจะกระท าได้หลังจาก คณะกรรมการมีค าวินิจฉัยชั้นที่สุด ให้มีการเรียก เก็บอากรตอบโต้การทุ่มตลาดหรือการอุดหนุน
บุคคลหรือคณะบุคคลอาจยื่นค าขอต่อกรมการ ค้าต่างประเทศในนามของผู้ผลิตในประเทศซึ่ง ผลิตสินค้าชนิดเดียวกันกับสินค้าที่ถูกใช้ มาตรการตอบโต้เพื่อให้คณะกรรมการ ด าเนินการพิจารณาตอบโต้การหลบเลี่ยง มาตรการตอบโต้ ค าขอตามวรรคหนึ่งต้องได้รับการสนับสนุนจาก ผู้ผลิตในประเทศซึ่งผลิตสินค้าชนิดเดียวกันกับ สินค้าที่ถูกใช้มาตรการตอบโต้ ในปริมาณไม่ น้อยกว่าหนึ่งในสี่ของปริมาณการผลิตสินค้า ชนิดเดียวกันกับสินค้าที่ถูกใช้มาตรการตอบโต้ ทั้งหมดในประเทศ การยื่นค าขอให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ ระยะเวลา และเงื่อนไขที่กระทรวงพาณิชย์ ประกาศก าหนด
ถ้าค าขอตามมาตรา ๗๑/๖ มีรายละเอียดหรือ หลักฐานไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้อง ให้กรมการ ค้าต่างประเทศแจ้งให้ผู้ยื่นค าขอด าเนินการให้ ครบถ้วนหรือถูกต้องภายในเวลาที่ก าหนด เมื่อค าขอมีรายละเอียดและพยานหลักฐาน ครบถ้วนและถูกต้องแล้ว ให้กรมการค้า ต่างประเทศเสนอค าขอต่อคณะกรรมการเพื่อ พิจารณา
ผู้ยื่นค าขอตามมาตรา ๗๑/๖ อาจถอนค าขอได้ แต่ถ้าได้มีการประกาศไต่สวนการหลบเลี่ยง มาตรการตอบโต้ตามมาตรา ๗๑/๑๐ แล้ว คณะกรรมการจะยุติการพิจารณาตอบโต้การ หลบเลี่ยงมาตรการตอบโต้หรือด าเนินการ พิจารณาต่อไปก็ได้
ในกรณีที่คณะกรรมการมีค าวินิจฉัยว่าค าขอมี มูลเกี่ยวกับการหลบเลี่ยงมาตรการตอบโต้ ให้ กรมการค้าต่างประเทศด าเนินการไต่สวนต่อไป โดยไม่ชักช้า ในกรณีที่คณะกรรมการมีค าวินิจฉัยว่าค าขอนั้น ไม่มีมูลเกี่ยวกับการหลบเลี่ยงมาตรการตอบโต้ ให้กรมการค้าต่างประเทศแจ้งค าวินิจฉัย ดังกล่าวให้ผู้ยื่นค าขอทราบโดยไม่ชักช้า
ในการพิจารณาตอบโต้การหลบเลี่ยงมาตรการ ตอบโต้ ให้กรมการค้าต่างประเทศเป็นผู้มีอ านาจ หน้าที่ไต่สวนการหลบเลี่ยงมาตรการตอบโต้ เริ่มต้นโดยการออกประกาศไต่สวนการหลบเลี่ยง มาตรการตอบโต้ในราชกิจจานุเบกษา และลง โฆษณาในหนังสือพิมพ์รายวันหรือเผยแพร่โดย วิธีการอื่นใดทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพื่อให้สาธารณชนรับรู้ ตามที่เห็นสมควร ประกาศไต่สวนการหลบเลี่ยงมาตรการตอบโต้ ต้องมีรายการตามที่กระทรวงพาณิชย์ประกาศ ก าหนด ให้กรมการค้าต่างประเทศแจ้งประกาศไต่สวน การหลบเลี่ยงมาตรการตอบโต้ให้ผู้ยื่นค าขอ ผู้ผลิตในต่างประเทศ ผู้ส่งออกจากต่างประเทศ หรือผู้ประกอบสินค้า ซึ่งถูกกล่าวหาว่ามีการ หลบเลี่ยงมาตรการตอบโต้ และรัฐบาลของ ประเทศแหล่งก าเนิดหรือประเทศผู้ส่งออกที่ เกี่ยวข้องทราบ และในกรณีที่ทราบที่อยู่ของผู้ น าเข้าที่เกี่ยวข้องหรือตัวแทนของบุคคลดังกล่าว ให้กรมการค้าต่างประเทศแจ้งเป็นหนังสือให้ บุคคลเหล่านั้นทราบประกาศนั้นด้วย
การเสนอข้อเท็จจริงและความเห็นรวมทั้งสิทธิ การด าเนินการเพื่อปกป้องผลประโยชน์ของผู้มี ส่วนได้เสียและผู้ที่เกี่ยวข้องในกระบวนการไต่ สวนการหลบเลี่ยงมาตรการตอบโต้ให้เป็นไป ตามที่ก าหนดในกฎกระทรวง
ให้น ามาตรา ๒๖ มาตรา ๒๗ มาตรา ๒๙ มาตรา ๓๐ และมาตรา ๔๐ มาใช้บังคับแก่การไต่สวน การหลบเลี่ยงมาตรการตอบโต้โดยอนุโลม
ในกรณีที่คณะกรรมการมีค าวินิจฉัยว่ามีการ หลบเลี่ยงมาตรการตอบโต้ ให้ขยายการเรียกเก็บ อากรตอบโต้การทุ่มตลาดหรือการอุดหนุนกับ การน าเข้าสินค้าที่หลบเลี่ยงมาตรการตอบโต้ใน อัตราไม่เกินอัตราสูงสุดที่เรียกเก็บกับสินค้าที่ถูก ใช้มาตรการตอบโต้จากประเทศผู้ส่งออกนั้น ในการขยายการเรียกเก็บอากรตอบโต้การทุ่ม ตลาดหรือการอุดหนุนตามวรรคหนึ่ง ให้เริ่ม ตั้งแต่วันที่มีการจัดท าทะเบียนการน าเข้า สินค้า ในการนี้ ให้กรมศุลกากรมีอ านาจเรียก เก็บอากรดังกล่าวตามที่คณะกรรมการมีค า วินิจฉัย การขยายการเรียกเก็บอากรตอบโต้การทุ่มตลาด หรือการอุดหนุนตามวรรคหนึ่ง ให้เปลี่ยนแปลง หรือยุติตามการเรียกเก็บอากรของสินค้าที่ถูกใช้ มาตรการตอบโต้
ในกรณีที่มีการขยายการเรียกเก็บอากรตอบโต้ การทุ่มตลาดหรือการอุดหนุน หากผู้น าเข้าไม่ ช าระอากรหรือช าระอากรตอบโต้การทุ่มตลาด หรือการอุดหนุนไม่ครบถ้วน หรือค้างช าระค่า อากรดังกล่าว ให้น ามาตรา ๔๙/๑ หรือมาตรา ๗๐/๑ แล้วแต่กรณี มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ในกรณีที่มีการขยายการเรียกเก็บอากรตอบโต้ การทุ่มตลาดหรือการอุดหนุนผู้น าเข้าอาจยื่นค า ขอคืนอากรตอบโต้การทุ่มตลาดหรือการอุดหนุน ต่อกรมศุลกากรได้ หากภายหลังปรากฏว่ามีการ ส่งสินค้าที่ได้ช าระอากรตอบโต้การทุ่มตลาดหรือ การอุดหนุนกลับออกไปนอกราชอาณาจักร ให้ น ามาตรา ๔๙/๒ หรือมาตรา ๗๐/๒ แล้วแต่กรณี มาใช้บังคับโดยอนุโลม
การเริ่มต้นกระบวนการพิจารณาตอบโต้การหลบ เลี่ยงมาตรการตอบโต้จนถึงการด าเนินการให้มี ค าวินิจฉัยว่าให้ขยายการเรียกเก็บอากรตอบโต้ การทุ่มตลาดหรือการอุดหนุน หรือมีค าวินิจฉัย ว่าไม่มีการหลบเลี่ยงมาตรการตอบโต้ต้อง ด าเนินการให้แล้วเสร็จภายในเก้าเดือนนับแต่วัน ประกาศไต่สวน เว้นแต่ในกรณีที่มีเหตุจ าเป็นให้ ขยายได้อีกไม่เกินสามเดือน
เมื่อคณะกรรมการเห็นสมควร หรือเมื่อมีค าขอ จากผู้มีส่วนได้เสียหลังจากที่ได้มีการขยายการ เรียกเก็บอากรตอบโต้การทุ่มตลาดหรือการ อุดหนุนมาแล้วไม่น้อยกว่าหนึ่งปี คณะกรรมการ อาจพิจารณาทบทวนเพื่อยุติการขยายการเรียก เก็บอากรตอบโต้การทุ่มตลาดหรือการอุดหนุนได้ การพิจารณาทบทวนจะต้องด าเนินการให้แล้ว เสร็จภายในหนึ่งปีนับแต่วันประกาศให้มีการ ทบทวน การพิจารณาทบทวนไม่กระทบถึงการขยายการ เรียกเก็บอากรตอบโต้การทุ่มตลาดหรือการ อุดหนุนในระหว่างนั้น
ผู้น าเข้าอาจขอคืนอากรตอบโต้การทุ่มตลาดหรือ อากรตอบโต้การอุดหนุนที่ถูกเรียกเก็บจากการ ขยายการเรียกเก็บอากรตอบโต้การทุ่มตลาด หรือการอุดหนุน ในขณะหนึ่งขณะใดได้ถ้าผู้นั้น พิสูจน์ได้ว่าไม่มีการหลบเลี่ยงมาตรการตอบโต้ ตามมาตรา ๗๑/๓ การขอคืนอากรตามวรรคหนึ่งต้องยื่นค าขอต่อ กรมการค้าต่างประเทศภายในหกเดือนนับแต่วัน ช าระอากรดังกล่าว การพิจารณาคืนอากรจะต้องด าเนินการให้แล้ว เสร็จภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่คณะกรรมการ รับค าขอดังกล่าว เว้นแต่ในกรณีที่มีเหตุจ าเป็น ให้ขยายเวลาได้อีกไม่เกินหกเดือน
ให้น ามาตรา ๗๑/๓ มาตรา ๗๑/๔ มาตรา ๗๑/๖ วรรคสาม มาตรา ๗๑/๗ มาตรา ๗๑/๘ มาตรา ๗๑/๙ มาตรา ๗๑/๑๐ มาตรา ๗๑/๑๑ และ มาตรา ๗๑/๑๒ มาใช้บังคับแก่การทบทวนและ การขอคืนอากร ตามมาตรา ๗๑/๑๗ และมาตรา ๗๑/๑๘ โดยอนุโลม
ผู้ใดไม่พอใจค าวินิจฉัยของคณะกรรมการตาม มาตรา ๗๑/๑๓ หรือค าวินิจฉัยของ คณะกรรมการในการขอให้ทบทวนตามมาตรา ๗๑/๑๗ และมาตรา ๗๑/๑๘ ให้อุทธรณ์ค า วินิจฉัยดังกล่าวต่อศาลทรัพย์สินทางปัญญาและ การค้าระหว่างประเทศได้ภายในสามสิบวันนับ แต่วันได้รับแจ้งค าวินิจฉัยนั้น และให้น ามาตรา ๖๑ วรรคสอง มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๗๒ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการพิจารณาการทุ่มตลาด และการอุดหนุน” ประกอบด้วย รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงพาณิชย์ เป็นประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงพาณิชย์ ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ปลัดกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน อธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ อธิบดีกรมการค้า ภายใน อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ผู้ซึ่งคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคมอบหมาย หนึ่งคน และผู้ทรงคุณวุฒิจ านวนหกคนซึ่ง คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งเป็นกรรมการ ให้อธิบดีกรมการค้าต่างประเทศเป็นเลขานุการ และแต่งตั้งข้าราชการของกรมการค้า ต่างประเทศเป็นผู้ช่วยเลขานุการของ คณะกรรมการ การแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามวรรคหนึ่ง ให้แต่งตั้งจากบุคคลซึ่งมีความรู้ความเชี่ยวชาญ เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ เศรษฐศาสตร์ การบัญชี นิติศาสตร์ การเกษตร และการ อุตสาหกรรม สาขาละหนึ่งคน
คณะกรรมการมีอ านาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ (๑) พิจารณาตอบโต้การทุ่มตลาดและการ อุดหนุน และพิจารณาตอบโต้การหลบเลี่ยง มาตรการตอบโต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุน ตามพระราชบัญญัตินี้ (๒) ให้ความเห็นชอบในการท าความตกลง เพื่อระงับการทุ่มตลาดหรือการอุดหนุน (๓) ให้ค าแนะน าในการออกกฎกระทรวงและ ประกาศเพื่อด าเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ (๔) ปฏิบัติการอื่นตามที่บัญญัติไว้ใน พระราชบัญญัตินี้ หรือตามที่คณะรัฐมนตรี มอบหมาย
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการด ารงต าแหน่ง คราวละสี่ปี ในวาระเริ่มแรกเมื่อครบสองปีให้กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิออกจากต าแหน่งเป็นจ านวนกึ่ง หนึ่งของจ านวนกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิทั้งหมด โดยวิธีจับสลาก และให้ถือว่าการออกจาก ต าแหน่งของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิโดยวิธีจับ สลากเป็นการพ้นจากต าแหน่งตามวาระ เมื่อครบก าหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยัง มิได้มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากต าแหน่งตาม วาระปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่ากรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับแต่งตั้งใหม่เข้ารับหน้าที่ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากต าแหน่งตาม วาระอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้แต่จะแต่งตั้งให้ด ารง ต าแหน่งติดต่อกันเกินสองวาระไม่ได้
นอกจากการพ้นจากต าแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากต าแหน่งเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) คณะรัฐมนตรีให้ออก เพราะมีความ ประพฤติเสื่อมเสีย บกพร่องหรือไม่สุจริตต่อ หน้าที่ หรือหย่อนความสามารถ (๔) ต้องโทษจ าคุกตามค าพิพากษาถึงที่สุดให้ จ าคุก เว้นแต่ในความผิดที่กระท าโดยประมาท หรือความผิดลหุโทษ (๕) เป็นคนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ ความสามารถ (๖) เป็นบุคคลล้มละลาย
ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากต าแหน่ง ก่อนวาระ ให้แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทน โดยเร็ว และให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับ แต่งตั้งแทนดังกล่าวอยู่ในต าแหน่งเท่าวาระที่ เหลืออยู่ของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่ตนแทน เว้นแต่วาระการอยู่ในต าแหน่งของกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิที่พ้นจากต าแหน่งก่อนวาระนั้น เหลือไม่ถึงเก้าสิบวัน จะไม่ด าเนินการแต่งตั้งก็ได้ ในระหว่างที่ยังไม่มีการแต่งตั้งกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิแทนตามวรรคหนึ่ง ให้กรรมการ เท่าที่เหลืออยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ และให้ถือว่า คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการเท่าที่ เหลืออยู่ ทั้งนี้ ต้องมีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ เหลืออยู่ไม่น้อยกว่าสามคน
การประชุมของคณะกรรมการต้องมีกรรมการมา ประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ านวนกรรมการ ทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม ถ้าประธาน กรรมการไม่อยู่ในที่ประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติ หน้าที่ได้ ให้กรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการ คนหนึ่งขึ้นเป็นประธานในที่ประชุม การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้าง มาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการ ลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานใน ที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ ขาด ในการประชุม ถ้ามีความเห็นแย้งให้บันทึก ความเห็นแย้งพร้อมทั้งเหตุผลไว้ในรายงานการ ประชุมด้วย แต่กรรมการคนใดจะขอให้รวม ความเห็นแย้งของตนไว้ในค าวินิจฉัยก็ได้ กรรมการผู้ใดมีส่วนได้เสียในเรื่องที่ต้องวินิจฉัยชี้ ขาด ห้ามมิให้กรรมการผู้นั้นเข้าร่วมการประชุม ในเรื่องนั้น
เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ ให้ คณะกรรมการมีอ านาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ เพื่อด าเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดได้
บรรดาการพิจารณาตอบโต้การทุ่มตลาดและ การอุดหนุนที่ค้างพิจารณาอยู่ก่อนวันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับให้ด าเนินการต่อไป ตามประกาศกระทรวงพาณิชย์ว่าด้วยการเรียก เก็บค่าธรรมเนียมพิเศษซึ่งสินค้าน าเข้าเพื่อตอบ โต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุน พ.ศ. ๒๕๓๙ และพระราชบัญญัติการส่งออกไปนอกและการ น าเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งสินค้า พ.ศ. ๒๕๒๒ จนกว่าจะเสร็จสิ้น ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี
「1999년 외국제품의 반덤핑 및 상계법」
• 국가·지역: 태국 • 제 정 일: 1999년 3월 22일 • 개 정 일: 2019년 5월 19일(「2019년 외국제품의 반덤핑 및 상계법 (제 2권)」
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็นปีที่ ๕๔ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรให้มีกฎหมายว่าด้วยการตอบ โต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุนซึ่งสินค้าจาก ต่างประเทศ พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการ เกี่ยวกับการจ ากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่ง มาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๕๐ ของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้ กระท าได้โดยอาศัยอ านาจตามบทบัญญัติแห่ง กฎหมาย ึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยค าแนะน า และยินยอม ของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서 현 왕조의 54번째 해인 1999년(불기2542년) 3월 22일에 하사하셨다. 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서는 다음과 같이 공포하도록 하셨다. 외국제품의 반덤핑 및 상계 관련 법률을 개정하는 것이 타당하다. 이 법은 인권과 자유를 제한하는 것과 관련한 일부 조항이 있다. 즉 「타이왕국헌법」의 제29조와 제50조가 연계하여 법률의 조항 에 따른 권한에 의거하여 행하도 록 규정한다. 그러므로 국회의 조언과 동의를 통하여 다음과 같이 법을 제정한 다.
이 법은 “1999년 외국제품의 반덤핑 및 상계법”이라고 한다.
이 법은 관보에 게재한 날부터 90일이 경과한 날에 시행하도록 한다.
「1964년 덤핑방지법」은 폐지 하도록 한다.
이 법에서 사용하는 용어의 뜻 은 다음과 같다. “피해”란 제3장에 따른 피해를 뜻한다. “국내산업”이란 제4장에 따른 국내산업을 뜻한다. “고려 대상 상품”이란 덤핑이 있거나 보조를 받는다는 혐의가 있는 상품 또는 덤핑이나 보조 보복 수단 회피가 있다는 혐의 가 있는 상품을 뜻한다. “동종 상품”이란 모든 사항에서 고려 대상 상품과 동일한 속성 이 있으나, 해당 상품이 없는 경우, 해당 상품과 가장 유사한 상품을 뜻한다. “거래 단계”란 소비자에게 도달 하기까지의 상품 유통의 여러 구간에서의 각 단계를 뜻한다. “덤핑 마진”이란 통상적인 가치 보다 낮은 외국으로부터의 수출 가격 부분을 뜻한다. “이해관계인”이란 다음 각 항을 뜻한다. (1) 경우에 따라 고려 대상 상 품의 해외 생산자나 해외 수출 업자, 수입업자 또는 회원의 대부분이 고려 대상 상품의 생 산자나 수입업자 또는 수출업 자인 상업 협회 (2) 고려 대상 상품 원산국 또 는 수출 국가의 정부 (2/1) 제71조의1에 따른 상품 조립업자 (3) 국내 동종 상품 생산자 또 는 회원 대부분이 해당 상품 생산자인 상업 협회 (4) 상무부 장관이 고시하는 바에 따른 기타의 사람 “세금”이란 경우에 따라 임시세 나 반덤핑 관세 또는 상계 관세 를 뜻한다. “위원회”란 덤핑 및 보조 검토 위원회를 뜻한다.
관세청의 업무 수행 관련 부분 에 한하여 재무부 장관이 이 법 에 따른 주무 장관이 되도록 하 며, 이 법에 따른 집행을 위하 여 제11조에 따른 부령 제정권 을 갖도록 한다. 상무부 장관이 이 법에 따른 주 무 장관이 되도록 하며, 이 법 에 따른 집행을 위하여 부령 및 고시 제정권을 갖도록 한다. 해당 부령 및 고시는 관보에 게 재를 완료한 때에 시행하도록 한다.
상무부 장관은 이 법의 규정을 위반하거나 모순되지 아니하는 한에서 덤핑 검토, 보조 검토, 피해 검토, 반덤핑 및 상계 검 토, 반덤핑 및 상계 조치 회피 검토, 반덤핑 및 상계 조치 회 피 보복 검토, 수단 재검토와 관련한 원칙과 절차 및 조건과 아울러 이 법과 관련한 특정 조 치를 규정하는 부령 제정권을 갖도록 한다. 합당한 경우, 첫번째 단락에 따 른 해당 부령은 특정한 하나의 사안이 상무부 고시로 제정되어 행할 수 있도록 할 수도 있다.
반덤핑 및 상계와 반덤핑 및 상 계 조치 회피 보복은 국내 산업 의 이익과 소비자 및 공익을 참 고하여 고려하도록 한다.
이 법의 적용 편의를 위하여, 위원회가 적절하다고 판단하는 때에는 대외무역국이 관세청에 어떠한 상품 수입 또는 수출을 등록 작성 조치하거나 수입 또 는 수출과 관련한 특정 정보 수 집 요청을 하도록 할 수도 있 다. 이러한 경우, 관세청은 수입 업자 또는 수출업자가 위원회가 요청하는 바에 따라 특정한 실 정을 신고하도록 정할 권한을 갖도록 하며, 이러한 경우에 대 하여 관련 부분에서 세관 관련 법률을 적용하도록 한다.
위원회에 덤핑이나 보조 보복 검토, 반덤핑 또는 상계 조치 회피 보복 검토 요청서를 제출 한 사람, 수입업자, 상품 조립업 자, 해외 생산자 또는 외국으로 부터의 수출업자는 경우에 따라 임시 조치 규정이나 반덤핑 또 는 상계 관세 규정, 반덤핑 또 는 상계 관세 징수 확대, 세금 재검토 또는 세금 환급의 기초 로 활용하는 진상 관련 상세 사 항에 대하여 상무부가 고시하는 원칙과 절차 및 조건에 따라 요 청서를 제출할 수 있다. 첫번째 단락에 따른 요청서는 임시 조치나 반덤핑 또는 상계 관세 규정, 반덤핑 또는 상계 관세 징수 확대, 세금 재검토 또는 세금 환급이 효력을 발생 한 날부터 1개월 이내에 제출하 도록 한다.
이 법에서 어떠한 사람에게 반 덤핑 또는 상계 검토, 반덤핑 또는 상계 수단 회피 보복 검 토, 협정 체결, 수단 재검토, 세 금 환급과 아울러 어떠한 정보 자료를 요청하도록 하는 경우, 상무부가 해당 조치에 관한 책 임에 대하여 적합한 바에 따른 수수료 또는 비용을 청구가 있 도록 하는 고시를 제정할 권한 을 갖도록 한다.
이 법에서 다르게 규정한 것을 제외하고, 이 법에 따른 세금 환급 또는 세금 납부 담보는 부 령에서 정하는 원칙과 절차를 따르도록 한다.
국내 산업에 피해를 야기하는 덤핑은 보복이 가능할 수 있는 불법 행위이다.
이 법에 따른 덤핑은 거래 이익 을 위하여 동종 상품의 정상 가 격보다 낮은 수출 가격으로 태 국에 수출하는 것을 말한다.
수출 가격이란 실제로 지불하였 거나 지불이 있어야 하는 바에 따라 수출국에서 태국으로 수출 하는 가격이다. 수출 가격이 밝혀지지 아니하거 나, 당사자 사이의 연대 또는 이익 보상 제공으로 인하여 그 러한 수출 가격을 신뢰할 수 없 는 경우, 독립적 구매자에게 처 음 재판매한 해당 상품 가격에 서 수출 가격을 찾아 산정하도 록 하나, 독립적 구매자에게 해 당 상품의 재판매가 이루어지지 아니하였거나, 수입하는 때에 있는 상태에 따라 재판매를 하 지 아니한 경우에는 해당 경우 에 적합한 한가지 원칙에 따라 수출 가격을 산정하도록 한다. 두번째 단락에 따른 경우, 수출 가격 산정은 각종 비용 및 요금 과 아울러 세금 및 수입 및 재 판매 사이에 발생한 취득 이익 을 공제하도록 한다.
정상 가격은 수출국에서 국내 소비를 위하여 판매하는 동종 상품의 통상적 거래에서 독립적 구매자가 지불하거나 실제 지불 이 있어야 하는 가격으로, 수출 국에서 태국으로 수출하는 상품 량의 5% 이상인 적당량에서 해 당 상품의 판매에서 고려하여야 하나, 만약 해당 상품량에서 고 려하는 판매 가격이 수출국 시 중 가격이라면 그보다 낮은 판 매량을 검토의 원칙으로 정립할 수도 있다. 첫번째 단락에 따른 가격이 드 러나지 아니하거나, 당사자 사 이의 연대 또는 이익을 보상으 로 제공하여 그러한 수출 가격 을 신뢰할 수 없거나, 수출군의 시장이 특수한 형태를 가지고 있어 적절한 비교 가격을 찾을 수 없는 경우, 다음 각 항의 어 느 하나에 해당하는 가격 중 정 상 가격을 고려하도록 한다. (1) 만약 그 가격이 수출국 시 장의 가격에 대하여 표시한다 는 경청 가능한 이유가 있다 면, 수출국에서 적절한 제삼국 으로 수출하는 동종 상품의 통 상 거래에서의 수출 가격 (2) 원산국의 생산 원가를 처 리와 판매 비용 및 기타 비용 과 아울러 발생하는 각종 이윤 을 합산하여 산정한 가격 첫번째 단락에 따른 가격이나 두번째 단락 제(1)항에 따른 가 격이 생산 원가와 처리, 판매 비용 및 기타 비용을 합한 것보 다 낮은 경우, 충분한 판매량을 가지고 적합한 기간 동안의 해 당 상품 판매를 검토하였을 때, 만약 해당 가격이 적절한 시간 내에 원금을 반환할 수 없을 것 이라고 나타난다면, 해당 가격 은 정상 가격 참고에 적용할 수 없는 거래 가격이라고 보도록 한다. 다만, 해당 가격이 반덤핑 고려에서 나타나는 단위 당 중 량 평균 생산 원가보다 높은 것 은 제외한다.
수출국의 경제 체계가 제15조에 따른 정상 가격을 구하는 시장 메커니즘을 적용하지 아니하는 경우, 시장 메커니즘을 적용하 는 경제 체계를 가진 비교하기 적합한 제삼국의 현재 가격 자 료를 참고하여 검토하도록 하 나, 만약 적합한 제삼국을 찾을 수 없다면, 태국에서 판매되는 동종 상품의 가격 또는 경우에 맞는 다른 근거로부터 검토하도 록 한다.
원산국이 아닌 다른 나라로부터 의 수출에 의하여 태국으로 상 품이 수입되는 경우, 해당 수출 국의 현재 가격 자료를 제15조 에 따른 정상 가격을 구하는 원 칙으로 적용하도록 하나, 만약, 특히 해당 상품이 단지 수출국 을 경유하는 것일 뿐이거나, 해 당 상품이 수출국에서 생산되지 아니하거나, 수출국에 비교할 가격이 존재하지 아니하는 합당 한 이유가 있는 경우, 원산국의 가격을 정상 가격을 구하는 원 칙으로 적용할 수도 있다.
덤핑 마진은 공정하게 비교 검 토하도록 하며, 가격 비교에 대 한 영향이 있는 모든 차이점에 대하여 함께 고려하여 동일한 거래 단계 및 동시간 상에서 진 행하도록 한다. 수출 가격 및 정상 가격이 동일한 거래 단계 또는 동시간 상에 있지 아니하 는 경우, 가격 비교에 영향을 미치는 다른 각종 요소들을 줄 이도록 한다. 첫번째 단락의 적용 하에서, 단 위 당 덤핑 마진을 구하는 방법 은 다른 방법을 적용할 합당한 이유가 있는 것을 제외하고 다 각 항 중에서 어느 하나를 이행 하도록 한다. (1) 중량 평균 정상 가격과 중 량 평균 수출 가격 간의 비교 (2) 정상 가격과 각 거래의 평 균 수출 가격 간의 비교 (3) 태국 국내 시장으로 수출 하는 가격이 각 구매자나 수출 지역 또는 수출 기간 사이에 주요 내용에서 차이점이 있으 며, 제(1)항 또는 제(2)항에 따 른 방법이 덤핑의 실상을 표시 할 수 없다고 나타나는 경우, 중량 평균 정상 가격과 각 거 래의 평균 수출 가격을 비교하 도록 한다. 덤핑 마진은 상무부가 고시하는 원칙과 절차에 따른 견본 추출 법을 적용할 수도 있다.
만약 규정이 다르게 보이도록 표시하지 아니하였다면, 이 법 에 따른 피해는 다음 각 항 중 어느 하나를 뜻한다. (1) 국내 산업에 발생하는 주 요 피해 (2) 국내 산업에 발생할 수 있 는 주요 피해 (3) 국내 산업 형성 또는 발전 에 대한 중대한 지연 장애
제19조제(1)항에 따른 국내 산 업에 발생하는 주요 피해 유무 에 대한 검토는 다음 각 항의 경우와 관련하여 뒷받침이 되는 증거가 있어야 한다. (1) 태국 국내 시장에서의 덤 핑 상품의 양과 동종 상품의 가격에 미치는 덤핑의 결과 (2) 국내 산업에 대한 해당 덤 핑의 영향 1개국 이상의 수출국으로부터 어떠한 상품 덤핑이 동시에 반 덤핑 검토 중에 있는 경우, 만 약 해당 각국의 덤핑 마진 및 수입량이 제28조에 따른 최저 한도 이상의 숫자라면, 제19조 제(1)항에 따른 피해 검토는, 만 약 국내 시장에의 덤핑 상품 간 및 덤핑 상품과 동종 상품 간의 경쟁 정황에 대한 적합성이 있 다면, 해당 각 국으로부터의 수 입의 결과를 산정할 수도 있다.
제19조제(1)항에 따른 피해 검 토에서는 덤핑 상품과 국내 산 업에 대한 피해 사이의 인과관 계와 관련한 모든 증거를 통하 여 검토하여야 하며, 덤핑 상품 으로 인한 결과 이외에도 국내 산업에 대한 피해를 야기하였다 고 드러나는 여러가지 요소들로 인한 결과를 동시에 검토하여야 한다. 해당 요소들은 덤핑 가격 으로 판매하지 아니한 수입 상 품의 양과 가격, 수요 감소, 소 비 형태 변경, 무역 독점, 국외 생산자와 국내 생산자 간의 경 쟁, 기술측면의 발전, 수출 효율 성 및 생산 능력을 포함하도록 한다.
제19조제(2)항에 따른 국내 산 업에 발생할 수 있는 주요 피해 유무에 대한 검토는 단지 혐의 나 추정 또는 타당성을 벗어나 는 가능성이 아닌 뒷받침이 되 는 실정이 필요하며, 변화한 정 황에서 그러한 덤핑이 명확하게 피해를 일으킬 수 있거나, 일으 키기 직전이거나, 명확하게 증 가하는 덤핑 상품을 먼저 방어 하지 아니한다면 주요 피해를 일으킬 수도 있다는 것을 보여 줄 수 있어야 한다. 이와 관련 하여 다음 각 항의 요소에서 검 토하도록 한다. (1) 해당 상품 수입의 막대한 증가가 있을 가능성을 나타내 는 덤핑 상품의 명백한 증가 비율 (2) 해당 상품 수입의 막대한 증가가 있을 가능성을 나타내 는 수출업자의 역량의 명백한 증가 및 자유로운 상품 방출, 이와 관련하여 증가하는 수출 을 수용할 수 있는 다른 수출 시장의 존재를 고려하도록 한 다. (3) 국내 시장에서의 동종 상 품의 가격 억제 또는 감소가 되는 덤핑 상품 가격의 영향의 명확성 (4) 덤핑 상품의 재고량
제19조제(3)항에 따른 국내 산 업 형성 또는 발전에 대한 중대 한 지연 장애 유무에 대한 검토 는 주요 지연을 초래하거나 국 내 산업의 형성 또는 발전 가능 성 또는 기간을 포함하는 주요 지연을 초래할 것이라는 예상을 가능하도록 하는 사실관계가 있 어야 한다.
이 법에 따른 국내 산업이란 다 음 각 항의 어느 하나에 해당하 는 경우를 제외하고 해당 동종 제품의 국내 총생산량의 반을 초과하는 총생산량을 차지하는 국내 동종 상품 생산자이다. (1) 만약 어떠한 동종 상품 생 산자가 덤핑 상품 수입업자이 거나, 덤핑 상품 수입업자와 관련성이 있거나, 외국 덤핑 상품 수출업자인 경우, 해당 생산자는 국내 산업의 일부로 보지 아니할 수도 있다. (2) 국가 영역 내에서 동종 상 품의 시장이 1개를 초과하는 시장으로 나뉘는 경우, 만약 한 시장의 동종 상품 생산자가 본인의 상품 전부 또는 거의 전부를 해당 시장에서 판매하 며, 국내 다른 동종 상품 생산 자가 해당 시장의 수요를 충족 하는 해당 상품을 그 시장에 공급하지 아니한다고 드러난다 면, 각 시장의 동종 상품 생산 자는 별도의 국내 산업으로 볼 수도 있다. 관련 결과가 해당 생산자에 대 하여 그러한 관련성을 갖지 아 니하는 다른 생산자와 상이한 행위를 하도록 하는 원인이 된 다고 믿거나 의심할 이유가 있 는 것으로서, 직접적이거나 간 접적인 수단에 관계없이 만약 어느 한 측이 상대측을 통제할 수 있거나, 양측이 제삼자에 의 하여 통제되거나, 양측이 함께 제삼자를 통제한다고 드러난다 면, 생산자는 첫번째 단락 제(1) 항에 따른 덤핑 상품 수입업자 또는 외국 덤핑 상품 수출업자 와 관련성이 있다고 보도록 한 다. 이와 같은 경우, 만약 어느 한 측이 다른 한 측을 억제 또 는 지휘할 법적 또는 집행 측면 의 지위에 있다면, 첫번째 측이 두 번째 측을 통제 가능하다고 보도록 한다. 첫번째 단락 제(2)항에 따른 시 장 구분이 있는 경우, 비록 국 내 산업 대부분이 피해를 입지 아니하였다고 하더라도, 피해는 해당 시장에서 발생한 결과에 한하여 검토하도록 하며, 특별 히 해당 시장에서의 소비를 위 하여 공급된 덤핑 상품에 대한 반덤핑 관세를 부과할 수 있다. 다만, 만약 실제로 해당 시장에 서의 소비를 위하여 공급된 덤 핑 상품에 한하는 반덤핑 관세 부과가 집행 불가능하거나, 덤 핑 상품 수출업자가 제44조에 따른 정당한 기간 내에 합당한 합의를 제안하지 아니하는 때에 는 태국 국내에 수입된 전체 상 품에 대하여 반덤핑 관세를 부 과할 수도 있다.
이 장에 규정한 것 이외의 반덤 핑 검토는 부령에서 정하는 원 칙과 절차를 따르도록 한다.
핵심 및 내용에 의하여 비밀을 유지하여야 하거나, 해당 정보 자료 제공자가 비밀 유지를 요 청한 정보 자료에 대해서는 검 토가 해당 정보 자료를 공개하 도록 하는 것이 되는 행위를 하 지 아니하여야 한다. 정보 자료 제공자가 비밀 유지 를 요청한 정보 자료에 대한 공 개는 사전에 해당 제공자에게 동의를 받아야 하며, 검토하는 경우에는 검토하는 데에 참고하 기 위하여 정보 자료 제공자에 게 공개 가능한 요약본을 작성 하도록 요청하여야 한다. 만약 기한 내에 해당 정보 자료 제공 자가 그러한 요약본을 작성하지 아니하였으며, 제공한 정보 자 료 공개를 허락하지 아니하였다 면, 해당 정보 자료는 검토에 참고하기 위한 자료로 받아들이 지 아니할 수도 있다.
이해관계인이 증거 제시를 거부 하거나, 기한 내에 그러한 증거 를 제시하지 아니하거나, 증거 를 획득하기 위한 협조를 제공 하지 아니하거나, 반덤핑 검토 절차를 방해하는 경우, 검토는 기존 사실관계에 한해서만 받아 들이거나 해당자에게 도움이 되 지 아니하는 방식을 받아들일 수도 있다.
만약 덤핑 마진이 부령에서 정 하는 기준보다 액수가 적거나 덤핑 상품 수입량이 부령에서 정하는 기준보다 적다면, 반덤 핑 검토는 종료하도록 한다.
반덤핑을 검토하는 때에는, 경 우에 따라 대외무역국 또는 위 원회가 검토와 관련한 해명이나 증거의 진상 조사를 위한 조치 를 실시한다. 그러한 진상 조사는 반덤핑 검 토 절차의 특정 단계에서 진행 하며, 태국이나 수출국 또는 관 련국에서 실시할 수도 있다.
덤핑 및 피해 조사 결과와 관련 한 위원회의 최종 단계 결정을 공고하기 전에 대외무역국은 이 해관계인에게 이해관계인의 이 익을 방어하는 이의 제기 기회 를 제공하기 위하여 결정 검토 의 근거로 사용한 자료 및 사실 관계에 대하여 이해관계인에게 알리도록 한다. 이와 관련하여 그러한 이의 제기를 위한 적절 한 기간을 제공하여야 한다.
제39조에 따른 덤핑 및 피해 조 사 공고를 완료한 때에, 만약 상황이 임시 조치 적용일 조치 전부터 최종 단계에서 반덤핑 관세를 부과하여야 할 수도 있 다고 믿을 만한 이유가 있다면, 위원회는 정하는 기간에 따라 검토된 수입품에 대하여 이 법 에 따른 담보를 요구하도록 세 관에 요청할 수 있다. 이와 관 련하여 세관은 위원회가 요청하 는 액수에 따라 담보를 요구할 수 있을 수도 있다.
대외무역국 또는 제33조에 따른 개인이나 단체의 요청이 있는 때에 반덤핑 검토 절차를 개시 하도록 한다.
개인 또는 단체는 국내 산업의 명의로 대외무역국에 위원회가 반덤핑 검토 조치를 하도록 하 기 위한 신청서를 제출할 수 있 을 수도 있다. 첫번째 단락에 따른 신청은 지 지하는 부분 및 반대하는 부분 을 취합하여 의견을 제시한 사 람의 동종 제품 생산량의 과반 의 생산량이 있는 국내의 동종 제품 생산자로부터 지지를 받은 때에 국내 산업의 명의로 제출 한 것으로 볼 수 있다. 이와 관 련하여 경우를 불문하고, 지지 하는 측의 생산량이 국내 동종 제품 총생산량의 1/4 이상이어 야 한다. 첫번째 단락에 따른 신청서 제 출은 상무부가 고시하는 원칙과 절차, 기간 및 조건을 따르도록 한다.
만약 제33조에 따른 신청서의 상세 사항 또는 근거가 완벽 또 는 정확하지 아니하다면, 대외 무역국은 신청자에게 기한 내에 완벽 또는 정확하게 조치하도록 통지하도록 한다. 신청서의 상세 사항 및 근거 자 료를 완벽하고 정확하게 갖춘 때에는 검토를 위하여 대외무역 국이 위원회에 신청서를 제출하 도록 한다.
위원회가 제32조에 따른 신청서 접수를 완료한 때에는 대외무역 국이 관련 수출국 정부에 해당 신청에 대하여 통보하도록 한 다.
신청자는 신청을 취소할 수 있 으나, 만약 제39조에 따른 덤핑 및 피해 공고가 완료된 때에는 위원회가 반덤핑 검토를 중지하 거나 검토 조치를 계속할 수도 있다.
위원회가 신청이 덤핑 및 피해 와 관련한 근거를 갖추었다고 결정하는 경우, 대외무역국은 지체없이 후속 조사를 진행하도 록 한다. 만약 위원회가 해당 신청이 덤 핑 또는 피해와 관련한 근거를 갖추지 아니하였다고 판단한다 면, 대외무역국은 지체없이 해 당 판단을 신청자에게 알리도록 한다.
만약 어떠한 국가의 정부가 태 국에 수입되어 판매된 타국으로 부터의 덤핑 상품이 그 국가의 산업에 피해를 초래하였다는 이 의를 제기하였으며, 위원회가 해당 이의가 제기된 바에 따른 반덤핑 검토 조치를 하는 것이 합당하다고 판단하는 결정을 한 다면, 대외무역국은 이 장의 규 정을 준용하여 위원회의 결정에 따른 후속 조치를 하도록 하나, 해당 반덤핑 검토는 세계무역기 구의 사전 승인을 받아야 한다. 대외무역국이 합당하다고 보거 나, 국내 산업이 타국으로부터 수출 상품이 제삼국에 덤핑이 되었으며 국내 산업에 피해를 초래하였다고 이의를 제기하였 으며, 대외무역국이 해당 이의 제기가 근거를 갖추었다고 보는 때에는 대외무역국은 공식적으 로 해당 국가에 반덤핑 검토 후 속 조치 요청을 이행하도록 한 다. 첫번째 단락 및 두번째 단락에 따라 조치하는 원칙과 절차는 부령에서 정하는 바를 따르도록 한다.
반덤핑 검토를 하는 경우, 대외 무역국이 반덤핑 및 피해 핵심 조사 권한 및 책임자가 되도록 하며, 관보에 덤핑 및 피해 조 사 공고를 하여 개시하고, 적절 하다고 판단하는 바에 따라 공 중에 알리기 위하여 태국어와 영어로 일간지 또는 다른 수단 을 통하여 광고하도록 한다. 덤핑 및 피해 조사 공고는 다음 각 항의 사항을 갖추어야 한다. (1) 상품 명시 (2) 수출국과 관련국 (3) 진상 요약 (4) 상세 사항인 정보 자료 및 관련 수수료 (5) 이해관계인에게 진상 및 의견을 서면으로 제출하도록 하는 기간 (6) 이해관계인에게 덤핑 및 피해 조사 관련 구두 입장 표 명 요청 의사를 통지하도록 하 는 기한 대외무역국이 덤핑 및 피해 조 사 공고를 신청자에게 통보하도 록 하며, 외국 수출업자나 수입 업자 또는 해당자의 대리인의 주소지를 알고 있는 경우, 대외 무역국은 서면으로 해당자에게 그러한 고시를 알리도록 한다.
덤핑 및 피해 조사 조치를 완료 한 때에는 대외무역국이 조사 결과를 요약하고, 후속 결정 검 토를 위하여 위원회에 의견을 제출하도록 한다.
위원회가 덤핑 및 피해가 있다 고 예비 결정을 하는 경우, 만 약 그러한 당시에 국내 산업에 대한 피해를 방지하여야 하는 필요성이 있다고 드러난다면, 위원회는 잠정 관세 부과 또는 해당 잠정 관세 납부 담보 요구 고시를 통하여 임시 조치를 적 용할 수도 있다. 첫번째 단락에 따른 잠정 관세 는 예비 결정이 있는 당시에 산 정하는 덤핑 마진 이하이어야 한다. 임시 조치 적용이 있는 경우, 관세 관련 법률 및 관세율 관련 법률의 규정을 잠정 관세 부과 에 해당 법률에 따른 수입세와 동일하게 적용하도록 하며, 해 당 잠정 관세 납부 담보에서 강 제하는 금전을 포함하여 징수한 잠정 관세는 제51조 및 제52조 를 집행하기 위하여 해당 조항 을 집행하여야 하는 원인이 소 멸될 때까지 보관해 두도록 한 다.
임시 조치는 덤핑 및 피해 조사 공고일부터 60일 전에는 적용할 수 없다. 임시 조치는 필요한 기간 및 다 음 각 항의 원칙에 따라 적용하 여야 한다. (1) 통상적인 경우 4개월 이상 징수하도록 정할 수 없다. (2) 만약 적절한 비율이 있는 외국 수출업자의 요청이 있다 면, 위원회는 잠정 관세 징수 기간을 4개월 이상, 6개월 이 하로 연장할 수도 있다. (3) 만약 덤핑 마진 부분보다 낮은 관세 부과가 발생한 피해 처리에 충분한지의 여부에 대 한 쟁점 검토가 있는 경우, 위 원회는 잠정 관세 징수 기간을 제(1)항에 따른 경우에는 4개 월 초과, 6개월 이하의 기간 또는 제(2)항에 따른 경우에는 6개월 초과 9개월 이하의 기 간으로 연장할 수도 있다.
만약 외국 수출업자와 대외무역 국이 상호간 가격 변경 또는 덤 핑 가격의 상품 수출 중지와 관 련한 합의가 가능하다면, 반덤 핑 검토는 해당 외국 수출업자 에 대한 임시 조치를 적용하지 아니하거나, 반덤핑 관세를 부 과하지 아니하고 종료한다. 대외무역국은 그러한 합의가 덤 핑 피해를 처리하기에 충분한 경우에 대하여 합의할 수 있으 나, 해당 합의는 덤핑 마진 처 리를 위하여 필요한 가격보다 높은 가격을 추가하도록 정할 수 없다. 합의는 위원회의 승인을 받은 때에 발효된다.
합의는 위원회가 예비 결정을 완료한 후에 이행할 수 있다. 그러한 합의는 외국 수출업자가 제의하거나, 대외무역국이 제의 할 수도 있다. 대외무역국은 정책적인 이유 또 는 특정한 이유로 외국 수출업 자가 제의하는 합의를 거부할 수도 있으며, 만약 이유를 알릴 수 있는 사안이라면 외국 수입 업자에게 이를 알리도록 한다.
외국 수출업자가 합의를 제의하 지 아니하거나 대외무역국의 합 의 제의를 거부하는 것을 이유 로 삼아 해당자에게 손해가 되 는 측면에서 검토되지 아니하여 야 한다.
대외무역국과 합의한 외국 수출 업자는 정하는 기간에 따라 정 보 자료를 제공하여야 하며, 대 외무역국이 그러한 정보 자료의 진상을 조사할 수 있도록 동의 하여야 한다. 만약 합의에 대한 위반이 있다면, 임시 조치에서 정한 기존 근거를 적용하며, 반 덤핑 검토 후속 절차를 진행할 수 있다.
합의가 성립되었다고 하더라도, 만약 외국 수출업자가 합의에 대하여 그와 같이 의도하거나, 일부 외국 수출업자와 합의한 경우이거나, 합의 위반이 있는 때이거나, 또는 기타 이유로 위 원회가 합당하다고 판단한다면 합의가 있다고 하더라도 위원회 가 반덤핑 검토 절차를 계속 진 행할 수도 있다. 첫번째 단락에 따른 경우, 반덤 핑 결정이 완료되면, 위원회가 다음 각 항과 같은 최종 결정을 한다. (1) 덤핑 또는 피해가 발생하 지 아니하였다면 그러한 합의 에 따른 이행을 중지하도록 한 다. 다만, 만약 그러한 합의를 이행하지 아니하면 해당 시기 에 덤핑 또는 피해가 발생할 수 있다고 밝혀진다면, 위원회 는 적절한 기간에 따라 그러한 합의를 계속 이행하도록 결정 한다. (2) 덤핑 및 피해가 있다면 계 속하여 그러한 합의에 따라 이 행하도록 한다. (3) 합의 위반으로 인한 덤핑 및 피해가 있다면, 위원회는 잠정 조치 고시일 전부터 90 일을 초과하지 아니하여 반덤 핑 관세를 징수하도록 할 수도 있다. 다만, 그러한 합의 위반 전에 수입된 반덤핑 상품에는 적용할 수 없다.
제8장의 규정을 반덤핑 중지를 위한 합의에 준용하도록 한다.
위원회가 반덤핑 관세를 부과하 도록 하는 최종 결정을 하는 경 우, 그러한 반덤핑 관세율은 피 해 처리를 위한 것에 한하여 정 하도록 하며, 덤핑 마진을 초과 할 수 없다. 반덤핑 관세는 덤핑이 있는 각 외국 수출업자에게 차별없이 적 정하게 정하여야 한다. 다만 제 5장제5절에 따른 덤핑 중지를 위한 합의에 따른 이행에 해당 하는 것은 제외한다. 어떠한 상품에 대한 반덤핑 관 세 부과가 있는 경우, 관세 관 련 법률 및 관세율 관련 법률의 규정을 해당 관세 부과에 해당 법률에 따른 수입세로 적용하도 록 하며, 징수한 반덤핑 관세는 제59조에 다른 이행을 위하여 해당 조에 따라 집행을 하여야 하는 원인이 소멸할 때까지 보 관해 두도록 한다.
수입업자가 세금을 미납하였거 나 반덤핑 관세를 완납하지 아 니하였거나, 이와 같은 세금을 체납하는 경우, 세금과 추징금 및 벌금 부과, 물품 압류, 재산 압수 또는 압류, 경매 및 남은 물품 관련 조치와 아울러 추징 금 할인, 벌금 감면, 반덤핑 관 세와 추징금 및 벌금 경감은 관 세청의 권한이 되도록 한다. 수입업자가 첫번째 단락에 따른 관세청의 세금과 추징금 및 벌 금 산정, 추징금 할인 및 벌금 감면에 동의하지 아니하는 경 우, 관세 관련 법률에 따라 이 의 검토 위원회에 이의를 제기 하도록 한다. 관세 관련 법률 및 관세율 관련 법률 규정을 첫번째 단락 및 두 번째 단락에 따른 집행에 준용 하도록 한다. 관세 관련 법률에 따른 뇌물 또 는 포상금과 관련한 부분의 규 정은 이 조에 따른 반덤핑 관세 에서 징수할 수 있는 세금과 추 징금 및 벌금에는 적용하지 아 니한다.
만약 이후에 반덤핑 관세를 납 부한 상품이 국외로 반송되었다 고 밝혀진다면, 수입업자는 세 관에 반덤핑 관세 환급 신청서 제출이 가능할 수 있으며, 반덤 핑 관세 환급 검토는 관세청의 권한이 되도록 한다. 이와 관련 하여 「2017년 관세법」 제28 조를 관련 처벌 규정 및 벌금 부과 관련 부분에 준용하도록 한다.
제18조 세번째 단락에 따른 견 본 추출 방법을 적용하여 덤핑 마진을 구하는 경우, 반덤핑 관 세는 견본으로 추출된 각 개인 에 적합하게 규정하도록 한다. 견본으로 추출되지 아니한 사람 에 대해서는 덤핑 마진의 가중 평균을 초과하지 아니하도록 정 하도록 하나, 만약 견본으로 추 출되지 아니한 사람이 대외무역 국이 정한 기간 내에 본인과 관 련한 사실관계를 모두 정확하게 제출하였다면, 위원회는 해당자 에 대하여 적절한 반덤핑율을 정하도록 한다. 다만, 각 개인에 대한 반덤핑율 규정이 과도한 부담이 되며, 그러한 사실 관계 를 제출하는 사람이 많기 때문 에 제54조에 따른 기한 내에 조 사 완료가 불가능할 수 있는 것 은 예외로 하여, 그러한 가중평 균을 초과하지 아니하는 반덤핑 관세율을 정할 수도 있다.
만약 사전에 잠정 조치를 적용 하지 아니한다면 제19조제(1)항 에 따른 피해를 초래할 수 있 는, 제19조제(1)항에 따른 피해 또는 제19조제(2)항에 따른 피 해가 있는 경우, 위원회는 잠정 조치의 적용이 있는 때부터 상 무부 장관이 고시하는 원칙과 절차에 따라 반덤핑 관세를 부 과하도록 정할 수도 있다. 만약 첫번째 단락에 따라 위원 회가 정하는 반덤핑 관세가 잠 정 관세율보다 높다면 차이가 발생한 부분에 대해서는 징수할 수 없다. 다만, 만약 반덤핑 관 세가 잠정 관세율보다 낮다면 초과 부분 관세 차액은 환급하 도록 한다.
제19조제(2)항 또는 제(3)항에 따른 피해가 있는 경우, 위원회 는 경우에 따라 제19조제(2)항 및 제(3)항에 따른 피해가 있다 는 최종 결정이 있는 날부터 반 덤핑 관세를 부과하도록 정하도 록 하며, 잠정 조치를 적용하여 부과한 세금 또는 각종 담보는 지체없이 반환하도록 한다. 위원회가 덤핑 또는 피해가 없 다는 최종 결정을 하는 경우, 잠정 조치에 따라 징수한 모든 세금과 담보는 지체없이 반환하 도록 한다.
제31조에 따른 조치를 적용하는 경우, 만약 다음 각 항과 같은 사실관계가 밝혀진다면, 위원회 는 잠정 조치를 적용한 날부터 90일을 초과하지 아니하는 조사 공고일 이후부터 반덤핑 관세를 부과하도록 정할 수도 있다. (1) 해당 상품의 덤핑이 있었 으며 피해가 발생하였거나, 외 국 수출업자가 덤핑을 하였으 며 피해가 발생할 수 있다는 것을 수입업자가 인지하였거나 당연히 인지하여야 하는 경우 (2) 단기간 내에 다수의 덤핑 제품 수입이 가속화하여 피해 가 발생하였으며, 만약 잠정 조치 적용일 전에 반덤핑 관세 를 부과하도록 규정하지 아니 한다면, 관련 기간과 수입량 및 정황이 반덤핑 관세 적용 효과를 약화시킬 것이라는 것 을 표시하는 경우 첫번째 단락에 따른 반덤핑 관 세를 부과하기 전에 수입업자에 게 의견 제시 기회를 제공하여 야 한다.
반덤핑 절차의 개시부터 반덤핑 관세를 부과하도록 하는 최종 결정 또는 반덤핑 관세를 부과 하지 아니하며, 피해가 없다는 최종 결정이 있도록 하는 조치 까지의 이행은 조사 공고일부터 1년 이내에 완료하도록 한다. 다만, 불가피한 이유가 있는 경 우에는 6개월 이하의 기간을 추 가로 연장할 수 있도록 한다.
제6장에 따른 반덤핑 관세는 덤 핑 및 피해가 있는 기간 동안에 는 계속 적용하도록 한다.
반덤핑 관세 계속 적용의 필요 성에 대한 검증은 위원회가 정 당하다고 판단한 때 또는 1년 이상 반덤핑 관세 적용 이후 이 해관계인의 요청이 있는 때에 행할 수 있도록 하며, 그러한 요청은 이해관계인이 반덤핑 관 세 부과 중지 또는 변경을 위하 여 위원회가 검증을 하도록 할 수 있으나, 그 기간 동안 해당 관세 적용을 검증하도록 하기에 합당한 반덤핑 또는 피해와 관 련한 충분한 증거를 제출하여야 한다. 검증은 신속히 검토되어야 하 며, 검증이 있도록 공고한 날부 터 1년 이내에 이행을 완료하여 야 한다. 검증은 해당 기간 동안의 반덤 핑 관세 부과에는 영향을 미치 지 아니한다.
반덤핑 관세는 적용일 또는 덤 핑 문제 및 피해 문제 검증이 있는 마지막 검증 결과 적용일 부터 5년을 초과하지 아니하는 기간 동안 부과할 수 있도록 한 다. 다만, 위원회가 검증을 하도 록 하는 것이 마땅하다고 판단 하거나, 개인 또는 단체가 국내 산업의 명의로 상무부가 정하는 기간 내에 검증 신청을 하였으 며, 위원회가 반덤핑 관세 부과 중지가 지속적인 덤핑 및 피해 를 초래하거나 재발할 것이라고 결정하는 것은 제외한다. 이와 관련하여 검증은 검증이 있도록 공고한 날부터 1년 이내에 이행 을 완료하여야 한다. 검증은 첫번째 단락에 따른 반 덤핑 관세 미적용 기간 동안의 세금 부과에 대해서는 영향을 미치지 아니하나, 만약 검증이 반덤핑 관세 적용 기간 후에도 완료되지 아니하였다면, 위원회 는 검증 결과가 적용될 때까지 해당 기간 동안 세금 납부 담보 를 요구하도록 한다. 위원회가 반덤핑 관세 부과 중 지가 지속적인 덤핑 및 피해를 초래하거나 재발할 것이라고 결 정하는 경우, 두번째 단락에 따 른 세금 납부 담보 요구일부터 반덤핑 관세를 부과하도록 한 다. 위원회가 관세 부가 중지 결정 을 하는 경우, 검증 기간 동안 제공된 모든 담보는 지체없이 반환하도록 한다.
덤핑 조사를 위한 자료 적용 기 간 동안에는 덤핑 상품을 수출 하지 아니하였으나, 해당 기간 이후에 덤핑 상품을 수출한 외 국 수출업자 또는 외국의 상품 생산업자는 본인이 그러한 반덤 핑 과세 부과 적용 대상인 다른 외국 수출업자나 외국의 상품 생산업자와 관련이 없다는 것을 표시하여, 본인에 대한 개별 반 덤핑 조세 부과 검증 신청이 가 능할 수도 있다. 직접적이거나 간접적인 수단에 관계없이, 만약 어느 한 측이 다른 한 측을 통제할 수 있거 나, 양측이 제삼자에 의하여 통 제되거나, 양측이 함께 제삼자 를 통제한다고 드러난다면, 검 증 신청자에 대해서는 첫번째 단락에 따른 다른 외국 수출업 자 또는 외국의 상품 생산업자 와 관련성이 있다고 보도록 한 다. 만약 어느 한 측이 다른 한 측을 억제 또는 지휘할 법적 또 는 집행 측면의 지위에 있다면, 첫번째 측이 두 번째 측을 통제 가능하다고 보도록 한다. 첫번째 단락에 따른 검증 기간 동안에는 해당 신청자에 의하여 수입되거나 생산된 상품에 대하 여 반덤핑 과세를 부과할 수 없 다. 다만, 위원회가 관세청에 납 세 담보를 요구하도록 요청할 수도 있다. 이와 관련하여 관세 청은 위원회가 요청한 액수에 따라 납세 담보 요구권을 갖도 록 한다. 위원회가 덤핑이 있다고 결정하 는 경우, 검증 공고일부터 소급 하여 반덤핑 관세를 부과하도록 하나, 만약 위원회가 덤핑이 없 다고 결정한다면, 요구한 납세 담보를 지체없이 반환하도록 한 다. 검증은 검증 공고일부터 1년 이 내에 이행을 완료하여야 한다.
만약 수입업자가 덤핑 마진이 없거나, 적용 반덤핑 관세보다 덤핑 마진이 낮다는 것을 증명 할 수 있다면, 수입업자는 특정 시기의 반덤핑 관세 환급을 신 청할 수도 있다. 첫번째 단락에 따른 세금 환급 은 세금 납부일부터 6개월 이내 에 대외무역국에 신청서를 제출 하도록 한다. 세금 환급 검토는 위원회가 신 청서를 접수한 날부터 1년 이내 에 이행을 완료하도록 한다. 다 만 기간 연장이 필요한 경우, 추가로 6개월 이하의 기간을 연 장하도록 한다.
제2장과 제3장, 제4장, 제5장의 제1절, 제2절, 제3절 및 제6장 의 규정을 이 장에 따른 검증 및 세금 환급 신청에 준용하도 록 한다.
제49조에 따른 위원회의 최종 결정이나 제56조와 제57조, 제 58조 및 제59조에 따른 검증 신청에 대한 위원회의 결정에 불만이 있는 사람은 그러한 결 정을 통지받은 날부터 30일 이 내에 해당 결정에 대하여 지식 재산 및 국제무역 법원에 항고 할 수 있도록 한다. 첫번째 단락에 따른 항고는 이 법에 따른 세금 부과 또는 환급 을 완화하는 이유가 되지 아니 한다. 다만 지식재산 및 국제무 역 법원이 다르게 명령하는 것 은 예외로 한다.
이 장에서 사용하는 용어의 뜻 은 다음과 같다. “정부”란 원산국 또는 태국에 상품을 수출한 국가의 정부를 말하며, 국가 기관을 포함하여 말하도록 한다. “기업”이란 기업이나 산업 또는 기업 단체 또는 산업 단체를 말 한다.
이 법에 따른 보조는 정부의 다 음 각 항에 해당하는 행위로 인 한 이익을 받는 것이다. (1) 다음 각 호의 어느 하나를 포함하여 뜻하는 재정적 지원 제공 (ㄱ) 금전 제공, 대출 제공, 투자 참여와 같은 이체 관 련 행위 또는 재정 능력 제고나 대출 보증과 같은 부채 감소와 관련한 특정 행위 (ㄴ) 세액 공제 제공이나 기 타 세금 측면의 장려책과 같이 정부가 통상적으로 부과할 수 있는 수입에 손 실을 초래하는 행위, 다만 수출 상품에 대한 국내 소 비를 위하여 사용하는 동 종 상품에 부과하는 종류 의 세금 감면 제공 또는 발생 세부담을 초과하지 아니하는 액수에서의 해당 세금 환급은 재정 지원으 로 보지 아니한다. (ㄷ) 통상적인 공공사업을 제 외한 기타 상품이나 서비 스 공급 또는 상품 구입 (ㄹ) 재정 지원 메커니즘을 통한 금전 제공 또는 정부 가 통상적으로 민간에 대 하여 직접 이행하여야 하 는 이행과 다름없는 제(ㄱ) 호나 제(ㄴ)호 또는 제(ㄷ) 호에 따른 어떠한 한가지 이행 위임 또는 명령 (2) 특정 상품의 수출 증가 또 는 특정 상품의 수입 감소를 위한, 형태를 불문하는 직간접 적인 소득 또는 가격 측면의 지원 제공
구체적이며 국내 산업에 피해를 야기하는 형태를 가진 보조는 보복이 가능할 수 있는 부정 행 위이다.
일부 기업에 대하여 제공하는 보조는 특수한 형태인지의 여부 를 불문하고, 다음 각 항의 원 칙을 고려하도록 한다. (1) 정부가 명백하게 일부 기 업에 대하여 보조를 제공하는 것은 특수한 형태의 보조이다. (2) 법률이나 부령 또는 규칙 이 보조를 받는 것 및 보조 금 액과 관련하여 통상적으로 적 용하는 원칙 또는 조건을 규정 하였으며, 엄격하게 그러한 원 칙 또는 조건을 준수한 보조는 특수 형태의 보조가 되지 아니 한다. 이와 관련하여 해당 원 칙이나 조건이 일부 기업에 대 하여 다른 기업보다 더 많은 이익에 기여하지 아니하여야 하며, 근로자 수 또는 기업 규 모 규정과 같은 경제적인 기본 근거에 부합하여야 한다. (3) 제(1)항 및 제(2)항에 따 른 특수 형태의 보조 원칙에 부합하지 아니하는 경우, 만약 사실상 특수 형태의 보조가 있 다고 위원회가 신뢰할 만한 이 유가 있다면, 위원회는 (ㄱ) 보조를 받을 기업 수 제한, (ㄴ) 보조를 통하여 일부 기업 이 다른 기업보다 많은 이익을 취득하거나 행사하도록 하는 제공, (ㄷ) 다른 기업에 제공하 는 비율보다 높은 일부 기업에 제공하는 보조 금액 및 (ㄹ) 선별적 지원 제공 판단과 같은 요소를 참고할 수도 있다. 이 에 대하여, 관련한 경제적 다 양성 및 해당 보조 계획이 있 는 기간을 고려하도록 한다. 지리적으로 일부 지역에 위치한 일부 기업에 대하여 제공하는 보조는 특수 형태의 보조가 되 나, 만약 해당 보조가 통상적으 로 적용되는 원칙이나 조건이 있는 세율을 정하거나 개정한 것이라면 특수 형태의 보조로 보지 아니한다. 다음 각 항의 보조는 특수 형태 의 보조로 보도록 하며, 첫번째 단락 및 두번째 단락의 내용을 적용하도록 한다. (1) 법적 또는 실질적인 것인 지를 불문하는 수출을 위한 조 건부 보조와 아울러 실직적으 로 발생하였거나 예측한 것이 라고 할지라도 실질적으로 수 출을 위한 조건부 보조, 즉, 수출 또는 수출로 인한 수입에 의존하는 조건부 보조인 부령 에서 정하는 특수 형태에 따른 보조를 포함하도록 한다. (2) 수입품보다 원산국에서 생 산한 상품을 더 많이 사용하도 록 하기 위한 조건부 보조 이 장에 따른 특수 형태의 보조 검토는 뒷받침하는 직접적인 증 거가 있어야 한다.
(삭제)
(삭제)
(삭제)
상계 관세는 보조를 받은 각 사 람의 상품의 단위 당 비율로 정 하여, 보조를 조사하기 위하여 자료를 이용한 동안에 받은 이 익에서 산정하도록 한다. 만약 보조를 받은 사람이 보조 를 제공한 정부에 대하여 특정 부분에서 부담을 지어야 하거 나, 비용을 지불하여야 한다면, 보조를 받은 사람은 그러한 비 용을 공제하도록 요청할 수도 있으나, 해당 사실에 대한 입증 부담은 보조를 받은 사람의 몫 이 된다. 그러한 상계 관세는 피해를 해 소하기 위한 것에 한하여 정하 도록 하며, 보조를 받은 사람이 받은 이익을 초과할 수 없다.
제63조에 따라 받은 이익 산정 은 다음 각 항의 원칙에 따라 검토하도록 한다. (1) 정부가 투자에 참여한 것 은 이익을 제공한 것으로 보지 아니한다. 다만, 그러한 투자 가 원산국 또는 수출국 내 사 기업의 통상적인 실행과 부합 하지 아니하는 것은 제외한다. (2) 정부가 대출을 제공하는 것은 이익을 제공한 것으로 보 지 아니한다. 다만, 채무자가 상환하여야 하는 금액 및 정부 로부터의 대출로 인한 현금으 로 산정 가능한 이익과 시중에 서 비교 가능한 상업적 대출 사이에 차이가 있는 경우는 제 외하며, 취득한 이익은 그러한 금액의 차이가 된다. (3) 정부가 대출 보증한 것은 이익을 제공한 것으로 보지 아 니한다. 다만, 대출 보증을 받 은 사람이 상환하여야 하는 금 액 및 정부를 통한 보증으로 인한 현금으로 산정 가능한 이 익과 민간을 통한 상업적 보증 사이에 차이가 있는 경우는 제 외하며, 제(2)항을 준용하도록 한다. (4) 정부가 제공하는 상품이나 서비스 또는 상품 구매는 이익 을 제공한 것으로 보지 아니한 다. 다만, 적절한 비율보다 적 은 보수를 받는 제공 또는 적 절한 비율보다 높은 보수를 제 공하는 상품 구입은 제외하며, 정부가 그러한 상품 또는 서비 스를 제공하거나 상품을 구입 한 국가에 존재하는 시장 상황 을 근거로 검토하도록 한다. 취득한 이익 산정은 부령에서 정하는 원칙과 절차를 따르도록 한다. 해당 부령은 상무부가 고 시하는 바를 따라 어떠한 한가 지 경우에 대하여 정할 수도 있 다.
상계 관세를 정하는 검토는 제2 장과 제3장, 제4장, 제5장, 제6 장, 제7장, 제8장 및 제9장의 규정을 준용하도록 한다. 다만, 다음 항에 해당하는 경우는 제 외한다. (1) 제42조제(2)항 및 제(3)항 의 규정은 임시 조치 적용에 대해서는 적용하지 아니하도록 한다. (2) 수출업자와 대외무역국 간 의 보조 중지를 위한 합의는 수출국으로부터 허가를 받아야 한다.
수출업자가 세금을 미납하거나, 상계 관세를 완납하지 아니하거 나, 해당 세금을 연체하는 경우 에는 세금과 추징금 및 과태료 부과, 물품 압수, 재산 압수 또 는 압류, 경매 및 잔여 물품과 관련한 조치와 아울러 추징금 삭감, 과태료 감면, 상계 관세와 추징금 및 과태료 납부 유예에 대해서는 관세청의 권한이 되도 록 한다. 수출업자가 첫번째 단락에 따른 관세청의 세금과 추징금 및 과 태료 산정, 추징금 삭감 및 과 태료 감면에 동의하지 아니하는 경우, 관세 관련 법률에 따른 이의검토위원회에 이의를 제기 하도록 한다. 관세 관련 법률 및 관세율 관련 법률의 규정을 첫번째 단락 및 두번째 단락에 따른 조치에 준 용하도록 한다. 관세 관련 법률에 따른 보상금 또는 포상금 지급에 관련된 부 분의 규정은 이 조에 따른 상계 관세에서 징수하는 세금과 추징 금 및 과태료에 대해서는 적용 하지 아니한다.
만약 상계 관세를 납부한 수출 상품이 이후 국외로 반송되었다 고 밝혀진다면, 수출업자는 세 관에 상계 관세 환급을 신청할 수 있으며, 상계 관세 환급 검 토에 대해서는 관세청의 권한이 되도록 한다. 이와 관련하여 「2017년 관세법」의 제28조와 관련 처벌 규정 및 벌금 부과 관련 부분의 규정을 준용하도록 한다.
위원회가 국내 산업 명의의 신 청자 또는 대외무역국으로부터 반덤핑 상계 검토 신청을 접수 한 때에는 대외무역국이 조사 개시 전에 해당 상품 국가의 정 부에 보조 유무에 대한 검토 대 상이라고 통보하도록 하고, 신 청서에 따라 해당 국가에 보조 및 국내 산업 피해에 대한 협의 를 요청한다. 협의는 반덤핑 상계 검토 도중 의 어떠한 단계에서도 진행할 수 있으며, 대외무역국은 그러 한 협의에 대하여 적당한 기회 를 제공하여야 하나, 협의가 반 덤핑 상계 검토 단계 진행에 영 향을 미치는 원인이 되지는 아 니한다. 협의에서 대외무역국은 검토 대 상 상품 국가에 검토와 관련한 정보 자료 취득 기회를 제공하 여야 한다. 다만, 요점 및 내용 으로 인하여 기밀을 유지하여야 하는 정보 자료이거나, 해당 정 보 자료의 제공자가 기밀 유지 를 요청한 것은 제외한다.
이 장에서 사용하는 용어의 뜻 은 다음과 같다. “보복 조치”란 반덤핑 및 상계 조치를 말한다. “상품조립업자”란 다음 각 항의 어느 하나를 말한다. (1) 보복 조치 적용 대상국에 서 생산된 보복 조치 대상 미 완성 상품을 수입하여 태국 국 내 또는 기타 국가에서 완성하 는 사람 (2) 보복 수단 적용 대상국에 서 생산한 보복 조치 대상 상 품의 부품 또는 성분을 수입하 여 태국 국내 또는 기타 국가 에서 보복 조치 대상 상품과 같은 상품으로 조립하는 사람 을 말한다.
이 장에 따른 반덤핑 및 상계 관세 징수 확대는 조사를 완료 하였으며, 보복 조치 회피가 있 다고 드러나는 상품 수입에 대 하여 적용하도록 한다.
제71조의2에 따른 보복 조치 회피는 다음 각 항에 해당하는 구성 요소가 있어야 한다. (1) 생산 관련 조치 또는 타당 하거나 충분한 경제적 지원 사 유가 없는 사업 운영으로부터 발생하는 상업적 형태 변화이 나, 반덤핑 또는 상계 관세 부 과 적용 하에 있지 아니하도록 하기 위한 요소 또는 위원회가 고시하는 관세율 적용 하에 있 지 아니하도록 하기 위한 요소 (2) 가격 또는 양적인 측면에 서 보복 수단 적용 효과 약화 가 되는 결과가 있는 요소 (3) 가격에 영향을 미칠 수 있 는 요소를 고려하여, 사전 산 정한 반덤핑 조치가 적용되는 상품의 정상 가격과 검토 대상 상품의 수출 가격 또는 보복 조치에 대한 회피 혐의가 있는 외국 생산자나 외국 수출업자 또는 상품 조립업자의 반덤핑 조치 적용 대상 상품과 동일한 상품의 판매 가격 사이의 비교 를 통한 덤핑 근거 또는 보조 를 받은 근거 첫번째 단락에 따른 타당하거나 충분한 경제적 지원 사유와 가 격 또는 양적 측면에서 보복 조 치 적용 효과 약화 및 덤핑 또 는 보조를 받은 근거 검토 원칙 과 절차 및 조건은 부령에서 정 하는 바를 따르도록 한다.
제71조의3제(1)항에 따른 생산 또는 사업 운영 관련 이행은 다 음과 같다. (1) 상품의 개조가 보복 조치 적용 대상국 또는 기타 국가에 서 행하여 지는 것을 불문하 고, 상품의 주요 형태 또는 품 질에 영향을 미치지 아니하는 보복 조치 적용 상품에 대한 사소한 개조 (2) 보복 조치 적용 국가에서 기타 국가를 경유하는 보복 조 치 적용 상품의 태국 수출 (3) 보복 조치 적용국가에서 반덤핑 또는 상계 관세가 부과 되지 아니하거나, 그러한 상품 에 부과되는 세율보다 낮은 세 율이 부과되는 생산자 또는 수 출업자를 통한 보복 조치 적용 상품의 태국 수출 (4) 다음 각 호를 고려하도록 하여, 태국 또는 기타 국가에, 보복 조치 적용 국가에서 미완 성인 보복 조치 적용 상품을 수입하여 완성하거나, 보복 조 치 적용 국가에서 보복 조치 적용 상품의 부품이나 성분을 수입하여 보복 조치 적용 상품 과 같은 상품으로 조립 (ㄱ) 덤핑 또는 상계 조사 공 고일부터 보복 조치 적용이 개시되었거나 추가된 조치가 있는 상품과 같은 상품으로 완성하거나 조립 (ㄴ) 보복 조치 적용 가치 비 율이 증가하거나 다음 각 목 의 어느 하나에 해당하는 부 품 또는 성분 가치와 같은 상품으로 완성 또는 조립하 는 상품 1) 완성되도록 하는 상품이 생산 원가의 25% 미만의 상품 가치가 증가한 경우 2) 부품 또는 성분으로 조립 된 상품 가치가 생산 원가 의 25% 이상 증가한 것을 제외하고, 보복 조치 적용 국가에서 생산한 상품의 부품 또는 성분이 보복 조 치 적용 상품과 같은 상품 의 전체 부품 또는 성분 가치와 동일하거나 그 보 다 많은 가치가 있는 경우 3) 1)목 및 2)목에 따른 가치 산정은 상무부가 고시하는 원칙을 따르도록 한다. (5) 부령에서 정하는 생산 또 는 기타 사업 운영 관련 조치
대외무역국 또는 제71조의6에 따른 개인이나 단체의 신청이 있는 때에는 반덤핑 조치 회피 보복 검토 절차를 개시하도록 한다. 첫번째 단락에 따른 신청서 제 출은 위원회가 반덤핑 또는 상 계 관세를 부과하도록 최종 결 정을 한 이후에 진행할 수 있 다.
개인 또는 단체는 위원회가 반 덤핑 회피 보복 검토 절차를 진 행하도록 하기 위하여 대외무역 국에 반덤핑 적용 상품과 동종 상품을 생산하는 국내 산업 생 산자 명의의 신청서를 제출한 다. 첫번째 단락에 따른 신청서는 반덤핑 조치 상품과 동종 상품 의 국내 전체 생산량 1/4 이상 의 양에 해당하는 반덤핑 조치 적용 상품과 동종의 상품을 생 산하는 국내 산업 생산자로부터 지지를 받아야 한다. 신청서 제출은 상무부가 고시하 는 원칙과 절차, 기간 및 조건 을 따르도록 한다.
만약 제71조의6에 따른 신청서 가 상세 사항이나 근거를 완벽 또는 정확하게 갖추지 아니하였 다면, 대외무역국은 신청자에게 기한 내에 완벽 또는 정확하게 조치하도록 통보하도록 한다. 신청서가 완벽하고 정확한 상세 사항 및 근거 자료를 갖춘 때에 는 대외무역국이 위원회에 제출 하여 검토하도록 한다.
제71조의6에 따른 신청자는 신 청 철회가 가능할 수도 있으나, 만약 제71조의10에 따른 반덤 핑 조치 회피 조사 공고가 완료 되었다면, 위원회가 반덤핑 조 치 회피 보복 검토 또는 후속 검토 조치를 중지할 수도 있다.
위원회가 신청서에 대하여 보복 조치 회피 관련 근거를 갖추었 다고 결정하는 경우, 대외무역 국은 지체없이 후속 조사를 실 시하도록 한다. 위원회가 그러한 신청서에 대하 여 보복 조치 회피 관련 근거를 갖추지 못하였다고 결정하는 경 우, 대외무역국은 지체없이 해 당 결정을 신청자에게 통보하도 록 한다.
보복 조치 회피 보복 검토를 하 는 경우, 대외무역국이 보복 조 치 회피 조사 공고를 관보에 게 재하고, 합당하다고 판단하는 바에 따라 태국어와 영어로 일 간지에 광고를 게재하거나 기타 수단을 통하여 공개하여 대중에 게 알리고 보복 조치 회피 조사 를 개시하는 권한과 직무를 담 당하도록 한다. 보복 절차 회피 조사 공고는 상 무부가 고시하는 바에 따른 사 항을 갖추어야 한다. 대외무역국은 보복 조치 회피 혐의가 있는 외국 생산자나 외 국 수출업자 또는 조립업자인 신청자와 관련 원산국 또는 수 출국 정부에 보복 조치 회피 조 사 공고를 통보하도록 하며, 관 련 수입업자 또는 해당자의 대 리인의 주소를 알고 있는 경우, 대외무역국은 해당자에게 서면 으로 해당 공고를 통보하도록 한다.
이해관계인 및 보복 조치 회피 조사 절차 관계자의 이익 보호 를 위한 이행 권리를 포함한 사 실 관계 및 의견 제출은 부령에 서 정하는 바를 따르도록 한다
제26조와 제27조, 제29조, 제 30조 및 제40조를 보복 조치 회피 조사에 준용하도록 한다.
위원회가 보복 회피가 있다고 결정하는 경우, 해당 수출국에 서 반덤핑 조치를 적용하는 상 품에 부과하는 최고 비율을 초 과하지 아니하는 비율에서 보복 조치 회피 수입품에 대한 반덤 핑 또는 상계 관세 부과를 확대 하도록 한다. 첫번째 단락에 따른 반덤핑 또 는 상계 관세 확대 부과는 상품 수입 등록일부터 개시하도록 한 다. 이와 같은 경우, 위원회가 결정하는 바에 따라 관세청이 해당 세금을 부과할 권한을 갖 도록 한다. 첫번째 단락에 따른 반덤핑 또 는 상계 관세 부과 확대는 보복 조치 적용 상품의 세금 부과에 따라 변경 또는 중지하도록 한 다.
반덤핑 또는 상계 관세 부과 확 대가 있는 경우, 만약 수입업자 가 세금을 미납하거나 반덤핑 또는 상계 관세를 완납하지 아 니하거나, 해당 세금을 연체하 였다면, 경우에 따라 제49조의1 또는 제7조의1을 준용하도록 한 다.
반덤핑 또는 상계 관세 부과 확 대가 있는 경우, 만약 사후에 반덤핑 또는 상계 관세를 납부 한 상품이 국외로 반송되었다고 드러난다면, 수출업자는 반덤핑 또는 상계 관세 환급 신청서 제 출이 가능할 수도 있으며, 경우 에 따라 제49조의2 또는 제70 조의2를 준용하도록 한다.
보복 조치 회피에 대한 보복 검 토 절차 개시부터 반덤핑 또는 상계 관세 부과를 확대하도록 하는 결정 또는 보복 조치 회피 가 있다는 결정까지는 조사 공 고일부터 9개월 이내에 완료하 도록 한다. 다만, 불가피한 이유 가 있는 경우, 3개월을 초과하지 아니하는 기간을 초과로 연장하 도록 한다.
위원회가 합당하다고 판단하는 때 또는 반덤핑 또는 상계 관세 부과 확대를 실시한 최소 1년 이후에 이해관계인으로부터 신 청이 있는 때에 위원회가 반덤 핑 또는 상계 관세 부과 확대 중지를 위한 검증을 고려할 수 도 있다. 검증 고려는 검증 공고일부터 1 년 이내에 완료하여야 한다. 검증 고려는 해당 기간 동안의 반덤핑 또는 상계 관세 부과 확 대에 영향을 미치지 아니한다.
만약 수출업자가 제71조의3에 따른 보복 조치 회피가 없었다 는 것을 증명할 수 있다면, 해 당자는 특정 시기의 반덤핑 또 는 상계 관세 부과 확대로 인하 여 부과된 반덤핑 관세 또는 상 계 관세 환급 신청이 가능할 수 도 있다. 첫번째 단락에 따른 세금 환급 은 해당 세금을 납부한 날부터 6개월 이내에 대외무역국에 신 청서를 제출하여야 한다. 세금 환급은 위원회가 해당 신 청서를 접수한 날부터 1년 이내 에 완료하여야 한다. 다만, 불가 피한 이유가 있는 경우는 6개월 이하의 기간을 추가로 연장하도 록 한다.
제71조의3과 제71조의4, 제71 조의6 세번째 단락, 제71조의7, 제71조의8, 제71조의9, 제71조 의10, 제71조의11 및 제71조의 12를 제71조의17 및 제71조의 18에 따른 검증 및 세금 환급에 준용하도록 한다.
제71조의13에 따른 위원회의 결정 또는 제71조의17 및 제71 조의81에 따른 검증 신청에 대 한 위원회의 결정은 해당 결정 을 통보받은 날부터 30일 이내 에 지식재산권 및 국제무역 법 원에 해당 결정에 대한 항고를 하도록 하며, 제61조 두번째 단 락을 준용하도록 한다.
상무부 장관을 위원장으로 하 고, 재무부 사무차관, 외무부 사 무차관, 농업협동조합부 사무차 관, 산업부 사무차관, 투자촉진 위원회 사무총장, 대외무역국장, 국내무역국장, 국제무역협상국 장 및 소비자보호위원회가 위임 하는 1인과 총리가 임명하는 권 위자 6인을 위원으로 하여 구성 하는 “덤핑 및 상계 검토 위원 회”라는 명칭의 위원회 하나를 두도록 한다. 대외무역국장이 위원회의 간사 가 되도록 하며, 대외무역국의 공무원을 간사보로 임명하도록 한다. 첫번째 단락에 따른 권위자 임 명은 국제무역과 경제학, 회계, 농업 및 산업 관련 지식과 전문 성을 갖춘 사람 중에서 분야별 로 각1인을 임명하도록 한다.
위원회는 다음 각 항의 권한과 직무를 담당하도록 한다. (1) 이 법에 따른 덤핑 및 상 계 검토와 반덤핑 및 상계 회 피 보복 검토 (2) 덤핑 및 보조 중지를 위한 합의에 대한 승인 (3) 이 법에 따른 집행을 위한 부령 및 고시 제정에 관한 조 언 제공 (4) 이 법에서의 규정 또는 내 각이 위임하는 바에 따른 기타 집행
권위자 위원의 임기는 1회당 4 년이다. 만2년이 되는 초기에는 제비뽑 기 방식을 통하여 전체 권위자 위원 인원의 반수에 해당하는 권위자 위원이 퇴임하도록 하 며, 제비뽑기 방식의 권위자 위 원직 퇴임은 임기에 따른 퇴임 으로 보도록 한다. 첫번째 단락에 따른 기한이 만 료한 때에, 만약 아직 새로운 권위자 위원을 임명하지 아니하 였다면, 임기에 따라 퇴임하는 권위자 위원이 새로 임명되는 권위자 위원의 취임때까지 계속 직무를 수행하도록 한다. 임기에 따라 퇴임하는 권위자 위원은 재임명이 될 수도 있으 나, 2회를 초과하여 연임하도록 하는 임명은 불가하다.
권위자 위원은 임기에 따른 퇴 임 이외에 다음 각 항의 어느 하나에 해당하는 때에 퇴임한 다. (1) 사망한 때 (2) 사임한 때 (3) 그릇된 품행이나 직무에 대한 결함 또는 부정이나 능력 부족으로 인하여 내각이 해임 한 때 (4) 과실범 또는 경범죄로 인 하여 최종 판결에 따라 금고형 에 처한 때 (5) 금치산자 또는 한정치산자 가 된 때 (6) 파산자가 된 때
권위자 위원이 임기 만료 전에 퇴임한 경우, 대체 권위자 위원 을 신속히 임명하도록 하며, 대 신 임명되는 해당 권위자 위원 은 본인이 대체하는 권위자 위 원의 잔여 임기와 동일하게 재 임하도록 한다. 다만, 임기 만료 전에 퇴임한 권위자 위원의 잔 여 임기가 90일 미만인 경우에 는 임명을 진행하지 아니할 수 도 있다. 첫번째 단락에 따른 대체 권위 자 위원을 아직 임명하지 아니 한 동안에는 남아 있는 위원만 으로 직무를 계속 수행하도록 하며, 위원회는 남아 있는 위원 만으로 구성된 것으로 보도록 한다. 이와 관련하여 3인 이상 의 권위자 위원이 남아 있어야 한다.
위원회의 회의는 전체 위원 수 의 과반이 있어야 정족수가 된 다. 만약 위원장이 회의에 부재 하거나 직무 수행이 불가능하다 면, 회의에 참석한 위원이 위원 중 한사람을 의장으로 선출하도 록 한다. 회의에서의 결정은 다수결을 따 르도록 한다. 위원 한사람은 투 표에서 한 표를 행사하도록 한 다. 만약 득표수가 동수라면 의 장이 추가로 1표를 결정투표로 행사하도록 한다. 만약 회의에서 반대 의견이 있 다면 의사록에 이유와 함께 반 대 의견을 기재하도록 하나, 위 원이 본인의 반대 의견을 결정 에 포함하도록 요청할 수도 있 다. 결정을 하여야 하는 특정 사안 에서 어떠한 위원이 이해관계가 있다면, 해당 위원은 그러한 사 안에서 회의에 참여하지 아니하 도록 금지한다.
직무 수행의 이익을 위하여 위 원회는 어떠한 한가지의 집행을 위한 소위원회를 임명할 수 있 는 권한을 갖도록 한다.
이 법의 시행일 전에 검토가 보 류되어 있는 모든 반덤핑 및 보 조에 대한 검토는 완료될 때까 지 1996년 반덤핑 및 상계를 위한 수입품에 대한 특별 수수 료 부과에 관한 상무부 고시 및 「1979년 상품수출입법」을 적 용하여 후속 조치를 진행하도록 한다. 부서 추언 릭파이 총리