로고

「2018년 동부특별개발구역법」

 국가·지역: 태국  제정일: 2018년 5월 10일

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพ ยวรางกูร ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ เป็นปีที่ ๓ ในรัชกาลปัจจุบัน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพ ยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศ ว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยเขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออก พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการ เกี่ยวกับการจ ากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลซึ่ง มาตรา ๒๖ ประกอบกับมาตรา ๓๔ และมาตรา ๓๗ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระท าได้โดยอาศัยอ านาจตาม บทบัญญัติแห่งกฎหมาย เหตุผลและความจ าเป็นในการจ ากัดสิทธิและ เสรีภาพของบุคคลตามพระราชบัญญัตินี้ เพื่อ ด าเนินการพัฒนาพื้นที่ภาคตะวันออกให้เป็นระบบ และโดยสอดคล้องกับหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการส่งเสริมการประกอบ พาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้น สูง ทันสมัย สร้างนวัตกรรม และเป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม ซึ่งการตราพระราชบัญญัตินี้สอดคล้อง กับเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๒๖ ของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยแล้ว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยค าแนะน าและยินยอม ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติท าหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปน 마하와치라롱껀 버딘트라텝파야 와랑꾼 폐하께서 현 왕조 3번째 해인 2018년(불기 2061년) 5월 10일에 하사하셨다. 마하와치라롱껀 버딘트라텝파야 와랑꾼 폐하께서는 다음과 같이 공포하도록 하셨다. 동부 특별 개발 구역 관련 법률 을 갖추는 것이 합당하다. 이 법률은 개인의 권리와 자유를 제한하는 것과 관련한 일부 조항 이 있다. 즉, 태국 헌법 제26조는 제34조 및 제37조와 연계하여 법률의 규정에 따른 권한에 의거 하여 행하도록 규정한다. 이 법에 따라 개인의 권리와 자 유를 제한하는 이유와 필요성은 동부 지역 개발 수행이 체계적이 며 지속 가능한 발전 원칙과 부 합하도록 하기 위한 것이며, 특히 선진적이고 현대적이며 혁신을 구축하고 친환경적인 상공업 활 동에 참여하도록 하기 위한 것으 로, 이 법의 제정은 타이 왕국 헌 법 제26조에서 규정하는 조건에 부합한다. 그러므로, 국왕 폐하께서는 의회 직무를 수행하는 국가입법의회의 조언과 동의를 통하여 다음과 같 이 이 법을 제정하도록 하셨다.

มาตรา ๑

พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติเขต พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๑”

มาตรา ๒

พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวัน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

มาตรา ๓

ให้ยกเลิก (๑) ค าสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบ แห่งชาติ ที่ ๒/๒๕๖๐ เรื่อง การพัฒนาระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ลงวันที่ ๑๗ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๖๐ (๒) ค าสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบ แห่งชาติ ที่ ๒๘/๒๕๖๐ เรื่อง มาตรการเพิ่ม ประสิทธิภาพการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออก ลงวันที่ ๒๖ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๖๐ (๓) ค าสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบ แห่งชาติ ที่ ๔๗/๒๕๖๐ เรื่อง ข้อก าหนดการใช้ ประโยชน์ในที่ดินในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออก ลงวันที่ ๒๕ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๖๐

มาตรา ๔

ในพระราชบัญญัตินี้ “เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก” หมายความว่า พื้นที่ตามมาตรา ๖ “เขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ” หมายความว่า พื้นที่ภายในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ตามที่คณะกรรมการนโยบายประกาศก าหนด ตามมาตรา ๔๐ “ผู้ประกอบกิจการในเขตส่งเสริมเศรษฐกิจ พิเศษ” หมายความว่า ผู้ประกอบกิจการซึ่งเป็น นิติบุคคล หรือบุคคลอื่นใดซึ่งมีความรู้ ความสามารถพิเศษ ซึ่งได้รับอนุญาตจาก เลขาธิการตามหลักเกณฑ์ที่ คณะกรรมการนโยบายก าหนดให้ประกอบ อุตสาหกรรมเป้าหมายพิเศษหรือกิจการที่ เกี่ยวเนื่องหรือเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาและ ส่งเสริมอุตสาหกรรมเป้าหมายพิเศษในเขต ส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ “อุตสาหกรรมเป้าหมายพิเศษ” หมายความว่า อุตสาหกรรมที่คณะกรรมการนโยบายประกาศ ก าหนดตามมาตรา ๓๙ “อุตสาหกรรมเป้าหมาย” หมายความว่า อุตสาหกรรมเป้าหมายตามกฎหมายว่าด้วยการ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ส าหรับอุตสาหกรรมเป้าหมาย “คณะกรรมการนโยบาย” หมายความว่า คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาค ตะวันออก “ส านักงาน” หมายความว่า ส านักงาน คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาค ตะวันออก “เลขาธิการ” หมายความว่า เลขาธิการ คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาค ตะวันออก “หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การ มหาชน หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ “กองทุน” หมายความว่า กองทุนพัฒนาเขต พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

มาตรา ๕

ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัติ นี้

หมวด ๑ บทท่ัวไป

มาตรา ๖

ให้พื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง และพื้นที่อื่นใดที่อยู่ในภาคตะวันออกที่ก าหนด เพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาเป็นเขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออก เพื่อ วัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ (๑) พัฒนากิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ทันสมัย และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (๒) จัดให้มีการให้บริการภาครัฐแบบเบ็ดเสร็จ ครบวงจรเพื่อลดอุปสรรคและต้นทุนในการ ประกอบกิจการ (๓) จัดท าโครงสร้างพื้นฐานและระบบ สาธารณูปโภคที่มีประสิทธิภาพ มีความ ต่อเนื่อง ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ โดยสะดวกและเชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบ โดยสมบูรณ์ (๔) ก าหนดการใช้ประโยชน์ในที่ดินอย่าง เหมาะสมกับสภาพและศักยภาพของพื้นที่โดย สอดคล้องกับหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน (๕) พัฒนาเมืองให้มีความทันสมัยระดับ นานาชาติที่เหมาะสมต่อการอยู่อาศัยอย่าง สะดวก ปลอดภัย เข้าถึงได้โดยถ้วนหน้าและ การประกอบกิจการอย่างมีคุณภาพ ในกรณีที่มีความจ าเป็นเพื่อประโยชน์ในการ ด าเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ตาม (๓) จะตราพระราชกฤษฎีกาให้พื้นที่บางส่วนในเขต จังหวัดอื่นที่ติดต่อหรือเกี่ยวข้องกับพื้นที่ตาม วรรคหนึ่ง และเฉพาะพื้นที่เท่าที่จ าเป็นเพื่อ ประโยชน์ในการด าเนินการดังกล่าว ให้เป็นเขต พัฒนาพิเศษภาคตะวันออกด้วยก็ได้

มาตรา ๗

ในการด าเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์ตาม มาตรา ๖ ให้รัฐจัดให้หน่วยงานของรัฐที่ เกี่ยวข้องร่วมกันด าเนินการ ดังต่อไปนี้ (๑) ส่งเสริมและสนับสนุนการด าเนินการตาม แผนการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาค ตะวันออกให้มีความน่าอยู่และทันสมัยโดย สอดคล้องกับหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน และ พัฒนาระบบการให้บริการภาครัฐแบบ เบ็ดเสร็จครบวงจร ระบบสาธารณูปโภค ระบบ คมนาคมและขนส่ง ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ระบบการส่งเสริม นวัตกรรม ระบบพลังงานที่มีความมั่นคง ระบบการบริหารจัดการน ้า ระบบการควบคุม และขจัดมลภาวะ ระบบการผลิตสินค้าและ การให้บริการโดยใช้เทคโนโลยีขั้นสูง และการ อื่นใดที่จ าเป็นต่อการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก ทั้งนี้ ต้องด าเนินการให้มี ประสิทธิภาพ ปลอดภัย มั่นคง และประชาชน สามารถเข้าถึงได้โดยสะดวก (๒) ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ประกอบกิจการ ทั้งในประเทศและต่างประเทศเข้ามาประกอบ อุตสาหกรรมเป้าหมาย อุตสาหกรรมเป้าหมาย พิเศษ และกิจการที่เกี่ยวเนื่องในเขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออก รวมทั้งส่งเสริมและ สนับสนุนให้มีการวิจัยและพัฒนา และการใช้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ตลอดจนให้มีการ ถ่ายทอดความรู้ความเชี่ยวชาญจากผู้ ประกอบกิจการ สถาบันการศึกษาหรือ สถาบันวิจัยที่มีศักยภาพสูงเพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (๓) จัดสรรงบประมาณ จัดหาแหล่งเงินที เหมาะสมและจ าเป็น รวมถึงให้การสนับสนุน ด้านอื่นเพื่อให้การด าเนินการของหน่วยงาน ของรัฐที่เกี่ยวข้องบรรลุวัตถุประสงค์ของการ พัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (๔) สร้างบรรยากาศที่ดีส าหรับการประกอบ กิจการและการอยู่อาศัย โดยลดขั้นตอนในการ ประกอบธุรกิจให้มีความสะดวกรวดเร็ว มีสิ่ง อ านวยความสะดวกด้านต่าง ๆ ที่ทันสมัยและ ได้มาตรฐานสากล เช่น สถานศึกษา สถานพยาบาล สวนสาธารณะ และมีความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน (๕) ส่งเสริมและสนับสนุนสถาบันการเงินไทย และต่างประเทศในการให้บริการทางการเงิน ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกให้มีความ สะดวก รวดเร็ว และมีข้อจ ากัดเพียงเท่าที่ จ าเป็นเพื่อการรักษาเสถียรภาพของระบบ การเงินและระบบเศรษฐกิจของประเทศ

มาตรา ๘

การด าเนินโครงการหรือกิจการใดภายในเขต พัฒนาพิเศษภาคตะวันออกที่ต้องจัดท ารายงาน การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม สุขภาพของ ประชาชนหรือชุมชนตามที่มีกฎหมายก าหนด ให้ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติแต่งตั้ง คณะกรรมการผู้ช านาญการเป็นการเฉพาะเพื่อ พิจารณาให้ความเห็นหรือความเห็นชอบรายงาน การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการ หรือกิจการนั้น โดยต้องด าเนินการให้แล้วเสร็จ ภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันที่ได้รับรายงาน ที่ถูกต้องและมีข้อมูลครบถ้วน ให้เป็นหน้าที่ของส านักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ต้อง ประกาศให้ประชาชนทราบถึงรายการเอกสารที่ ต้องยื่นพร้อมกับรายงานตามวรรคหนึ่ง โดยระบุ หัวข้อที่จะต้องจัดท ารายงานให้ชัดเจน และ ก าหนดระยะเวลาในการปฏิบัติหน้าที่ตาม กฎหมายว่าด้วยการอ านวยความสะดวกในการ อนุญาตของทางราชการโดยเคร่งครัดโดยให้ถือ ว่าการพิจารณารายงานเป็นการอนุญาตตาม กฎหมายดังกล่าว ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอ านาจ ก าหนดหลักเกณฑ์การเรียกเก็บค่าธรรมเนียม พิเศษเพิ่มเติมจากส านักงานหรือผู้ขออนุญาต และให้จ่ายค่าตอบแทนคณะกรรมการ ผู้ช านาญการเพิ่มเติมเป็นพิเศษได้ตามที คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติก าหนด ในกรณีที่ไม่มีผู้ช านาญการศึกษาผลกระทบ สิ่งแวดล้อมส าหรับโครงการหรือกิจการใด หรือมี แต่ไม่เพียงพอ ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อม แห่งชาติมีหน้าที่อนุญาตให้มีผู้ช านาญการศึกษา ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้นให้เพียงพอโดยเร็ว โดยมิให้น าบทบัญญัติว่าด้วยการขอและการ ออกใบอนุญาต และคุณสมบัติของผู้ได้รับ ใบอนุญาตเป็นผู้มีหน้าที่ศึกษาหรือจัดท า รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมตาม กฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติมาใช้บังคับ และจะอนุญาต ให้ผู้ไม่มีสัญชาติไทยเป็นผู้มีหน้าที่ศึกษาหรือ จัดท ารายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ก็ได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติก าหนด

มาตรา ๙

ในการด าเนินการเพื่อพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก หากคณะกรรมการนโยบายเห็น ว่ากฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือ ค าสั่งใดก่อให้เกิดความไม่สะดวกหรือล่าช้า มี ความซ ้าซ้อนหรือเป็นการเพิ่มภาระการ ด าเนินการโดยไม่จ าเป็น หรือมีปัญหาหรือ อุปสรรคอื่นใด ให้คณะกรรมการนโยบายเสนอ ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาให้มีการ ด าเนินการปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือค าสั่งดังกล่าว หรือมี กฎหมายขึ้นใหม่ เพื่อให้การพัฒนาเขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออกมีประสิทธิภาพ สะดวก และรวดเร็ว ทั้งนี้ ต้องไม่กระทบต่อความเสมอ ภาค สิทธิและเสรีภาพของประชาชน และต้องไม่ เลือกปฏิบัติ

หมวด ๒ คณะกรรมการนโยบาย

มาตรา ๑๐

ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาค ตะวันออก” ประกอบด้วย (๑) นายกรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการ (๒) รองนายกรัฐมนตรีคนหนึ่งซึ่ง นายกรัฐมนตรีมอบหมาย เป็นรองประธาน กรรมการ (๓) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคม รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง สาธารณสุขและรัฐมนตรีว่าการกระทรวง อุตสาหกรรม เป็นกรรมการ (๔) ผู้อ านวยการส านักงบประมาณ เลขาธิการ คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติและเลขาธิการคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน เป็นกรรมการ (๕) ประธานกรรมการสภาหอการค้าแห่ง ประเทศไทย ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย และประธานสมาคมธนาคารไทย เป็นกรรมการ (๖) ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งจาก ผู้มีความรู้หรือความเชี่ยวชาญอันจะเป็น ประโยชน์แก่การก าหนดนโยบายและการ ด าเนินการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก จ านวนไม่เกินห้าคน เป็นกรรมการ ให้เลขาธิการเป็นกรรมการและเลขานุการ ในกรณีที่ไม่มีกรรมการตาม (๕) หรือ(๖) หรือมี ไม่ครบไม่ว่าด้วยเหตุใด ให้คณะกรรมการ นโยบายประกอบด้วยกรรมการเพียงเท่าที่มีอยู่ การประชุมและการลงมติของ คณะกรรมการนโยบายให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ที่คณะกรรมการนโยบายก าหนด กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระอยู่ในต าแหน่ง คราวละสามปีและอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้แต่จะ ด ารงต าแหน่งติดต่อกันเกินสองวาระไม่ได้ การพ้นจากต าแหน่งด้วยเหตุอื่นนอกจากการพ้น จากต าแหน่งตามวาระและการแต่งตั้งให้ด ารง ต าแหน่งแทนต าแหน่งที่ว่างหรือการแต่งตั้งเพิ่ม ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการ ทางปกครอง มติของคณะกรรมการนโยบายมีผลผูกพัน กระทรวงและหน่วยงานทุกหน่วยที่เป็นกรรมการ อยู่ด้วย

มาตรา ๑๑

คณะกรรมการนโยบายมีหน้าที่และอ านาจ ดังต่อไปนี้ (๑) ก าหนดนโยบายเพื่อการพัฒนาเขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออก (๒) ให้ความเห็นชอบแผนภาพรวมเพื่อการ พัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก แผนการใช้ประโยชน์ในที่ดินในภาพรวม แผนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบ สาธารณูปโภค แผนการด าเนินงานและ แผนการให้บริการภาครัฐแบบเบ็ดเสร็จครบ วงจรภายในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (๓) ให้ความเห็นชอบแผนผังการใช้ประโยชน์ ในที่ดินและแผนผังการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานและระบบสาธารณูปโภค (๔) ประกาศก าหนดพื้นที่เขตส่งเสริม เศรษฐกิจพิเศษ อุตสาหกรรมเป้าหมายพิเศษ และสิทธิประโยชน์ที่จะให้แก่ผู้ประกอบกิจการ ในเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษแต่ละแห่ง (๕) อนุมัติแผนงาน โครงการและงบประมาณ ในการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (๖) ประกาศก าหนดหลักเกณฑ์วิธีการและ เงื่อนไขในการร่วมลงทุนกับเอกชนหรือให้ เอกชนเป็นผู้ลงทุน (๗) ออกระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศเพื่อ ก าหนดหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขในการ ด าเนินการตามที่ก าหนดไว้ในพระราชบัญญัติ นี้ (๘) พิจารณาอนุมัติอนุญาต ให้สิทธิหรือให้ สัมปทานตามมาตรา ๓๗ (๙) แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ค าสั่งของเลขาธิการตามมาตรา ๔๔ ซึ่งอย่าง น้อยต้องประกอบด้วยกรรมการนโยบายตาม มาตรา ๑๐ (๔) และ (๖) ประเภทละหนึ่งคน (๑๐) แต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะกิจหรือ คณะอนุกรรมการเพื่อด าเนินการตามที่ คณะกรรมการนโยบายมอบหมาย (๑๑) ก ากับดูแลการด าเนินงานของส านักงาน และออกระเบียบและข้อบังคับให้ส านักงาน ปฏิบัติเพื่อให้การด าเนินงานเป็นไปอย่าง คล่องตัวและมีประสิทธิภาพ (๑๒) ติดตามและประเมินผลการด าเนินการ พัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก รวมทั้ง แก้ไขปัญหาและอุปสรรคในการด าเนินงาน โดยต้องรายงานผลการด าเนินการให้ คณะรัฐมนตรีทราบทุกรอบระยะเวลาตามที่ คณะรัฐมนตรีก าหนด (๑๓) ปฏิบัติการอื่นใดที่เกี่ยวข้องเพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์ตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามที่ คณะรัฐมนตรีมอบหมาย การด าเนินการตาม (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) เมื่อคณะกรรมการนโยบายได้มีมติ อนุมัติหรือให้ความเห็นชอบเรื่องใดแล้ว ให้ น าเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ หากไม่มีข้อ ทักท้วงหรือไม่มีความเห็นเป็นอย่างอื่น ให้ถือว่า คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหรือเห็นชอบตามมต คณะกรรมการนโยบาย ระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศเพื่อก าหนด หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขตาม (๔) (๖) และ (๗) เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้

มาตรา ๑๒

เพื่อให้การพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาค ตะวันออกเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ในกรณีที่ คณะกรรมการนโยบายก าหนดกระบวนการ พิจารณาการร่วมลงทุนกับเอกชนหรือให้เอกชน เป็นผู้ลงทุนและวิธีการก ากับดูแลและติดตามผล การด าเนินการไว้เป็นการเฉพาะแล้ว การร่วม ลงทุนกับเอกชนหรือให้เอกชนเป็นผู้ลงทุนตาม พระราชบัญญัตินี้ให้ด าเนินการตาม กระบวนการและวิธีการดังกล่าว โดยให้ถือว่า การร่วมลงทุนกับเอกชนหรือการให้เอกชนเป็นผู้ ลงทุนนั้นได้ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการให้ เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐแล้ว การก าหนดกระบวนการพิจารณาการร่วมลงทุน กับเอกชนหรือให้เอกชนเป็นผู้ลงทุนและวิธีการ ก ากับดูแลและติดตามผลการด าเนินการตาม วรรคหนึ่งจะใช้กับโครงการประเภทหรือลักษณะ ใดให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการนโยบาย ก าหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๑๓

ให้คณะกรรมการนโยบาย คณะกรรมการ พิจารณาอุทธรณ์คณะกรรมการเฉพาะกิจและ คณะอนุกรรมการ ได้รับค่าตอบแทน ค่าใช้จ่าย และประโยชน์ตอบแทนอื่น ตามที่คณะรัฐมนตรี ก าหนด

หมวด ๓ ส านักงาน

มาตรา ๑๔

ให้มีส านักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออกมีฐานะเป็นนิติบุคคลที่เป็น หน่วยงานของรัฐแต่ไม่เป็นส่วนราชการหรือ รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการ งบประมาณและกฎหมายอื่น แต่ในกรณีที่รัฐจะ จัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปหรืองบประมาณอื่นใด ให้แก่ส านักงาน ให้ส านักงบประมาณมีหน้าที่ จัดสรรเงินงบประมาณให้แก่ส านักงานได้ โดยตรง ให้ส านักงานเป็นหน่วยงานเลขานุการของ คณะกรรมการนโยบาย กิจการของส านักงานไม่อยู่ภายใต้บังคับแห่ง กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมาย ว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์กฎหมายว่าด้วย ประกันสังคม และกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน แต่พนักงานและลูกจ้างของส านักงานต้องได้รับ ประโยชน์ตอบแทนโดยรวมไม่น้อยกว่าที่ก าหนด ไว้ในกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้วยประกันสังคม และกฎหมายว่า ด้วยเงินทดแทน

มาตรา ๑๕

ส านักงานมีหน้าที่และอ านาจ ดังต่อไปนี้ (๑) รับผิดชอบในงานธุรการและงานวิชาการ ของคณะกรรมการนโยบาย (๒) เสนอแนะคณะกรรมการนโยบายเกี่ยวกับ การด าเนินงานตามมาตรา ๑๑ และมาตรา ๑๒ (๓) ศึกษาวิเคราะห์ผลกระทบเบื้องต้นจาก การก าหนดและการด าเนินการตามนโยบาย แผนและมาตรการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ พัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก รวม ตลอดทั้งแนวทางหรือมาตรการป้องกัน แก้ไข หรือเยียวยาผลกระทบดังกล่าวเสนอต่อ คณะกรรมการนโยบาย (๔) ก ากับ ติดตาม และรายงานความคืบหน้า ในการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ต่อคณะกรรมการนโยบายอย่างน้อยทุกสาม เดือน (๕) จัดท ารายงานประจ าปีเกี่ยวกับการปฏิบัติ ตามพระราชบัญญัตินี้เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อ เสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาเพื่อ ทราบ (๖) ประสานงานกับหน่วยงานของรัฐที่ เกี่ยวข้องเพื่อให้การด าเนินการพัฒนาเขต พัฒนาพิเศษภาคตะวันออกเป็นไปตาม นโยบาย แผน และมาตรการที่ คณะกรรมการนโยบายก าหนด (๗) ศึกษาความเหมาะสมและความเป็นไปได้ ในการก าหนดเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ (๘) ลงทุนหรือร่วมลงทุนกับบุคคลอื่นทั้งใน ประเทศและต่างประเทศเพื่อการประกอบ กิจการที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาเขต พัฒนาพิเศษภาคตะวันออกและเขตส่งเสริม เศรษฐกิจพิเศษ (๙) ตั้งบริษัทจ ากัดหรือบริษัทมหาชนจ ากัด เพื่อประกอบกิจการที่เป็นประโยชน์ต่อการ พัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกและ เขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ (๑๐) กู้ยืมเงินเพื่อใช้จ่ายในกิจการของ ส านักงาน (๑๑) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่ก าหนดไว้ใน พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่น หรือตามที่ คณะรัฐมนตรีหรือคณะกรรมการนโยบาย มอบหมาย ในการด าเนินการตาม (๘) (๙) และ (๑๐) ให้ กระท าได้เมื่อได้รับอนุมัติจาก คณะกรรมการนโยบายแล้ว โดย คณะกรรมการนโยบายอาจก าหนดเงื่อนไข ตามที่เห็นสมควรก็ได้และในกรณีการ ด าเนินการตาม (๑๐) ถ้าเกินห้าสิบล้านบาทต้อง ได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีก่อน

มาตรา ๑๖

ให้ส านักงานมีเลขาธิการคนหนึ่งซึ่ง คณะกรรมการนโยบายแต่งตั้งมีหน้าที่รับผิดชอบ ในการด าเนินงานของส านักงานและขึ้นตรงต่อ คณะกรรมการนโยบาย ให้เลขาธิการเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานและ ลูกจ้างของส านักงาน

มาตรา ๑๗

เลขาธิการต้องเป็นผู้มีความรู้ความช านาญ และ ประสบการณ์ที่จะยังประโยชน์แก่กิจการของ คณะกรรมการนโยบายและส านักงานตามที่ คณะกรรมการนโยบายประกาศก าหนด มี สัญชาติไทย มีอายุไม่เกินหกสิบห้าปีสามารถ ท างานให้แก่ส านักงานได้เต็มเวลา และไม่มี ลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ (๑) เป็นบุคคลล้มละลายหรือเคยเป็นบุคคล ล้มละลายทุจริต (๒) เป็นข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของ หน่วยงานของรัฐ หรือเป็นลูกจ้างของบุคคลใด (๓) เป็นผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมือง (๔) เป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหาร ท้องถิ่น (๕) เป็นกรรมการหรือผู้ด ารงต าแหน่งอื่นใน พรรคการเมืองหรือเจ้าหน้าที่ของพรรค การเมือง (๖) เป็นผู้มีส่วนได้เสียตามมาตรา ๒๓ (๗) เป็นผู้อยู่ในระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิ เลือกตั้งหรือเคยถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งหรือ สิทธิสมัครรับเลือกตั้ง หรือเป็นผู้อยู่ในระหว่าง ต้องห้ามหรือเคยถูกตัดสิทธิมิให้ด ารงต าแหน่ง ทางการเมืองตามรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย ทั้งนี้ไม่ว่าด้วยเหตุใด (๘) เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจาก ราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือหน่วยงานของ เอกชน เพราะทุจริตต่อหน้าที่หรือถือว่ากระท า การทุจริตหรือประพฤติมิชอบ (๙) เคยเป็นผู้ต้องพ้นจากต าแหน่งกรรมการ หรือผู้บริหารบริษัทมหาชนจ ากัด เพราะเหตุมี ลักษณะที่แสดงถึงการขาดความเหมาะสมที่ จะได้รับความไว้วางใจให้บริหารจัดการกิจการ ที่มีมหาชนเป็นผู้ถือหุ้นตามกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (๑๐) เคยต้องค าพิพากษาให้ทรัพย์สินตกเป็น ของแผ่นดินเพราะร ่ารวยผิดปกติหรือมี ทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ (๑๑) เคยต้องค าพิพากษาถึงที่สุดว่ากระท า ความผิดต่อต าแหน่งหน้าที่ราชการ หรือ ความผิดต่อต าแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม หรือกระท าผิดกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติดหรือ กฎหมายเกี่ยวกับการพนันในฐานความผิด เป็นเจ้ามือหรือเจ้าส านัก

มาตรา ๑๘

การแต่งตั้งเลขาธิการให้ท าเป็นสัญญาจ้างตาม แบบที่คณะกรรมการนโยบายก าหนดโดย ประธานกรรมการนโยบายเป็นผู้ลงนามใน สัญญาจ้าง สัญญาจ้างตามวรรคหนึ่งอย่างน้อยต้องมี ข้อก าหนดเกี่ยวกับการด ารงต าแหน่ง เงื่อนไข การท างาน การประเมินผลงาน การพ้นจาก ต าแหน่ง การเลิกจ้าง ค่าจ้างและประโยชน์ตอบ แทนอื่นของเลขาธิการ เลขาธิการอยู่ในต าแหน่งตามระยะเวลาที่ ก าหนดไว้ในสัญญาจ้างซึ่งต้องไม่เกินคราวละสี่ ปีและอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้แต่จะด ารง ต าแหน่งติดต่อกันเกินสองวาระไม่ได้ ให้คณะกรรมการนโยบายเป็นผู้ก าหนดอัตรา ค่าจ้างและประโยชน์ตอบแทนอื่นของเลขาธิการ

มาตรา ๑๙

นอกจากการพ้นจากต าแหน่งตามระยะเวลาที่ ก าหนดไว้ในสัญญาจ้าง เลขาธิการพ้นจาก ต าแหน่งเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้าม ตามมาตรา ๑๗ (๔) ไม่ผ่านการประเมินผลงาน (๕) ถูกเลิกจ้างตามเงื่อนไขที่ก าหนดไว้ใน สัญญาจ้าง (๖) คณะกรรมการนโยบายมีมติให้เลิกจ้าง เพราะมีความประพฤติเสื่อมเสีย

มาตรา ๒๐

เลขาธิการมีหน้าที่และอ านาจ ดังต่อไปนี้ (๑) รับผิดชอบการบริหารกิจการของ ส านักงานให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ บรรลุผลส าเร็จตามวัตถุประสงค์และเป็นไป ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ รวมทั้ง นโยบาย แผน และมาตรการที่ คณะกรรมการนโยบายก าหนด (๒) บังคับบัญชา บรรจุแต่งตั้ง ถอดถอน เลื่อน ลด ตัดเงินเดือนหรือค่าจ้าง ลงโทษทาง วินัยพนักงานและลูกจ้างของส านักงาน ตลอดจนให้พนักงานหรือลูกจ้างของ ส านักงานออกจากต าแหน่ง ทั้งนี้ตาม ข้อบังคับที่คณะกรรมการ นโยบายก าหนด แต่ ถ้าเป็นต าแหน่งรองเลขาธิการและผู้ตรวจสอบ ภายในต้องได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการนโยบายก่อน (๓) ก าหนดระเบียบและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการ ปฏิบัติงานของส านักงาน พนักงานและลูกจ้าง โดยไม่ขัดหรือแย้งกับระเบียบ ข้อบังคับ หรือ มติที่คณะกรรมการนโยบายก าหนด (๔) ออกระเบียบเพื่อปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้หรือเพื่อประโยชน์ในการ ด าเนินการภายในเขตพัฒนาพิเศษภาค ตะวันออกให้เป็นไปตามหลักการบริหาร กิจการที่ดีและหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน (๕) ปฏิบัติการอื่นตามที่ คณะกรรมการนโยบายมอบหมาย ในกิจการของส านักงานที่เกี่ยวข้องกับ บุคคลภายนอก ให้เลขาธิการเป็นผู้แทน ส านักงาน เพื่อการนี้เลขาธิการอาจมอบอ านาจ ให้รองเลขาธิการหรือพนักงานกระท าการแทนก็ ได้และในกรณีมีความจ าเป็นซึ่งมิใช่กรณีตาม มาตรา ๔๓ เลขาธิการอาจมอบอ านาจให้บุคคล อื่นกระท าการแทนได้ ทั้งนี้ตามระเบียบที่ คณะกรรมการนโยบายก าหนด ระเบียบตาม (๔) เมื่อได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการนโยบายและประกาศในราชกิจจา นุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้

มาตรา ๒๑

ให้มีรองเลขาธิการตามจ านวนที่ คณะกรรมการนโยบายก าหนดเพื่อช่วย เลขาธิการในการปฏิบัติหน้าที่ตามที่เลขาธิการ มอบหมาย คุณสมบัติและลักษณะต้องห้าม การแต่งตั้งและ การพ้นจากต าแหน่งของรองเลขาธิการให้เป็นไป ตามที่คณะกรรมการนโยบายก าหนด

มาตรา ๒๒

ในกรณีที่ไม่มีผู้ด ารงต าแหน่งเลขาธิการหรือมีแต่ ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ให้คณะกรรมการ นโยบายแต่งตั้งรองเลขาธิการคนหนึ่งเป็นผู้ รักษาการแทนเลขาธิการ ในกรณีที่ไม่มีรอง เลขาธิการหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ให้ คณะกรรมการนโยบายแต่งตั้งพนักงานของ ส านักงานคนหนึ่งเป็นผู้รักษาการแทนเลขาธิการ ให้ผู้รักษาการแทนเลขาธิการตามวรรคหนึ่งมี หน้าที่และอ านาจอย่างเดียวกับเลขาธิการ

มาตรา ๒๓

เลขาธิการและรองเลขาธิการต้องไม่เป็นผู้มีส่วน ได้เสียในสัญญากับส านักงานหรือในกิจการที่ กระท าหรือจะกระท าให้แก่ส านักงาน ไม่ว่า ทางตรงหรือทางอ้อม คู่สมรสหรือบุตรซึ่งยังไม่บรรลุนิติภาวะของ เลขาธิการหรือรองเลขาธิการผู้ใดกระท าการตาม วรรคหนึ่ง ให้ถือว่าเลขาธิการหรือรองเลขาธิการ ผู้นั้นมีส่วนได้เสียในกิจการของส านักงาน ความในวรรคหนึ่งไม่ใช้บังคับแก่กรณีที่ เลขาธิการหรือรองเลขาธิการได้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการนโยบายให้เป็นกรรมการใน บริษัทจ ากัดหรือบริษัทมหาชนจ ากัดที่ส านักงาน เป็นผู้ถือหุ้น นิติกรรมใดที่ได้ท าขึ้นโดยฝ่าฝืนมาตรานี้ไม่มีผล ผูกพันส านักงาน เว้นแต่คณะกรรมการนโยบาย จะได้ให้สัตยาบัน

มาตรา ๒๔

รายได้ของส านักงานมีดังต่อไปนี้ (๑) เงินอุดหนุนทั่วไปที่รัฐบาลจัดสรรให้ตาม ความเหมาะสมและจ าเป็น (๒) เงิน ทรัพย์สิน หรือผลประโยชน์อันได้มา จากการลงทุน การประกอบกิจการ หรือการ ด าเนินงานตามหน้าที่และอ านาจของ ส านักงาน (๓) เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคให้ (๔) ดอกผลหรือผลประโยชน์อื่นที่เกิดจากเงิน หรือทรัพย์สินของส านักงาน บรรดารายได้ที่ส านักงานได้รับจากการ ด าเนินงานให้ตกเป็นของส านักงาน และเมื่อหัก ค่าใช้จ่ายส าหรับการด าเนินงานและค่าภาระต่าง ๆ ที่เหมาะสม เช่น ค่าบ ารุงรักษาและค่าเสื่อม ราคา ประโยชน์ตอบแทนของ คณะกรรมการนโยบาย พนักงานและลูกจ้างของ ส านักงาน เงินสมทบกองทุนเพื่อการสงเคราะห์ และสวัสดิการ เงินกองทุน และเงินส ารองเพื่อใช้ จ่ายในกิจการของส านักงานแล้วเหลือเท่าใดให้ น าส่งเป็นรายได้ของรัฐ เงินส ารองเพื่อใช้จ่ายในกิจการของส านักงาน ตามวรรคสอง ประกอบด้วยเงินส ารองธรรมดา ซึ่งตั้งไว้เผื่อขาด เงินส ารองเพื่อขยายกิจการ เงิน ส ารองเพื่อไถ่ถอนหนี้และเงินส ารองอื่นตามที่ คณะกรรมการนโยบายก าหนด ทั้งนี้การ ก าหนดวงเงินส ารองแต่ละประเภทต้องได้รับ ความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง การน าเงินส ารองออกมาใช้ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่คณะกรรมการนโยบาย ก าหนด ทรัพย์สินของส านักงานไม่อยู่ในความรับผิดแห่ง การบังคับคดีและผู้ใดจะยกอายุความขึ้นเป็นข้อ ต่อสู้มิได้

มาตรา ๒๕

ให้ส านักงานวางและรักษาไว้ซึ่งระบบบัญชีที่ เหมาะสมโดยถูกต้องตามหลักการบัญชีที่รับรอง ทั่วไปและสอดคล้องกับระบบบัญชีที่ กระทรวงการคลังได้วางไว้ ปีบัญชีให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการนโยบาย ก าหนด

มาตรา ๒๖

ให้ส านักงานจัดให้มีการตรวจสอบภายในเป็น ประจ า ให้คณะกรรมการนโยบายแต่งตั้งกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิจ านวนไม่น้อยกว่าสามคนเป็น คณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อเสนอความเห็น เกี่ยวกับผลการตรวจสอบภายในต่อ คณะกรรมการนโยบาย ในการตรวจสอบภายใน ให้ผู้ตรวจสอบภายใน รายงานผลการตรวจสอบโดยตรงต่อ คณะกรรมการตรวจสอบ ให้น าบทบัญญัติว่าด้วยคณะกรรมการที่มี อ านาจด าเนินการพิจารณาทางปกครองตาม กฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง มาใช้บังคับแก่การประชุมของคณะกรรมการ ตรวจสอบด้วยโดยอนุโลม

มาตรา ๒๗

ให้ส านักงานการตรวจเงินแผ่นดินหรือผู้สอบ บัญชีอิสระที่ส านักงานการตรวจเงินแผ่นดินให้ ความเห็นชอบเป็นผู้สอบบัญชีของส านักงาน

มาตรา ๒๘

ให้ผู้สอบบัญชีรายงานผลการสอบบัญชีต่อ คณะกรรมการนโยบายเพื่อเสนอต่อ คณะรัฐมนตรีภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วัน ิ้นปีบัญชีและให้ส านักงานเผยแพร่งบการเงินที่ ผู้สอบบัญชีรับรองแล้วภายในสิบห้าวันนับแต่ วันที่คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบ

หมวด ๔ การพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาค ตะวันออก

มาตรา ๒๙

ให้ส านักงานจัดท านโยบายและแผนภาพรวม เพื่อการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก แผนการใช้ประโยชน์ในที่ดินในภาพรวม แผนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบ สาธารณูปโภค แผนการด าเนินงาน และแผนการ ให้บริการภาครัฐแบบเบ็ดเสร็จครบวงจรที่ สะดวกและรวดเร็ว เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ ได้รับประโยชน์สูงสุดและให้การใช้พื้นที่มี ประสิทธิภาพ พร้อมทั้งก าหนดหน่วยงานของรัฐ ที่เกี่ยวข้องซึ่งรับผิดชอบการด าเนินการเสนอต่อ คณะกรรมการนโยบายเพื่อให้ความเห็นชอบ และเมื่อคณะกรรมการนโยบายให้ความเห็นชอบ แล้ว ให้เป็นหน้าที่ของหน่วยงานดังกล่าวในการ ด าเนินการ เว้นแต่คณะกรรมการนโยบายจะ ก าหนดเป็นอย่างอื่น นโยบายและแผนตามวรรคหนึ่งต้องค านึงถึง ความเชื่อมโยงกับแผนการใช้ประโยชน์ในที่ดิน และแผนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบ สาธารณูปโภคของพื้นที่ต่อเนื่องกับเขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออกโดยให้ยึดหลักการคุ้มครอง เคารพ และเยียวยาให้แก่ผู้ได้รับผลกระทบตาม หลักการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนใน บริบทของการประกอบธุรกิจ และสิทธิตาม กฎหมายที่เกี่ยวข้องด้วย

มาตรา ๓๐

เมื่อคณะกรรมการนโยบายให้ความเห็นชอบ แผนตามมาตรา ๒๙ แล้ว ให้ส านักงานร่วมกับ กรมโยธาธิการและผังเมืองและหน่วยงานของรัฐ ที่เกี่ยวข้องจัดท ารายละเอียดของแผนผังการใช้ ประโยชน์ในที่ดิน และแผนผังการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภคให้ สอดคล้องกับแผนดังกล่าว โดยต้องด าเนินการ ให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่ คณะกรรมการนโยบายให้ความเห็นชอบแผนนั้น แผนผังการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบ สาธารณูปโภคตามวรรคหนึ่ง ต้องค านึงถึงความ ต่อเนื่องและเชื่อมโยงกับโครงสร้างพื้นฐานและ ระบบสาธารณูปโภคของพื้นที่ต่อเนื่องกับเขต พัฒนาพิเศษภาคตะวันออกด้วย และอย่างน้อย ต้องประกอบด้วยระบบดังต่อไปนี้ (๑) ระบบสาธารณูปโภค (๒) ระบบคมนาคมและขนส่ง (๓) ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร (๔) ระบบการตั้งถิ่นฐานและภูมิสังคม (๕) ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมแก่ การประกอบอุตสาหกรรมเป้าหมาย อุตสาหกรรมเป้าหมายพิเศษ และการ ประกอบกิจการ (๖) ระบบบริหารจัดการน ้า (๗) ระบบการควบคุมและขจัดมลภาวะ (๘) ระบบป้องกันอุบัติภัย ในการด าเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้ส านักงาน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องค านึงถึงความสัมพันธ์ กับชุมชน สุขภาวะของประชาชน สภาพแวดล้อม และระบบนิเวศตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน ด้วย ทั้งนี้โดยให้สร้างความรับรู้ที่ถูกต้องแก่ ประชาชนในพื้นที่และรับฟังความคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะของผู้มีส่วนได้เสีย ประชาชน และ ชุมชนที่เกี่ยวข้อง เพื่อประกอบการพิจารณาด้วย

มาตรา ๓๑

ในระหว่างการจัดท าแผนผังตามมาตรา ๓๐ (๑) ให้ด าเนินการตามหลักวิชาการผังเมือง (๒) คณะกรรมการนโยบายจะมีมติให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด าเนินการตามนโยบาย และแผนตามมาตรา ๒๙ ในเรื่องใดไปพลาง ก่อนก็ได้

มาตรา ๓๒

แผนผังที่จัดท าขึ้นตามมาตรา ๓๐ เมื่อได้รับ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการนโยบายและ คณะรัฐมนตรีอนุมัติแล้ว ให้ผังเมืองตาม กฎหมายว่าด้วยการผังเมืองในส่วนที่ใช้บังคับใน เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกอยู่ก่อนวันที่ คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติแผนผังนั้นเป็นอัน ยกเลิกไป และให้กรมโยธาธิการและผังเมือง ด าเนินการจัดท าผังเมืองขึ้นใหม่ให้สอดคล้องกับ แผนผังดังกล่าว ในระหว่างที่ยังจัดท าผังเมืองไม่ แล้วเสร็จให้ถือว่าแผนผังที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติ เป็นผังเมืองรวมตามกฎหมายว่าด้วยการผังเมือง ส าหรับแต่ละจังหวัดที่อยู่ในเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก

มาตรา ๓๓

ในกรณีที่มีความจ าเป็นที่จะต้องด าเนินการใด เพื่อการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก หรือเพื่อสนับสนุนหรืออ านวยความสะดวกใน การพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกให้ เกิดการบรูณาการและผลสมั ฤทธิ์และมี ประสิทธิภาพสูงสุด ไม่ว่าการนั้นจ าเป็นต้อง ด าเนินการภายในหรือภายนอกเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก หากการด าเนินการดังกล่าวเป็น หน้าที่และอ านาจของหน่วยงานของรัฐหน่วยใด หน่วยหนึ่งหรือหลายหน่วย คณะรัฐมนตรีจะ ก าหนดให้หน่วยงานของรัฐหน่วยใดหน่วยหนึ่ง หรือส านักงานเป็นผู้ด าเนินการแต่เพียงหน่วย เดียว หรือให้หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องทั้งหมด หรือบางหน่วยร่วมกันด าเนินการหรือร่วมกับ ส านักงานด าเนินการก็ได้โดยคณะรัฐมนตรีจะ ก าหนดระยะเวลาในการด าเนินการ มาตรฐาน และคุณลักษณะเฉพาะที่จะต้องด าเนินการให้ สอดคล้องกับแผนภาพรวมเพื่อการพัฒนาเขต พัฒนาพิเศษภาคตะวันออกด้วยก็ได้ ในการด าเนินการตามวรรคหนึ่ง หากมีกฎหมาย ก าหนดให้ผู้ด าเนินการนั้นต้องได้รับอนุมัติหรือ อนุญาตหรือต้องได้รับความเห็นชอบจาก หน่วยงานของรัฐหน่วยใด ให้คณะกรรมการ นโยบายเป็นผู้พิจารณาอนุมัติหรืออนุญาตหรือ ให้ความเห็นชอบแทนหน่วยงานของรัฐตาม กฎหมายว่าด้วยการนั้น แต่ต้องแจ้งให้หน่วยงาน ของรัฐที่มีอ านาจอนุมัติหรืออนุญาตหรือให้ ความเห็นชอบตามกฎหมายนั้นทราบก่อนเข้า ด าเนินการและเพื่อประโยชน์แห่งการนี้ให้ หน่วยงานของรัฐที่มีอ านาจอนุมัติหรืออนุญาต หรือให้ความเห็นชอบตามกฎหมายนั้นมีหน้าที่ ให้ความร่วมมือและอ านวยความสะดวกแก่ หน่วยงานของรัฐหรือส านักงานที่ได้รับ มอบหมายจากคณะรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่ง ถ้าคณะรัฐมนตรีมิได้ก าหนดไว้เป็นประการอื่น หน่วยงานของรัฐหรือส านักงานที่ได้รับ มอบหมายจากคณะรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่งจะ มอบให้เอกชนเป็นผู้ด าเนินการก็ได้ในกรณี เช่นนั้น ให้ถือว่าเอกชนนั้นได้รับอนุมัติหรือ อนุญาตหรือได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการนโยบายแทนหน่วยงานของรัฐ ตามกฎหมายนั้นแล้ว แต่หน่วยงานของรัฐหรือ ส านักงานที่ได้รับมอบหมายจากคณะรัฐมนตรี ตามวรรคหนึ่งต้องควบคุมดูแลการด าเนินการ ของเอกชนดังกล่าวให้เป็นไปตามกฎหมายนั้น ด้วย

มาตรา ๓๔

ในกรณีที่มีความจ าเป็นต้องได้มาซึ่งที่ดินหรือ อสังหาริมทรัพย์อื่นเพื่อประโยชน์ในการพัฒนา เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ให้ส านักงานมี อ านาจด าเนินการโดยวิธีการจัดซื้อเช่า เช่าซื้อ แลกเปลี่ยน เวนคืน หรือโดยวิธีการอื่นตาม หลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการนโยบายก าหนด ก่อนการด าเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้ คณะกรรมการนโยบายแต่งตั้งคณะกรรมการ เฉพาะกิจขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อศึกษาความ เหมาะสมของพื้นที่ ความเหมาะสมทางด้าน การเงิน ตลอดจนผลกระทบและแนวทางหรือ มาตรการป้องกัน แก้ไข หรือเยียวยาผลกระทบ ดังกล่าวและความคุ้มค่าที่ประชาชนในพื้นที่ และรัฐจะได้รับ ที่ดินที่ส านักงานได้มาตามพระราชบัญญัตินี้ ส านักงานมีอ านาจใช้หรือจัดหาประโยชน์ใน ที่ดินนั้นได้ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการ นโยบายก าหนด และถ้าเป็นที่ดินที่ได้มาจากการ ื้อเช่าซื้อ หรือแลกเปลี่ยนกับที่ดินที่ซื้อหรือเช่า ซื้อ หรือมีผู้อุทิศให้ใหต้ กเป็นกรรมสิทธิ์ของ ส านักงานและให้ส านักงานมีอ านาจขาย แลกเปลี่ยน หรือให้เช่าซื้อได้

มาตรา ๓๕

ให้ส านักงานและผู้ซึ่งท าธุรกรรมกับส านักงานใน กิจการเกี่ยวกับที่ดินและอสังหาริมทรัพย์บรรดา ที่กฎหมายก าหนดให้ต้องมีการจดทะเบียนสิทธิ และนิติกรรม ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสีย ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม ตามกฎหมายนั้น

มาตรา ๓๖

ในกรณีที่มีความจ าเป็นเพื่อการพัฒนาเขต พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก คณะกรรมการ นโยบายโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีมี อ านาจให้ส านักงานเข้าใช้ประโยชน์ที่ดินที่ ส านักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มา ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม เพื่อการด าเนินการหรือประกอบ กิจการอื่นใดนอกเหนือจากที่ก าหนดไว้ใน กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ได้โดยไม่ต้องด าเนินการเพิกถอนเขตปฏิรูปที่ดิน ส าหรับที่ดินส่วนนั้น ในการใช้ที่ดินตามวรรคหนึ่ง ให้อ านาจของ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมตาม กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เป็นอ านาจของคณะกรรมการนโยบาย และให้ หน้าที่และอ านาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เป็นหน้าที่และอ านาจของเลขาธิการหรือผู้ซึ่ง เลขาธิการมอบหมาย ที่ดินที่ส านักงานมีอ านาจใช้ตามวรรคหนึ่ง ส านักงานโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ นโยบายจะมอบให้บุคคลอื่นใช้โดยมี ค่าตอบแทนได้ตามหลักเกณฑ์วิธีการและ เงื่อนไขที่คณะกรรมการนโยบายก าหนด ในกรณีที่ที่ดินที่ส านักงานมีอ านาจเข้าใช้ตาม วรรคหนึ่งมีบุคคลอื่นมีสิทธิใช้ประโยชน์อยู่ก่อน ให้ส านักงานจัดหาที่ดินอื่นให้ผู้นั้นใช้แทนหรือจะ จ่ายค่าชดเชยหรือให้ประโยชน์ตอบแทนอื่นตาม หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการ นโยบายก าหนด

มาตรา ๓๗

เพื่อให้การพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาค ตะวันออกเป็นไปตามวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๖ และนโยบายและแผนตามมาตรา ๒๙ ให้ คณะกรรมการนโยบายเป็นผู้มีอ านาจอนุมัติ อนุญาต ให้สิทธิหรือให้สัมปทานแก่บุคคลซึ่ง ด าเนินการอันเป็นประโยชน์โดยตรงต่อการ พัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกตาม กฎหมายดังต่อไปนี้ด้วย แต่ในกรณีเป็นการ ด าเนินการภายนอกเขตพัฒนาพิเศษภาค ตะวันออกจะต้องเป็นเรื่องที่เชื่อมโยงกันและต้อง ได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีผู้รักษาการตาม กฎหมายนั้น (๑) ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ ๕๘ ลง วันที่ ๒๖ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๑๕ เว้นแต่ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่และอ านาจของ กระทรวงการคลัง (๒) กฎหมายว่าด้วยการเดินเรือในน่านน ้าไทย (๓) กฎหมายว่าด้วยการชลประทานหลวง (๔) กฎหมายว่าด้วยการประกอบกิจการ พลังงาน (๕) กฎหมายว่าด้วยทางหลวงสัมปทาน (๖) กฎหมายว่าด้วยพลังงานนิวเคลียร์เพื่อ สันติ ในการอนุมัติอนุญาต ให้สิทธิหรือให้สัมปทาน ตามวรรคหนึ่ง ให้คณะกรรมการนโยบาย ค านึงถึงหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่ก าหนด ไว้ตามกฎหมายนั้น แต่ในกรณีที่คณะกรรมการ นโยบายเห็นว่าหากมีการแก้ไขเพิ่มเติม หลักเกณฑ์วิธีการ หรือเงื่อนไขเช่นว่านั้นจะท า ให้การอนุมัติอนุญาต ให้สิทธิหรือให้สัมปทาน ดังกล่าวมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ให้แจ้งให้ผู้มีหน้าที่ และอ านาจตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อเสนอ ความเห็น และเมื่อคณะกรรมการนโยบาย พิจารณาแล้ว ให้ประกาศหลักเกณฑ์วิธีการ หรือเงื่อนไขที่เห็นสมควรในราชกิจจานุเบกษา และให้คณะกรรมการนโยบายอนุมัติอนุญาต ให้สิทธิหรือให้สัมปทาน ตามหลักเกณฑ์วิธีการ หรือเงื่อนไขที่แก้ไขเพิ่มเติมนั้น เมื่อคณะกรรมการนโยบายได้อนุมัติอนุญาต ให้ สิทธิหรือให้สัมปทานตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้ เลขาธิการหรือพนักงานของส านักงานซึ่ง เลขาธิการมอบหมายมีฐานะเป็นเจ้าพนักงาน หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งมีหน้าที่และอ านาจใน การบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมายตามวรรค หนึ่งด้วย

มาตรา ๓๘

เพื่อประโยชน์ในการด าเนินงานของส านักงานให้ เกิดประสิทธิภาพ เลขาธิการอาจขอให้ ข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยงาน ของรัฐมาปฏิบัติงานเป็นพนักงานหรือลูกจ้าง ของส านักงานเป็นการชั่วคราวได้แต่ต้องท า ความตกลงกับหน่วยงานของรัฐนั้นก่อน และเมื่อ หมดความจ าเป็นเมื่อใด ให้รีบส่งตัวผู้นั้นคืน สังกัดเดิม ให้ถือว่าข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของ หน่วยงานของรัฐที่มาปฏิบัติงานเป็นพนักงาน หรือลูกจ้างของส านักงานเป็นการชั่วคราวตาม วรรคหนึ่งไม่ขาดจากสถานภาพเดิมและคงได้รับ เงินเดือนหรือค่าจ้าง แล้วแต่กรณีจากสังกัดเดิม คณะกรรมการนโยบายอาจก าหนดค่าตอบแทน พิเศษให้แก่ข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของ หน่วยงานของรัฐตามวรรคหนึ่งในระหว่าง ปฏิบัติงานในส านักงานด้วยก็ได้

หมวด ๕ เขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ

มาตรา ๓๙

เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาอุตสาหกรรมของ ประเทศไปสู่การใช้เทคโนโลยีขั้นสูง สร้าง นวัตกรรม และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมทั้ง การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันใน ด้านต่างๆ คณะกรรมการนโยบายอาจ ก าหนดให้มีเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษขึ้นเพื่อ พัฒนาและส่งเสริมอุตสาหกรรมเป้าหมายพิเศษ ด้านใดด้านหนึ่งหรือหลายด้าน หรือเพื่อส่งเสริม ให้เกิดกิจการที่เกี่ยวเนื่องหรือเป็นประโยชน์ต่อ การพัฒนาและส่งเสริมอุตสาหกรรมเป้าหมาย พิเศษหรือเพื่อให้เกิดการถ่ายทอดความรู้ความ เชี่ยวชาญจากผู้ประกอบกิจการในเขตส่งเสริม เศรษฐกิจพิเศษ สถาบันการศึกษาหรือ สถาบันวิจัยที่มีศักยภาพสูงด้วย ในการก าหนดอุตสาหกรรมเป้าหมายพิเศษ คณะกรรมการนโยบายจะประกาศก าหนดจาก อุตสาหกรรมเป้าหมายทั้งหมดหรือบางส่วน หรือ อุตสาหกรรมอื่นนอกเหนือจากอุตสาหกรรม เป้าหมายโดยอาจรวมถึงอุตสาหกรรมการบริการ อุตสาหกรรมท่องเที่ยวและการจัดประชุม หรือ อุตสาหกรรมอื่นใดด้วยก็ได้แต่อย่างน้อยต้อง ประกอบด้วยอุตสาหกรรมด้านต่าง ๆ ที่มีการ พัฒนาตามวรรคหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (๑) ยานยนต์สมัยใหม่ (๒) อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ (๓) การท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและการ ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (๔) การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ (๕) การแปรรูปอาหาร (๖) หุ่นยนต์ (๗) การบินและโลจิสติกส์ (๘) เชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ (๙) ดิจิทัล (๑๐) การแพทย์และสุขภาพครบวงจร ในการส่งเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรม เป้าหมายพิเศษตามวรรคสอง ให้น าหลักการการ ออกแบบที่เป็นสากล และการพัฒนาเทคโนโลยี สิ่งอ านวยความสะดวกมาประกอบการพิจารณา ด้วย ในการส่งเสริมอุตสาหกรรมเป้าหมายพิเศษตาม วรรคสอง ให้ค านึงถึงการจัดสิ่งอ านวยความ สะดวกและการให้บริการแก่ผู้ประกอบกิจการใน เขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ และผู้ซึ่งเข้ามา ปฏิบัติงานในเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษด้วย

มาตรา ๔๐

ในกรณีที่เห็นสมควร คณะกรรมการนโยบายจะ ก าหนดให้พื้นที่ใดในเขตพัฒนาพิเศษภาค ตะวันออกเป็นเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษเพื่อ วัตถุประสงค์ในการผลักดันการลงทุนใน อุตสาหกรรมเป้าหมายพิเศษด้านใดด้านหนึ่ง หรือหลายด้านที่ไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อกันก็ได้ ก่อนการก าหนดเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษตาม วรรคหนึ่ง ให้ส านักงานจัดให้มีการศึกษาความ เป็นไปได้ในการด าเนินการ ประโยชน์ผลกระทบ และมาตรการเยียวยาผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นแก่ ประชาชนหรือชุมชนที่อาจได้รับความเดือดร้อน หรือเสียหาย พร้อมทั้งจัดท าร่างแผนผังการใช้ ประโยชน์ในที่ดินในเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ โดยให้น าความในมาตรา ๓๐ วรรคสาม มาใช้ บังคับด้วยโดยอนุโลม และให้เผยแพร่ผล การศึกษาและร่างแผนผังดังกล่าวในระบบ เครือข่ายสารสนเทศของส านักงานและวิธีการอื่น ที่ท าให้ประชาชนทราบได้เป็นการทั่วไปด้วย

มาตรา ๔๑

เจ้าของที่ดินซึ่งมีที่ดินที่ตั้งอยู่ภายในพื้นที่เขต พัฒนาพิเศษภาคตะวันออกอาจขอให้ส านักงาน ด าเนินการก าหนดให้ที่ดินบริเวณดังกล่าวเป็น เขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษได้โดยต้องปฏิบัติ ตามหลักเกณฑ์วิธีการ เงื่อนไขและช าระ ค่าบริการและค่าใช้จ่ายในการด าเนินการตาม มาตรา ๔๐ วรรคสอง ตามที่ส านักงานประกาศ ก าหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ นโยบาย ในกรณีที่ส านักงานด าเนินการตามวรรคหนึ่งแล้ว เห็นว่าที่ดินบริเวณดังกล่าวเหมาะสมที่จะ ประกาศก าหนดให้เป็นเขตส่งเสริมเศรษฐกิจ พิเศษ และผมู้ีกรรมสิทธิ์ในท่ีดินดงักล่าวไดใ้ห้ ความยินยอมที่จะรับผิดชอบการเยียวยา ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นแก่ประชาชนหรือชุมชนที่ อาจได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายตาม แนวทางที่ส านักงานก าหนดแล้ว ให้ส านักงาน เสนอคณะกรรมการนโยบายพิจารณาเพื่อ ประกาศก าหนดพื้นที่ดังกล่าวเป็นเขตส่งเสริม เศรษฐกิจพิเศษได้ ในกรณีที่ผู้ยื่นค าขอตามวรรคหนึ่งเป็นประชาชน ในพื้นที่ร่วมกันยื่นค าขอ ส านักงานจะด าเนินการ โดยลดหรือยกเว้นค่าบริการและค่าใช้จ่ายให้ก็ได้ ้งนี้ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ คณะกรรมการนโยบายก าหนด

มาตรา ๔๒

การจัดตั้ง เปลี่ยนแปลงเขต และการยุบเลิกเขต ส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษแต่ละเขต ให้ คณะกรรมการนโยบายประกาศในราชกิจจา นุเบกษา ประกาศจัดตั้งเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษตาม วรรคหนึ่งอย่างน้อยต้องมีสาระส าคัญ ดังต่อไปนี้ (๑) ชื่อของเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ (๒) วัตถุประสงค์ของเขตส่งเสริมเศรษฐกิจ พิเศษ (๓) บริเวณของเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ โดยให้มีแผนที่ก าหนดแนวเขตไว้ท้ายประกาศ ด้วย (๔) แผนผังการใช้ประโยชน์ในที่ดินในเขต ส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ ให้น าความในมาตรา ๓๐ มาตรา ๓๑ และ มาตรา ๓๒ มาใช้บังคับแก่การจัดท าแผนผังและ ผลบังคับของแผนผังตาม (๔) ด้วยโดยอนุโลม

มาตรา ๔๓

การด าเนินการหรือการกระท าใดภายในเขต ส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย ดังต่อไปนี้หากกฎหมายก าหนดให้ผู้ด าเนินการ หรือผู้กระท าต้องได้รับอนุมัติอนุญาต ใบอนุญาต หรือความเห็นชอบจากหน่วยงาน ของรัฐหรือคณะกรรมการตามกฎหมายนั้น หรือ ต้องจดทะเบียน หรือแจ้งต่อหน่วยงานของรัฐ หรือคณะกรรมการตามกฎหมายนั้นก่อน ให้ถือ ว่าเลขาธิการเป็นผู้มีอ านาจอนุมัติอนุญาต ออก ใบอนุญาต หรือให้ความเห็นชอบ หรือเป็นผู้มี อ านาจในการรับจดทะเบียนหรือรับแจ้งตาม กฎหมายนั้น (๑) กฎหมายว่าด้วยการขุดดินและถมดิน (๒) กฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร (๓) กฎหมายว่าด้วยการจดทะเบียนเครื่องจักร (๔) กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข (๕) กฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง เฉพาะเพื่อ การอนุญาตให้คนต่างด้าวตามมาตรา ๕๔ (๑) หรือ(๒) อยู่ต่อในราชอาณาจักร (๖) กฎหมายว่าด้วยทะเบียนพาณิชย์ (๗) กฎหมายว่าด้วยโรงงาน (๘) กฎหมายว่าด้วยการจัดสรรที่ดิน เมื่อได้รับอนุมัติอนุญาต ใบอนุญาต หรือความ เห็นชอบจากเลขาธิการหรือได้จดทะเบียนหรือ แจ้งต่อเลขาธิการตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้ถือว่า ผู้ด าเนินการหรือผู้กระท าการนั้นได้รับอนุมัติ อนุญาต ใบอนุญาต หรือความเห็นชอบจาก หน่วยงานของรัฐหรือคณะกรรมการตาม กฎหมายนั้นแล้ว หรือได้จดทะเบียนหรือแจ้งต่อ หน่วยงานของรัฐหรือคณะกรรมการตาม กฎหมายนั้นแล้ว ภายใต้บังคับวรรคสี่ การอนุมัติอนุญาต ออก ใบอนุญาต ให้ความเห็นชอบรับจดทะเบียนหรือ รับแจ้งตามวรรคสอง เลขาธิการต้องปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่ก าหนดไว้ตาม กฎหมายนั้น และต้องแจ้งหน่วยงานของรัฐหรือ คณะกรรมการตามกฎหมายนั้นหรือกฎหมายที่ เกี่ยวข้องเพื่อเก็บไว้เป็นหลักฐาน ในกรณีที่เลขาธิการเห็นว่าหากมีการแก้ไข เพิ่มเติมหลักเกณฑ์วิธีการ หรือเงื่อนไขที่ก าหนด ไว้ตามกฎหมายตามวรรคสาม จะท าให้การ อนุมัติอนุญาต ออกใบอนุญาต ให้ความ เห็นชอบรับจดทะเบียน หรือรับแจ้งตามกฎหมาย นั้นมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ให้แจ้งหน่วยงานของรัฐ หรือคณะกรรมการตามกฎหมายนั้นเพื่อเสนอ ความเห็น และเสนอคณะกรรมการนโยบาย พิจารณา หากคณะกรรมการนโยบายเห็นชอบ ให้เลขาธิการด าเนินการตามหลักเกณฑ์วิธีการ หรือเงื่อนไขที่แก้ไขเพิ่มเติมนั้น แทนหลักเกณฑ์ วิธีการ หรือเงื่อนไขที่มีอยู่เดิม เลขาธิการจะมอบอ านาจตามวรรคหนึ่ง ให้รอง เลขาธิการ พนักงานของส านักงานหรือเจ้าหน้าที่ ของรัฐในหน่วยงานใดที่เกี่ยวข้องเป็นผู้ ปฏิบัติการแทนก็ได้เมื่อมีการมอบอ านาจ ดังกล่าวให้แจ้งหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องทราบ ด้วย ให้เลขาธิการ รองเลขาธิการ พนักงานของ ส านักงาน และเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งได้รับมอบ อ านาจตามวรรคห้า มีฐานะเป็นเจ้าพนักงาน หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งมีหน้าที่และอ านาจใน การบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมายตามวรรค หนึ่งด้วย

มาตรา ๔๔

ผู้ขอรับอนุมัติอนุญาต ใบอนุญาต ความ เห็นชอบ หรือขอจดทะเบียนหรือแจ้งตามมาตรา ๔๓ มีสิทธิอุทธรณ์ค าสั่งของเลขาธิการต่อ คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ที่คณะกรรมการ นโยบายแต่งตั้งได้ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ ได้รับค าสั่งนั้น การอุทธรณ์ตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามระเบียบ ที่คณะกรรมการนโยบายก าหนดโดยประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาและให้ถือว่าเป็นการอุทธรณ์ ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องนั้นแล้ว ค าวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ตามวรรคหนึ่งให้เป็นที่สุด

มาตรา ๔๕

ในการอนุมัติอนุญาต ออกใบอนุญาต ให้ความ เห็นชอบ รับจดทะเบียน หรือรับแจ้งตามมาตรา ๔๓ ให้เลขาธิการมีอ านาจเรียกเก็บ ค่าธรรมเนียม ค่าตอบแทน ค่าใช้จ่ายหรือค่าอื่น ใดที่กฎหมาย ข้อบัญญัติหรือเทศบัญญัติว่า ด้วยการนั้นก าหนดไว้และให้มีอ านาจเรียกเก็บ ค่าบริการในการด าเนินการดังกล่าวเพิ่มเติมได้ ตามอัตราที่คณะกรรมการนโยบายประกาศ ก าหนด ค่าธรรมเนียม ค่าตอบแทน ค่าใช้จ่าย หรือค่าอื่น ใดที่เลขาธิการเรียกเก็บตามวรรคหนึ่ง ให้น าส่ง หน่วยงานของรัฐที่มีอ านาจเรียกเก็บ ค่าธรรมเนียมนั้น

หมวด ๔ การพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาค ตะวันออก

มาตรา ๒๙

ให้ส านักงานจัดท านโยบายและแผนภาพรวม เพื่อการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก แผนการใช้ประโยชน์ในที่ดินในภาพรวม แผนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบ สาธารณูปโภค แผนการด าเนินงาน และแผนการ ให้บริการภาครัฐแบบเบ็ดเสร็จครบวงจรที่ สะดวกและรวดเร็ว เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ ได้รับประโยชน์สูงสุดและให้การใช้พื้นที่มี ประสิทธิภาพ พร้อมทั้งก าหนดหน่วยงานของรัฐ ที่เกี่ยวข้องซึ่งรับผิดชอบการด าเนินการเสนอต่อ คณะกรรมการนโยบายเพื่อให้ความเห็นชอบ และเมื่อคณะกรรมการนโยบายให้ความเห็นชอบ แล้ว ให้เป็นหน้าที่ของหน่วยงานดังกล่าวในการ ด าเนินการ เว้นแต่คณะกรรมการนโยบายจะ ก าหนดเป็นอย่างอื่น นโยบายและแผนตามวรรคหนึ่งต้องค านึงถึง ความเชื่อมโยงกับแผนการใช้ประโยชน์ในที่ดิน และแผนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบ สาธารณูปโภคของพื้นที่ต่อเนื่องกับเขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออกโดยให้ยึดหลักการคุ้มครอง เคารพ และเยียวยาให้แก่ผู้ได้รับผลกระทบตาม หลักการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนใน บริบทของการประกอบธุรกิจ และสิทธิตาม กฎหมายที่เกี่ยวข้องด้วย

มาตรา ๓๐

เมื่อคณะกรรมการนโยบายให้ความเห็นชอบ แผนตามมาตรา ๒๙ แล้ว ให้ส านักงานร่วมกับ กรมโยธาธิการและผังเมืองและหน่วยงานของรัฐ ที่เกี่ยวข้องจัดท ารายละเอียดของแผนผังการใช้ ประโยชน์ในที่ดิน และแผนผังการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภคให้ สอดคล้องกับแผนดังกล่าว โดยต้องด าเนินการ ให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่ คณะกรรมการนโยบายให้ความเห็นชอบแผนนั้น แผนผังการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบ สาธารณูปโภคตามวรรคหนึ่ง ต้องค านึงถึงความ ต่อเนื่องและเชื่อมโยงกับโครงสร้างพื้นฐานและ ระบบสาธารณูปโภคของพื้นที่ต่อเนื่องกับเขต พัฒนาพิเศษภาคตะวันออกด้วย และอย่างน้อย ต้องประกอบด้วยระบบดังต่อไปนี้ (๑) ระบบสาธารณูปโภค (๒) ระบบคมนาคมและขนส่ง (๓) ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (๔) ระบบการตั้งถิ่นฐานและภูมิสังคม (๕) ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมแก่ การประกอบอุตสาหกรรมเป้าหมาย อุตสาหกรรมเป้าหมายพิเศษ และการประกอบ กิจการ (๖) ระบบบริหารจัดการน ้า (๗) ระบบการควบคุมและขจัดมลภาวะ (๘) ระบบป้องกันอุบัติภัย ในการด าเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้ส านักงาน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องค านึงถึงความสัมพันธ์ กับชุมชน สุขภาวะของประชาชน สภาพแวดล้อม และระบบนิเวศตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน ด้วย ทั้งนี้โดยให้สร้างความรับรู้ที่ถูกต้องแก่ ประชาชนในพื้นที่และรับฟังความคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะของผู้มีส่วนได้เสีย ประชาชน และ ชุมชนที่เกี่ยวข้อง เพื่อประกอบการพิจารณาด้วย

มาตรา ๓๑

ในระหว่างการจัดท าแผนผังตามมาตรา ๓๐ (๑) ให้ด าเนินการตามหลักวิชาการผังเมือง (๒) คณะกรรมการนโยบายจะมีมติให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด าเนินการตามนโยบาย และแผนตามมาตรา ๒๙ ในเรื่องใดไปพลาง ก่อนก็ได้

มาตรา ๓๒

แผนผังที่จัดท าขึ้นตามมาตรา ๓๐ เมื่อได้รับ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการนโยบายและ คณะรัฐมนตรีอนุมัติแล้ว ให้ผังเมืองตาม กฎหมายว่าด้วยการผังเมืองในส่วนที่ใช้บังคับใน เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกอยู่ก่อนวันที่ คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติแผนผังนั้นเป็นอัน ยกเลิกไป และให้กรมโยธาธิการและผังเมือง ด าเนินการจัดท าผังเมืองขึ้นใหม่ให้สอดคล้องกับ แผนผังดังกล่าว ในระหว่างที่ยังจัดท าผังเมืองไม่ แล้วเสร็จให้ถือว่าแผนผังที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติ เป็นผังเมืองรวมตามกฎหมายว่าด้วยการผังเมือง ส าหรับแต่ละจังหวัดที่อยู่ในเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก

มาตรา ๓๓

ในกรณีที่มีความจ าเป็นที่จะต้องด าเนินการใด เพื่อการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก หรือเพื่อสนับสนุนหรืออ านวยความสะดวกใน การพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกให้ เกิดการบรูณาการและผลสมั ฤทธิ์และมี ประสิทธิภาพสูงสุด ไม่ว่าการนั้นจ าเป็นต้อง ด าเนินการภายในหรือภายนอกเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก หากการด าเนินการดังกล่าวเป็น หน้าที่และอ านาจของหน่วยงานของรัฐหน่วยใด หน่วยหนึ่งหรือหลายหน่วย คณะรัฐมนตรีจะ ก าหนดให้หน่วยงานของรัฐหน่วยใดหน่วยหนึ่ง หรือส านักงานเป็นผู้ด าเนินการแต่เพียงหน่วย เดียว หรือให้หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องทั้งหมด หรือบางหน่วยร่วมกันด าเนินการหรือร่วมกับ ส านักงานด าเนินการก็ได้โดยคณะรัฐมนตรีจะ ก าหนดระยะเวลาในการด าเนินการ มาตรฐาน และคุณลักษณะเฉพาะที่จะต้องด าเนินการให้ สอดคล้องกับแผนภาพรวมเพื่อการพัฒนาเขต พัฒนาพิเศษภาคตะวันออกด้วยก็ได้ ในการด าเนินการตามวรรคหนึ่ง หากมีกฎหมาย ก าหนดให้ผู้ด าเนินการนั้นต้องได้รับอนุมัติหรือ อนุญาตหรือต้องได้รับความเห็นชอบจาก หน่วยงานของรัฐหน่วยใด ให้คณะกรรมการ นโยบายเป็นผู้พิจารณาอนุมัติหรืออนุญาตหรือ ให้ความเห็นชอบแทนหน่วยงานของรัฐตาม กฎหมายว่าด้วยการนั้น แต่ต้องแจ้งให้หน่วยงาน ของรัฐที่มีอ านาจอนุมัติหรืออนุญาตหรือให้ ความเห็นชอบตามกฎหมายนั้นทราบก่อนเข้า ด าเนินการและเพื่อประโยชน์แห่งการนี้ให้ หน่วยงานของรัฐที่มีอ านาจอนุมัติหรืออนุญาต หรือให้ความเห็นชอบตามกฎหมายนั้นมีหน้าที่ ให้ความร่วมมือและอ านวยความสะดวกแก่ หน่วยงานของรัฐหรือส านักงานที่ได้รับ มอบหมายจากคณะรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่ง ถ้าคณะรัฐมนตรีมิได้ก าหนดไว้เป็นประการอื่น หน่วยงานของรัฐหรือส านักงานที่ได้รับ มอบหมายจากคณะรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่งจะ มอบให้เอกชนเป็นผู้ด าเนินการก็ได้ในกรณี เช่นนั้น ให้ถือว่าเอกชนนั้นได้รับอนุมัติหรือ อนุญาตหรือได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการนโยบายแทนหน่วยงานของรัฐ ตามกฎหมายนั้นแล้ว แต่หน่วยงานของรัฐหรือ ส านักงานที่ได้รับมอบหมายจากคณะรัฐมนตรี ตามวรรคหนึ่งต้องควบคุมดูแลการด าเนินการ ของเอกชนดังกล่าวให้เป็นไปตามกฎหมายนั้นด้วย

มาตรา ๓๔

ในกรณีที่มีความจ าเป็นต้องได้มาซึ่งที่ดินหรือ อสังหาริมทรัพย์อื่นเพื่อประโยชน์ในการพัฒนา เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ให้ส านักงานมี อ านาจด าเนินการโดยวิธีการจัดซื้อเช่า เช่าซื้อ แลกเปลี่ยน เวนคืน หรือโดยวิธีการอื่นตาม หลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการนโยบายก าหนด ก่อนการด าเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้ คณะกรรมการนโยบายแต่งตั้งคณะกรรมการ เฉพาะกิจขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อศึกษาความ เหมาะสมของพื้นที่ ความเหมาะสมทางด้าน การเงิน ตลอดจนผลกระทบและแนวทางหรือ มาตรการป้องกัน แก้ไข หรือเยียวยาผลกระทบ ดังกล่าวและความคุ้มค่าที่ประชาชนในพื้นที่ และรัฐจะได้รับ ที่ดินที่ส านักงานได้มาตามพระราชบัญญัตินี้ ส านักงานมีอ านาจใช้หรือจัดหาประโยชน์ใน ที่ดินนั้นได้ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการ นโยบายก าหนด และถ้าเป็นที่ดินที่ได้มาจากการ ซื้อเช่าซื้อ หรือแลกเปลี่ยนกับที่ดินที่ซื้อหรือเช่า ซื้อ หรือมีผู้อุทิศให้ใหต้ กเป็นกรรมสิทธิ์ของ ส านักงานและให้ส านักงานมีอ านาจขาย แลกเปลี่ยน หรือให้เช่าซื้อได้

มาตรา ๓๕

ให้ส านักงานและผู้ซึ่งท าธุรกรรมกับส านักงานใน กิจการเกี่ยวกับที่ดินและอสังหาริมทรัพย์บรรดา ที่กฎหมายก าหนดให้ต้องมีการจดทะเบียนสิทธิ และนิติกรรม ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสีย ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม ตามกฎหมายนั้น

มาตรา ๓๖

ในกรณีที่มีความจ าเป็นเพื่อการพัฒนาเขต พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก คณะกรรมการ นโยบายโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีมี อ านาจให้ส านักงานเข้าใช้ประโยชน์ที่ดินที่ ส านักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มา ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม เพื่อการด าเนินการหรือประกอบ กิจการอื่นใดนอกเหนือจากที่ก าหนดไว้ใน กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ได้โดยไม่ต้องด าเนินการเพิกถอนเขตปฏิรูปที่ดิน ส าหรับที่ดินส่วนนั้น ในการใช้ที่ดินตามวรรคหนึ่ง ให้อ านาจของ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมตาม กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เป็นอ านาจของคณะกรรมการนโยบาย และให้ หน้าที่และอ านาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เป็นหน้าที่และอ านาจของเลขาธิการหรือผู้ซึ่ง เลขาธิการมอบหมาย ที่ดินที่ส านักงานมีอ านาจใช้ตามวรรคหนึ่ง ส านักงานโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ นโยบายจะมอบให้บุคคลอื่นใช้โดยมี ค่าตอบแทนได้ตามหลักเกณฑ์วิธีการและ เงื่อนไขที่คณะกรรมการนโยบายก าหนด ในกรณีที่ที่ดินที่ส านักงานมีอ านาจเข้าใช้ตาม วรรคหนึ่งมีบุคคลอื่นมีสิทธิใช้ประโยชน์อยู่ก่อน ให้ส านักงานจัดหาที่ดินอื่นให้ผู้นั้นใช้แทนหรือจะ จ่ายค่าชดเชยหรือให้ประโยชน์ตอบแทนอื่นตาม หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการ นโยบายก าหนด

มาตรา ๓๗

เพื่อให้การพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาค ตะวันออกเป็นไปตามวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๖ และนโยบายและแผนตามมาตรา ๒๙ ให้ คณะกรรมการนโยบายเป็นผู้มีอ านาจอนุมัติ อนุญาต ให้สิทธิหรือให้สัมปทานแก่บุคคลซึ่ง ด าเนินการอันเป็นประโยชน์โดยตรงต่อการ พัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกตาม กฎหมายดังต่อไปนี้ด้วย แต่ในกรณีเป็นการ ด าเนินการภายนอกเขตพัฒนาพิเศษภาค ตะวันออกจะต้องเป็นเรื่องที่เชื่อมโยงกันและต้อง ได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีผู้รักษาการตาม กฎหมายนั้น (๑) ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ ๕๘ ลง วันที่ ๒๖ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๑๕ เว้นแต่ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่และอ านาจของ กระทรวงการคลัง (๒) กฎหมายว่าด้วยการเดินเรือในน่านน ้าไทย (๓) กฎหมายว่าด้วยการชลประทานหลวง (๔) กฎหมายว่าด้วยการประกอบกิจการ พลังงาน (๕) กฎหมายว่าด้วยทางหลวงสัมปทาน (๖) กฎหมายว่าด้วยพลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ ในการอนุมัติอนุญาต ให้สิทธิหรือให้สัมปทาน ตามวรรคหนึ่ง ให้คณะกรรมการนโยบาย ค านึงถึงหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่ก าหนด ไว้ตามกฎหมายนั้น แต่ในกรณีที่คณะกรรมการ นโยบายเห็นว่าหากมีการแก้ไขเพิ่มเติม หลักเกณฑ์วิธีการ หรือเงื่อนไขเช่นว่านั้นจะท า ให้การอนุมัติอนุญาต ให้สิทธิหรือให้สัมปทาน ดังกล่าวมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ให้แจ้งให้ผู้มีหน้าที่ และอ านาจตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อเสนอ ความเห็น และเมื่อคณะกรรมการนโยบาย พิจารณาแล้ว ให้ประกาศหลักเกณฑ์วิธีการ หรือเงื่อนไขที่เห็นสมควรในราชกิจจานุเบกษา และให้คณะกรรมการนโยบายอนุมัติอนุญาต ให้สิทธิหรือให้สัมปทาน ตามหลักเกณฑ์วิธีการ หรือเงื่อนไขที่แก้ไขเพิ่มเติมนั้น เมื่อคณะกรรมการนโยบายได้อนุมัติอนุญาต ให้ สิทธิหรือให้สัมปทานตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้ เลขาธิการหรือพนักงานของส านักงานซึ่ง เลขาธิการมอบหมายมีฐานะเป็นเจ้าพนักงาน หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งมีหน้าที่และอ านาจใน การบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมายตามวรรค หนึ่งด้วย

มาตรา ๓๘

เพื่อประโยชน์ในการด าเนินงานของส านักงานให้ เกิดประสิทธิภาพ เลขาธิการอาจขอให้ ข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยงาน ของรัฐมาปฏิบัติงานเป็นพนักงานหรือลูกจ้าง ของส านักงานเป็นการชั่วคราวได้แต่ต้องท า ความตกลงกับหน่วยงานของรัฐนั้นก่อน และเมื่อ หมดความจ าเป็นเมื่อใด ให้รีบส่งตัวผู้นั้นคืน สังกัดเดิม ให้ถือว่าข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของ หน่วยงานของรัฐที่มาปฏิบัติงานเป็นพนักงาน หรือลูกจ้างของส านักงานเป็นการชั่วคราวตาม วรรคหนึ่งไม่ขาดจากสถานภาพเดิมและคงได้รับ เงินเดือนหรือค่าจ้าง แล้วแต่กรณีจากสังกัดเดิม คณะกรรมการนโยบายอาจก าหนดค่าตอบแทน พิเศษให้แก่ข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของ หน่วยงานของรัฐตามวรรคหนึ่งในระหว่าง ปฏิบัติงานในส านักงานด้วยก็ได้

หมวด ๕ เขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ

มาตรา ๓๙

เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาอุตสาหกรรมของ ประเทศไปสู่การใช้เทคโนโลยีขั้นสูง สร้าง นวัตกรรม และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมทั้ง การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันใน ด้านต่างๆ คณะกรรมการนโยบายอาจ ก าหนดให้มีเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษขึ้นเพื่อ พัฒนาและส่งเสริมอุตสาหกรรมเป้าหมายพิเศษ ด้านใดด้านหนึ่งหรือหลายด้าน หรือเพื่อส่งเสริม ให้เกิดกิจการที่เกี่ยวเนื่องหรือเป็นประโยชน์ต่อ การพัฒนาและส่งเสริมอุตสาหกรรมเป้าหมาย พิเศษหรือเพื่อให้เกิดการถ่ายทอดความรู้ความ เชี่ยวชาญจากผู้ประกอบกิจการในเขตส่งเสริม เศรษฐกิจพิเศษ สถาบันการศึกษาหรือ สถาบันวิจัยที่มีศักยภาพสูงด้วย ในการก าหนดอุตสาหกรรมเป้าหมายพิเศษ คณะกรรมการนโยบายจะประกาศก าหนดจาก อุตสาหกรรมเป้าหมายทั้งหมดหรือบางส่วน หรือ อุตสาหกรรมอื่นนอกเหนือจากอุตสาหกรรม เป้าหมายโดยอาจรวมถึงอุตสาหกรรมการบริการ อุตสาหกรรมท่องเที่ยวและการจัดประชุม หรือ อุตสาหกรรมอื่นใดด้วยก็ได้แต่อย่างน้อยต้อง ประกอบด้วยอุตสาหกรรมด้านต่าง ๆ ที่มีการ พัฒนาตามวรรคหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (๑) ยานยนต์สมัยใหม่ (๒) อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ (๓) การท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและการ ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (๔) การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ (๕) การแปรรูปอาหาร (๖) หุ่นยนต์ (๗) การบินและโลจิสติกส์ (๘) เชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ (๙) ดิจิทัล (๑๐) การแพทย์และสุขภาพครบวงจร ในการส่งเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรม เป้าหมายพิเศษตามวรรคสอง ให้น าหลักการการ ออกแบบที่เป็นสากล และการพัฒนาเทคโนโลยี สิ่งอ านวยความสะดวกมาประกอบการพิจารณา ด้วย ในการส่งเสริมอุตสาหกรรมเป้าหมายพิเศษตาม วรรคสอง ให้ค านึงถึงการจัดสิ่งอ านวยความ สะดวกและการให้บริการแก่ผู้ประกอบกิจการใน เขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ และผู้ซึ่งเข้ามา ปฏิบัติงานในเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษด้วย

มาตรา ๔๐

ในกรณีที่เห็นสมควร คณะกรรมการนโยบายจะ ก าหนดให้พื้นที่ใดในเขตพัฒนาพิเศษภาค ตะวันออกเป็นเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษเพื่อ วัตถุประสงค์ในการผลักดันการลงทุนใน อุตสาหกรรมเป้าหมายพิเศษด้านใดด้านหนึ่ง หรือหลายด้านที่ไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อกันก็ได้ ก่อนการก าหนดเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษตาม วรรคหนึ่ง ให้ส านักงานจัดให้มีการศึกษาความ เป็นไปได้ในการด าเนินการ ประโยชน์ผลกระทบ และมาตรการเยียวยาผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นแก่ ประชาชนหรือชุมชนที่อาจได้รับความเดือดร้อน หรือเสียหาย พร้อมทั้งจัดท าร่างแผนผังการใช้ ประโยชน์ในที่ดินในเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ โดยให้น าความในมาตรา ๓๐ วรรคสาม มาใช้ บังคับด้วยโดยอนุโลม และให้เผยแพร่ผล การศึกษาและร่างแผนผังดังกล่าวในระบบ เครือข่ายสารสนเทศของส านักงานและวิธีการอื่น ที่ท าให้ประชาชนทราบได้เป็นการทั่วไปด้วย

มาตรา ๔๑

เจ้าของที่ดินซึ่งมีที่ดินที่ตั้งอยู่ภายในพื้นที่เขต พัฒนาพิเศษภาคตะวันออกอาจขอให้ส านักงาน ด าเนินการก าหนดให้ที่ดินบริเวณดังกล่าวเป็น เขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษได้โดยต้องปฏิบัติ ตามหลักเกณฑ์วิธีการ เงื่อนไขและช าระ ค่าบริการและค่าใช้จ่ายในการด าเนินการตาม มาตรา ๔๐ วรรคสอง ตามที่ส านักงานประกาศ ก าหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ นโยบาย ในกรณีที่ส านักงานด าเนินการตามวรรคหนึ่งแล้ว เห็นว่าที่ดินบริเวณดังกล่าวเหมาะสมที่จะ ประกาศก าหนดให้เป็นเขตส่งเสริมเศรษฐกิจ พิเศษ และผมู้ีกรรมสิทธิ์ในท่ีดินดงักล่าวไดใ้ห้ ความยินยอมที่จะรับผิดชอบการเยียวยา ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นแก่ประชาชนหรือชุมชนที่ อาจได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายตาม แนวทางที่ส านักงานก าหนดแล้ว ให้ส านักงาน เสนอคณะกรรมการนโยบายพิจารณาเพื่อ ประกาศก าหนดพื้นที่ดังกล่าวเป็นเขตส่งเสริม เศรษฐกิจพิเศษได้ ในกรณีที่ผู้ยื่นค าขอตามวรรคหนึ่งเป็นประชาชน ในพื้นที่ร่วมกันยื่นค าขอ ส านักงานจะด าเนินการ โดยลดหรือยกเว้นค่าบริการและค่าใช้จ่ายให้ก็ได้ ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ คณะกรรมการนโยบายก าหนด

มาตรา ๔๒

การจัดตั้ง เปลี่ยนแปลงเขต และการยุบเลิกเขต ส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษแต่ละเขต ให้ คณะกรรมการนโยบายประกาศในราชกิจจา นุเบกษา ประกาศจัดตั้งเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษตาม วรรคหนึ่งอย่างน้อยต้องมีสาระส าคัญ ดังต่อไปนี้ (๑) ชื่อของเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ (๒) วัตถุประสงค์ของเขตส่งเสริมเศรษฐกิจ พิเศษ (๓) บริเวณของเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ โดย ให้มีแผนที่ก าหนดแนวเขตไว้ท้ายประกาศด้วย (๔) แผนผังการใช้ประโยชน์ในที่ดินในเขต ส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ ให้น าความในมาตรา ๓๐ มาตรา ๓๑ และ มาตรา ๓๒ มาใช้บังคับแก่การจัดท าแผนผังและ ผลบังคับของแผนผังตาม (๔) ด้วยโดยอนุโลม

มาตรา ๔๓

การด าเนินการหรือการกระท าใดภายในเขต ส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย ดังต่อไปนี้หากกฎหมายก าหนดให้ผู้ด าเนินการ หรือผู้กระท าต้องได้รับอนุมัติอนุญาต ใบอนุญาต หรือความเห็นชอบจากหน่วยงาน ของรัฐหรือคณะกรรมการตามกฎหมายนั้น หรือ ต้องจดทะเบียน หรือแจ้งต่อหน่วยงานของรัฐ หรือคณะกรรมการตามกฎหมายนั้นก่อน ให้ถือ ว่าเลขาธิการเป็นผู้มีอ านาจอนุมัติอนุญาต ออก ใบอนุญาต หรือให้ความเห็นชอบ หรือเป็นผู้มี อ านาจในการรับจดทะเบียนหรือรับแจ้งตาม กฎหมายนั้น (๑) กฎหมายว่าด้วยการขุดดินและถมดิน (๒) กฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร (๓) กฎหมายว่าด้วยการจดทะเบียนเครื่องจักร (๔) กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข (๕) กฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง เฉพาะเพื่อ การอนุญาตให้คนต่างด้าวตามมาตรา ๕๔ (๑) หรือ(๒) อยู่ต่อในราชอาณาจักร (๖) กฎหมายว่าด้วยทะเบียนพาณิชย์ (๗) กฎหมายว่าด้วยโรงงาน (๘) กฎหมายว่าด้วยการจัดสรรที่ดิน เมื่อได้รับอนุมัติอนุญาต ใบอนุญาต หรือความ เห็นชอบจากเลขาธิการหรือได้จดทะเบียนหรือ แจ้งต่อเลขาธิการตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้ถือว่า ผู้ด าเนินการหรือผู้กระท าการนั้นได้รับอนุมัติ อนุญาต ใบอนุญาต หรือความเห็นชอบจาก หน่วยงานของรัฐหรือคณะกรรมการตาม กฎหมายนั้นแล้ว หรือได้จดทะเบียนหรือแจ้งต่อ หน่วยงานของรัฐหรือคณะกรรมการตาม กฎหมายนั้นแล้ว ภายใต้บังคับวรรคสี่ การอนุมัติอนุญาต ออก ใบอนุญาต ให้ความเห็นชอบรับจดทะเบียนหรือ รับแจ้งตามวรรคสอง เลขาธิการต้องปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่ก าหนดไว้ตาม กฎหมายนั้น และต้องแจ้งหน่วยงานของรัฐหรือ คณะกรรมการตามกฎหมายนั้นหรือกฎหมายที่ เกี่ยวข้องเพื่อเก็บไว้เป็นหลักฐาน ในกรณีที่เลขาธิการเห็นว่าหากมีการแก้ไข เพิ่มเติมหลักเกณฑ์วิธีการ หรือเงื่อนไขที่ก าหนด ไว้ตามกฎหมายตามวรรคสาม จะท าให้การ อนุมัติอนุญาต ออกใบอนุญาต ให้ความ เห็นชอบรับจดทะเบียน หรือรับแจ้งตามกฎหมาย นั้นมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ให้แจ้งหน่วยงานของรัฐ หรือคณะกรรมการตามกฎหมายนั้นเพื่อเสนอ ความเห็น และเสนอคณะกรรมการนโยบาย พิจารณา หากคณะกรรมการนโยบายเห็นชอบ ให้เลขาธิการด าเนินการตามหลักเกณฑ์วิธีการ หรือเงื่อนไขที่แก้ไขเพิ่มเติมนั้น แทนหลักเกณฑ์ วิธีการ หรือเงื่อนไขที่มีอยู่เดิม เลขาธิการจะมอบอ านาจตามวรรคหนึ่ง ให้รอง เลขาธิการ พนักงานของส านักงานหรือเจ้าหน้าที่ ของรัฐในหน่วยงานใดที่เกี่ยวข้องเป็นผู้ ปฏิบัติการแทนก็ได้เมื่อมีการมอบอ านาจ ดังกล่าวให้แจ้งหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องทราบ ด้วย ให้เลขาธิการ รองเลขาธิการ พนักงานของ ส านักงาน และเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งได้รับมอบ อ านาจตามวรรคห้า มีฐานะเป็นเจ้าพนักงาน หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งมีหน้าที่และอ านาจใน การบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมายตามวรรค หนึ่งด้วย

มาตรา ๔๔

ผู้ขอรับอนุมัติอนุญาต ใบอนุญาต ความ เห็นชอบ หรือขอจดทะเบียนหรือแจ้งตามมาตรา ๔๓ มีสิทธิอุทธรณ์ค าสั่งของเลขาธิการต่อ คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ที่คณะกรรมการ นโยบายแต่งตั้งได้ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ ได้รับค าสั่งนั้น การอุทธรณ์ตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามระเบียบ ที่คณะกรรมการนโยบายก าหนดโดยประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาและให้ถือว่าเป็นการอุทธรณ์ ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องนั้นแล้ว ค าวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ตามวรรคหนึ่งให้เป็นที่สุด

มาตรา ๔๕

ในการอนุมัติอนุญาต ออกใบอนุญาต ให้ความ เห็นชอบ รับจดทะเบียน หรือรับแจ้งตามมาตรา ๔๓ ให้เลขาธิการมีอ านาจเรียกเก็บ ค่าธรรมเนียม ค่าตอบแทน ค่าใช้จ่ายหรือค่าอื่น ใดที่กฎหมาย ข้อบัญญัติหรือเทศบัญญัติว่า ด้วยการนั้นก าหนดไว้และให้มีอ านาจเรียกเก็บ ค่าบริการในการด าเนินการดังกล่าวเพิ่มเติมได้ ตามอัตราที่คณะกรรมการนโยบายประกาศ ก าหนด ค่าธรรมเนียม ค่าตอบแทน ค่าใช้จ่าย หรือค่าอื่น ใดที่เลขาธิการเรียกเก็บตามวรรคหนึ่ง ให้น าส่ง หน่วยงานของรัฐที่มีอ านาจเรียกเก็บ ค่าธรรมเนียมนั้น

มาตรา ๔๖

ห้ามมิให้ผู้ใดใช้ชื่อเครื่องหมาย หรือถ้อยค าใน ประการที่น่าจะท าให้ประชาชนเข้าใจว่าเป็นเขต ส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษโดยมิได้เป็นเขตส่งเสริม เศรษฐกิจพิเศษตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๔๗

คณะกรรมการนโยบายจะก าหนดให้ผู้ประกอบ อุตสาหกรรมเป้าหมายพิเศษและกิจการที่ เกี่ยวเนื่องในเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษต้องส่ง เงินบ ารุงกองทุนตามอัตรา หลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขที่ส านักงานประกาศก าหนดโดย ความเห็นชอบของคณะกรรมการนโยบายก็ได้

มาตรา ๔๘

ให้ผู้ประกอบกิจการในเขตส่งเสริมเศรษฐกิจ พิเศษได้รับสิทธิประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งหรือ หลายอย่างตามหมวดนี้ตามที่คณะกรรมการ นโยบายก าหนด ดังต่อไปนี้ (๑) สิทธิในการถือกรรมสิทธิ์ในท่ีดินเพ่ือการ ประกอบกิจการหรือห้องชุดเพื่อการประกอบ กิจการหรือการอยู่อาศัยตามมาตรา ๔๙ (๒) สิทธิในการน าคนต่างด้าวเข้ามาและอยู่ใน ราชอาณาจักร (๓) สิทธิในการที่จะได้รับยกเว้นหรือลดหย่อน ภาษีอากร (๔) สิทธิในการท าธุรกรรมทางการเงิน (๕) สิทธิประโยชน์อื่นตามมาตรา ๕๙ ในการก าหนดสิทธิประโยชน์ตามวรรคหนึ่ง คณะกรรมการนโยบายจะก าหนดให้แตกต่างกัน ก็ได้โดยค านึงถึงวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งเขต ส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษแต่ละแห่ง

มาตรา ๔๙

ให้ผู้ประกอบกิจการในเขตส่งเสริมเศรษฐกิจ พิเศษซึ่งเป็นนิติบุคคลและเป็นคนต่างด้าวตาม ประมวลกฎหมายที่ดิน มีสิทธิถือกรรมสิทธิ์ใน ที่ดินภายในเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษเพื่อการ ประกอบกิจการที่ได้รับอนุญาตได้โดยไม่ต้อง ได้รับอนุญาตตามประมวลกฎหมายที่ดิน ให้ผู้ประกอบกิจการในเขตส่งเสริมเศรษฐกิจ พิเศษซึ่งเป็นนิติบุคคลและเป็นคนต่างด้าวตาม กฎหมายว่าดว้ยอาคารชุดมีสิทธิถือกรรมสิทธิ์ใน ห้องชุด โดยได้รับการยกเว้นจากการจ ากัดสิทธิ ของคนต่างด้าวตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชุด ผู้ประกอบกิจการซึ่งจะมีสิทธิและจ านวนที่ดิน หรือห้องชุดตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ให้ เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที คณะกรรมการนโยบายประกาศก าหนดโดย ความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีแต่ทั้งนี้ต้องไม่ เกินที่ก าหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริม การลงทุนหรือกฎหมายว่าด้วยการนิคม อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

มาตรา ๕๐

ในกรณีที่ผู้ประกอบกิจการตามมาตรา ๔๙ ถือ กรรมสิทธิ์ในท่ีดินในเขตสง่ เสรมิเศรษฐกิจพิเศษ แต่มิได้มีการประกอบกิจการภายในเวลาสามปี หรือหยุดประกอบกิจการในที่ดินดังกล่าว ผู้ ประกอบกิจการนั้นต้องจ าหน่ายที่ดินดังกล่าว ภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่ส านักงานแจ้งให้ทราบ มิฉะนั้นให้ส านักงานมีอ านาจด าเนินการให้มีการ จ าหน่ายที่ดินดังกล่าวแทนผู้ประกอบกิจการแล้ว คืนเงินที่ได้จากการจ าหน่ายที่หักค่าใช้จ่ายแล้ว ให้แก่ผู้ประกอบกิจการ

มาตรา ๕๑

เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมให้บุคคลผู้มีความรู้ ความสามารถพิเศษอันจะเป็นประโยชน์ต่อการ พัฒนาเทคโนโลยีและก่อให้เกิดนวัตกรรมเข้ามา ประกอบกิจการหรือท างานในเขตส่งเสริม เศรษฐกิจพิเศษ บุคคลดังกล่าวรวมทั้งคู่สมรส บุพการีและบุตรที่อยู่ในเขตพัฒนาพิเศษภาค ตะวันออกหรือเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษอาจ ได้รับการลดหย่อนภาษีสิทธิเกี่ยวกับการเข้า เมืองและการขออนุญาตท างาน และสิทธิอื่น เพิ่มเติม ทั้งนี้ตามที่คณะกรรมการนโยบาย ประกาศก าหนดก็ได้ ลักษณะของบุคคลและสิทธิที่จะได้รับตามวรรค หนึ่งให้เป็นไปตามที่ก าหนดในพระราชกฤษฎีกา

มาตรา ๕๒

การเช่า เช่าช่วง ให้เช่า หรือให้เช่าช่วงที่ดินหรือ อสังหาริมทรัพย์ในเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อด าเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ในการ พัฒนาและส่งเสริมอุตสาหกรรมเป้าหมายพิเศษ มิให้น าความในมาตรา ๕๔๐ แห่งประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์และมาตรา ๕ แห่ง พระราชบัญญัติการเช่าอสังหาริมทรัพย์เพื่อ พาณิชยกรรมและอุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๔๒ มา ใช้บังคับ การเช่า เช่าช่วง ให้เช่า หรือให้เช่าช่วงตามวรรค หนึ่ง ห้ามมิให้ท าสัญญาเช่าเป็นก าหนดเวลาเกิน ห้าสิบปีถ้าได้ท าสัญญากันไว้เป็นก าหนด เวลานานกว่านั้นก็ให้ลดลงมาเป็นห้าสิบปีการ ต่อสัญญาเช่าอาจท าได้แต่จะต่อสัญญาเกินสี่ สิบเก้าปีนับแต่วันครบห้าสิบปีไม่ได้

มาตรา ๕๓

ในกรณีที่คณะกรรมการนโยบายมีมติให้น าที่ราช พัสดุมาใช้เพื่อประโยชน์ในการจัดตั้งเขตส่งเสริม เศรษฐกิจพิเศษ รวมทั้งการน าไปให้เช่า หรือให้ เช่าช่วง ให้อ านาจทั้งปวงของกรมธนารักษ์ เกี่ยวกับที่ราชพัสดุนั้นเป็นอ านาจของส านักงาน แต่ถ้าที่ราชพัสดุนั้นอยู่ในความครอบครองหรือ ใช้ประโยชน์ของหน่วยงานของรัฐอื่นใด ต้อง ได้รับความยินยอมจากหน่วยงานของรัฐนั้นก่อน ทั้งนี้คณะกรรมการนโยบายอาจก าหนดให้ ส านักงานแบ่งสัดส่วนรายได้ที่ได้รับจากการใช้ที่ ราชพัสดุนั้นให้เป็นรายได้ของหน่วยงานของรัฐที่ ครอบครองหรือใช้ประโยชน์ที่ราชพัสดุนั้นอยู่เดิม หรือกรมธนารักษ์ก็ได้ การใช้ประโยชน์ที่ราชพัสดุตามวรรคหนึ่ง มิให้น า หลักเกณฑ์วิธีการ หรือเงื่อนไขที่ก าหนดไว้ใน กฎหมายว่าด้วยที่ราชพัสดุมาใช้บังคับ การจดทะเบียนการเช่าที่ดินอันเป็นที่ราชพัสดุ หรือที่ดินของรัฐให้ด าเนินการตามหลักเกณฑ์ที่ คณะกรรมการนโยบายก าหนด และเมื่อได้จด ทะเบียนตามหลักเกณฑ์ดังกล่าวแล้ว ให้ถือว่าได้ มีการจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์แล้ว การเช่า เช่าช่วง ให้เช่า หรือให้เช่าช่วงตาม มาตรานี้ไม่ถือว่าเป็นการร่วมทุนตามกฎหมายว่า ด้วยการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ เว้น แต่คณะกรรมการนโยบายจะมีมติเป็นรายกรณี ให้ถือว่าเป็นการร่วมทุนตามกฎหมายว่าด้วยการ ให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ

มาตรา ๕๔

ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง ให้ผู้ ประกอบกิจการในเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษซึ่ง ได้รับสิทธิตามมาตรา ๔๘ (๒) มีสิทธิน าคนต่าง ด้าวดังต่อไปนี้เข้ามาและอยู่ในราชอาณาจักรได้ ตามจ านวนและระยะเวลาที่ได้รับอนุญาตจาก เลขาธิการแม้ว่าจะเกินก าหนดจ านวนหรือ ระยะเวลาให้อยู่ได้ในราชอาณาจักรตาม กฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง (๑) ผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านใด ๆ ที่ คณะกรรมการนโยบายก าหนด (๒) ผู้บริหารหรือผู้ช านาญการ (๓) คู่สมรสและบุคคลซึ่งอยู่ในอุปการะของ บุคคลใน (๑) หรือ(๒) สิทธิการเข้ามาและอยู่ในราชอาณาจักร รวมทั้ง การน าคู่สมรสและบุคคลซึ่งอยู่ในอุปการะเข้ามา และอยู่ในราชอาณาจักรตามวรรคหนึ่ง ให้ใช้ บังคับแก่บุคคลผู้มีความรู้ความสามารถพิเศษ ตามที่คณะกรรมการนโยบายก าหนดให้เชิญชวน ให้เข้ามาท างานในเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ ด้วยโดยอนุโลม ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการนโยบายก าหนด กรณีที่คนต่างด้าวตามวรรคหนึ่งยังมิได้เข้ามาใน ราชอาณาจักร เมื่อเลขาธิการอนุญาตให้คนต่าง ด้าวผู้ใดเข้ามาและอยู่ในราชอาณาจักรตาม วรรคหนึ่งแล้ว ให้เลขาธิการแจ้งให้พนักงาน เจ้าหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองทราบ และให้พนักงานเจ้าหน้าที่ด าเนินการตาม กฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองต่อไป กรณีที่คนต่างด้าวตามวรรคหนึ่ง (๑) หรือ(๒) ได้ เข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรและได้รับอนุญาตให้ อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวตาม กฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองแล้ว ให้เลขาธิการ อนุญาตให้คนต่างด้าวนั้นอยู่ต่อใน ราชอาณาจักรและให้ออกหนังสือรับรองการ อนุญาตให้คนต่างด้าวนั้นอยู่ในราชอาณาจักร ต่อไปได้

มาตรา ๕๕

ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง ให้ผู้ ได้รับอนุญาตให้เข้ามาและอยู่ในราชอาณาจักร ตามมาตรา ๕๔ (๑) และ (๒) มีสิทธิท างาน ต าแหน่งหน้าที่การท างานที่คณะกรรมการ นโยบายก าหนด โดยไม่ต้องได้รับใบอนุญาต ท างานตามกฎหมายว่าด้วยการบริหารจัดการ การท างานของคนต่างด้าว แต่ต้องได้รับอนุญาต เป็นหนังสือจากเลขาธิการ ทั้งนี้ให้ถือว่าหนังสือ อนุญาตของเลขาธิการมีสถานะเป็นใบอนุญาต ท างานของคนต่างด้าวตามกฎหมายว่าด้วยการ บริหารจัดการการท างานของคนต่างด้าว

มาตรา ๕๖

ให้ผู้ประกอบกิจการในเขตส่งเสริมเศรษฐกิจ พิเศษมีสิทธิได้รับยกเว้นหรือลดหย่อนภาษีอากร ตามมาตรา ๔๘ (๓) ตามหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการนโยบายก าหนด แต่ ทั้งนี้ต้องไม่เกินที่ก าหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วย การส่งเสริมการลงทุนหรือกฎหมายว่าด้วยการ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ส าหรับอุตสาหกรรมเป้าหมาย นอกจากสิทธิตามวรรคหนึ่งแล้ว คณะกรรมการนโยบายอาจก าหนดให้ผู้ประกอบ กิจการในเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษทั้งหมดหรือ บางรายได้รับประโยชน์เช่นเดียวกับผู้ประกอบ กิจการในเขตปลอดอากร คลังสินค้าทัณฑ์บน หรือเขตประกอบการเสรีด้วยก็ได้

มาตรา ๕๗

เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมอุตสาหกรรม เป้าหมายพิเศษ คณะกรรมการนโยบายอาจ ประกาศให้ผู้น าของเข้าหรือผู้ส่งของออกซึ่ง ประกอบกิจการในเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ ได้รับยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วย ศุลกากรทั้งหมดหรือแต่บางส่วน โดยจะก าหนด เงื่อนไขให้ต้องปฏิบัติไว้ด้วยก็ได้

มาตรา ๕๘

ผู้ประกอบกิจการในเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ ซึ่งได้รับสิทธิตามมาตรา ๔๘ (๔) มีสิทธิ ดังต่อไปนี้ (๑) ได้รับยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่า ด้วยการควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินทั้งหมดหรือ บางส่วนตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ คณะกรรมการนโยบายก าหนด (๒) สามารถใช้เงินตราต่างประเทศเพื่อช าระค่า สินค้าหรือบริการระหว่างผู้ประกอบกิจการใน เขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษตามหลักเกณฑ์และ เงื่อนไขที่คณะกรรมการนโยบายก าหนด การก าหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขตาม (๑) และ (๒) ให้คณะกรรมการนโยบายพิจารณาตกลง ร่วมกับธนาคารแห่งประเทศไทยก่อน

มาตรา ๕๙

เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิด การพัฒนาในเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ คณะกรรมการนโยบายจะประกาศก าหนดให้ผู้ ประกอบกิจการในเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ หรือผู้ประกอบวิชาชีพที่เป็นประโยชน์ต่อเขต ส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ ได้รับสิทธิพิเศษอื่นใด ตามมาตรา ๔๘ (๕) ตามที่เห็นสมควร ดังต่อไปนี้ก็ได้ (๑) ในกรณีที่การประกอบวิชาชีพใดมีกฎหมาย ก าหนดให้ผู้ประกอบวิชาชีพหรือผู้ขออนุญาต ต้องมีสัญชาติไทยหรือต้องได้รับใบอนุญาต จด ทะเบียน หรือรับรองก่อนการประกอบวิชาชีพ ตามกฎหมายแล้ว คณะกรรมการนโยบายอาจ ประกาศให้ผู้ซึ่งได้รับใบอนุญาต จดทะเบียน หรือรับรองให้ประกอบวิชาชีพนั้นในประเทศที่ คณะกรรมการนโยบายก าหนด สามารถ ประกอบวิชาชีพนั้นเพื่อกิจการในเขตส่งเสริม เศรษฐกิจพิเศษได้ตามหลักเกณฑ์วิธีการและ เงื่อนไขที่คณะกรรมการนโยบายก าหนด (๒) สิทธิและประโยชน์อื่นตามที่ก าหนดไว้ใน กฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุนหรือ กฎหมายว่าด้วยการเพิ่มขีดความสามารถใน การแข่งขันของประเทศส าหรับอุตสาหกรรม เป้าหมาย โดยให้อ านาจของคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุนตามกฎหมายว่าด้วยการ ส่งเสริมการลงทุนและอ านาจของ คณะกรรมการนโยบายเพิ่มขีดความสามารถใน การแข่งขันของประเทศส าหรับอุตสาหกรรม เป้าหมายตามกฎหมายว่าด้วยการเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ส าหรับอุตสาหกรรมเป้าหมายเป็นอ านาจของ คณะกรรมการนโยบายด้วย

มาตรา ๖๐

เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมอุตสาหกรรม เป้าหมายพิเศษในส่วนที่เกี่ยวกับอากาศยาน มิ ให้น าความในมาตรา ๔๑/๒๓ มาตรา ๔๑/๓๓ และมาตรา ๔๑/๙๕ แห่งพระราชบัญญัติการ เดินอากาศ พ.ศ. ๒๔๙๗ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติการเดินอากาศ (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๕๑ มาใช้บังคับแก่ผู้ขอรับใบอนุญาต ผลิตอากาศยาน ผู้ขอรับใบอนุญาตผลิต ส่วนประกอบส าคัญของอากาศยาน และผู้ขอรับ ใบรับรองหน่วยซ่อม ซึ่งประกอบกิจการในเขต ส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ แต่ผู้ขอรับใบอนุญาต ผลิตอากาศยาน ผู้ขอรับใบอนุญาตผลิต ส่วนประกอบส าคัญของอากาศยาน หรือผู้ขอรับ ใบรับรองหน่วยซ่อม ซึ่งประกอบกิจการในเขต ส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษต้องมีคุณสมบัติตามที่ เลขาธิการก าหนดโดยความเห็นชอบของ ผู้อ านวยการส านักงานการบินพลเรือนแห่ง ประเทศไทยตามกฎหมายว่าด้วยการบินพลเรือน แห่งประเทศไทย

หมวด ๖ กองทุน

มาตรา ๖๑

ให้จัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งในส านักงาน เรียกว่า “กองทุนพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาค ตะวันออก” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นทุน สนับสนุนการพัฒนาพื้นที่ชุมชน และประชาชน ที่อยู่ภายในหรือที่ได้รับผลกระทบจากการพัฒนา เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

มาตรา ๖๒

กองทุนประกอบด้วย (๑) เงินอุดหนุนที่รัฐบาลจัดสรรให้ (๒) เงินบ ารุงตามมาตรา ๔๗ (๓) เงินสมทบจากรายได้ของส านักงานตาม มาตรา ๒๔ (๒) (๔) เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคให้ (๕) เงินหรือทรัพย์สินอื่นที่ตกเป็นของกองทุน (๖) ดอกผลหรือผลประโยชน์ใด ๆ ที่เกิดจากเงิน หรือทรัพย์สินของกองทุน เงินและทรัพย์สินที่เป็นของกองทุนไม่ต้องน าส่ง คลังเป็นรายได้แผ่นดินตามกฎหมายว่าด้วยเงิน คงคลังและกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ

มาตรา ๖๓

ให้ส านักงานเป็นผู้รับเงิน จ่ายเงิน เก็บรักษา และบริหารจัดการเงินกองทุนแยกออกจาก งบประมาณของส านักงาน การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาและการ บริหารจัดการเงินกองทุนให้เป็นไปตามระเบียบที่ คณะกรรมการนโยบายก าหนด

มาตรา ๖๔

เงินกองทุนให้ใช้จ่ายเพื่อกิจการ ดังต่อไปนี้ (๑) เพื่อการพัฒนาพื้นที่หรือชุมชน รวมตลอด ทั้งช่วยเหลือ หรือเยียวยาประชาชนและชุมชน บรรดาที่อาจได้รับผลกระทบจากการพัฒนาเขต พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (๒) สนับสนุนและส่งเสริมการศึกษาและให้ ทุนการศึกษาแก่ประชาชนที่อยู่อาศัยในเขต พัฒนาพิเศษภาคตะวันออกหรือที่อยู่ใกล้เคียง และได้รับผลกระทบจากการพัฒนาเขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออก (๓) ค่าใช้จ่ายอื่นที่จะส่งเสริมให้เกิด ประสิทธิภาพและความรวดเร็วในการพัฒนา เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกตามที่ คณะกรรมการนโยบายก าหนด (๔) ค่าใช้จ่ายในการบริหารกองทุน การใช้จ่ายเงินกองทุนตาม (๑) และ (๒) ให้ ค านึงถึงความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น ด้วย

หมวด ๗ การกา กับดูแล

มาตรา ๖๕

ให้นายกรัฐมนตรีมีหน้าที่และอ านาจก ากับ โดยทั่วไปซึ่งกิจการของส านักงาน เพื่อการนี้จะ สั่งให้ส านักงานชี้แจงข้อเท็จจริง แสดงความ คิดเห็น หรือท ารายงานก็ได้ ในกรณีที่เห็นว่าส านักงานกระท าการใดอันมิ ชอบ หรืออาจก่อให้เกิดความเดือดร้อนหรือ เสียหาย นายกรัฐมนตรีมีอ านาจสั่งให้ส านักงาน ยับยั้งหรือระงับการกระท าการนั้นได

หมวด ๘ บทก าหนดโทษ

มาตรา ๖๖

ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๔๖ ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน ห้าแสนบาท

บทเฉพาะกาล

มาตรา ๖๗

ให้ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกและ เขตส่งเสริมตามค าสั่งหัวหน้าคณะรักษาความ สงบแห่งชาติที่ ๒/๒๕๖๐ เรื่อง การพัฒนา ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ลงวันที่ ๑๗ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๖๐ เป็นเขต พัฒนาพิเศษภาคตะวันออกหรือเขตส่งเสริม เศรษฐกิจพิเศษ แล้วแต่กรณีตาม พระราชบัญญัตินี้จนกว่าคณะกรรมการ นโยบายตามพระราชบัญญัตินี้จะได้มีมติให้ ยกเลิกหรือก าหนดเป็นอย่างอื่น

มาตรา ๖๘

ในวาระเริ่มแรก ให้คณะกรรมการนโยบายการ พัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ตามค าสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๒/๒๕๖๐ เรื่อง การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออก ลงวันที่ ๑๗ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๖๐ ที่มีอยู่ในวันก่อนวันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ท าหน้าที่ คณะกรรมการนโยบายตามพระราชบัญญัตินี้ไป พลางก่อนจนกว่าจะมีคณะกรรมการนโยบาย ตามพระราชบัญญัตินี้ซึ่งต้องจัดให้มี คณะกรรมการนโยบายภายในหกสิบวันนับแต่ วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ

มาตรา ๖๙

ในวาระเริ่มแรก ให้เลขาธิการ คณะกรรมการนโยบายการพัฒนาระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกตามค าสั่งหัวหน้า คณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ ๒/๒๕๖๐ เรื่อง การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวันออก ลงวันที่ ๑๗ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๖๐ ซึ่งด ารงต าแหน่งอยู่ในวันก่อนวันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ปฏิบัติหน้าที่ เลขาธิการไปพลางก่อนจนกว่าจะมีการแต่งตั้ง เลขาธิการตามมาตรา ๑๖ ซึ่งต้องแต่งตั้ง เลขาธิการให้แล้วเสร็จภายในเก้าสิบวันนับแต่ วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ

มาตรา ๗๐

ให้โอนบรรดาหน้าที่และอ านาจ กิจการ ทรัพย์สิน สิทธิหนี้ความรับผิด รวมทั้ง งบประมาณของส านักงานเพื่อการพัฒนา ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกตามค าสั่ง หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ ๒/ ๒๕๖๐ เรื่อง การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก ลงวันที่ ๑๗ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๖๐ ที่มีอยู่ในวันก่อนวันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ไปเป็นของส านักงาน

มาตรา ๗๑

ให้ถือว่าการด าเนินการใด ๆ ที่ คณะกรรมการนโยบายการพัฒนาระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก คณะกรรมการ บริหารการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวันออก เลขาธิการคณะกรรมการนโยบายการ พัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก และส านักงานเพื่อการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออก ได้อนุมัติให้ความเห็นชอบ หรือด าเนินการไปแล้วตามค าสั่งหัวหน้าคณะ รักษาความสงบแห่งชาติที่ ๒/๒๕๖๐ เรื่อง การ พัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ลง วันที่ ๑๗ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๖๐ ค าสั่ง หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ ๒๘/ ๒๕๖๐ เรื่อง มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการ พัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ลง วันที่ ๒๖ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๖๐ และ ค าสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ ๔๗/๒๕๖๐ เรื่องข้อก าหนดการใช้ประโยชน์ใน ที่ดินในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวันออก ลงวันที่ ๒๕ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๖๐ ยังคงมีผลใช้บังคับได้ต่อไปจนกว่า คณะกรรมการ นโยบายตามพระราชบัญญัตินี้ จะได้มีมติให้ยกเลิกหรือก าหนดเป็นอย่างอื่น

มาตรา ๗๒

ให้ถือว่าการอนุมัติอนุญาต ออกใบอนุญาต ให้ ความเห็นชอบ รับจดทะเบียนหรือรับแจ้ง รวมถึง การด าเนินการใด ๆเพื่อบังคับการให้เป็นไปตาม กฎหมายภายในเขตส่งเสริมของเลขาธิการ คณะกรรมการนโยบายการพัฒนาระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกที่ได้อนุมัติ อนุญาต ออกใบอนุญาต ให้ความเห็นชอบ รับ จดทะเบียน หรือรับแจ้ง หรือด าเนินการไปแล้ว ตามค าสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๒/๒๕๖๐ เรื่อง การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออก ลงวันที่ ๑๗ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๖๐ ค าสั่งหัวหน้าคณะรักษา ความสงบแห่งชาติที่ ๒๘/๒๕๖๐ เรื่อง มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการพัฒนาระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ลงวันที่ ๒๖ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๖๐ และค าสั่ง หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ ๔๗/ ๒๕๖๐ เรื่องข้อก าหนดการใช้ประโยชน์ในที่ดิน ในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ลงวันที่ ๒๕ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๖๐ มีผลใช้ บังคับต่อไปได้ตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๗๓

ข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยงาน ของรัฐที่เลขาธิการขอให้มาปฏิบัติงานเป็นการ ชั่วคราวตามค าสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบ แห่งชาติที่ ๒/๒๕๖๐ เรื่อง การพัฒนาระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ลงวันที่ ๑๗ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๖๐ ผู้ใดประสงค์จะ เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของส านักงาน ให้แสดง ความจ านงเป็นหนังสือต่อผู้บังคับบัญชาภายใน เก้าสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ และเมื่อได้ผ่านการคัดเลือกหรือประเมินจาก เลขาธิการตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ คณะกรรมการนโยบายก าหนดและได้รับการ บรรจุเป็นพนักงานหรือลูกจ้างของส านักงานแล้ว ให้เป็นอันออกจากราชการหรือออกจากงาน แล้วแต่กรณี ข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างที่ออกจาก ราชการหรือออกจากงานตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่า เป็นการออกจากราชการหรือออกจากงานเพราะ เลิกหรือยุบต าแหน่งตามกฎหมายว่าด้วย บ าเหน็จบ านาญข้าราชการหรือกฎหมายว่าด้วย กองทุนบ าเหน็จบ านาญข้าราชการหรือกฎหมาย จัดตั้งหน่วยงานนั้น แล้วแต่กรณีหรือในกรณี เป็นลูกจ้าง ให้ถือว่าเป็นการให้ออกจากงาน เพราะทางราชการยุบต าแหน่งหรือทางราชการ เลิกจ้างโดยไม่มีความผิด และให้ได้รับบ าเหน็จ ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยบ าเหน็จ ลูกจ้าง ในกรณีผู้ที่ออกจากราชการหรือออกจากงาน ตามวรรคหนึ่งยังมีสัญญาที่จะต้องรับราชการ หรือปฏิบัติงานตามระยะเวลาที่ก าหนดไว้เพื่อ ชดใช้ทุนแล้ว ให้นับระยะเวลาที่มาปฏิบัติงานกับ ส านักงานเป็นการรับราชการหรือปฏิบัติงานตาม สัญญานั้นด้วย ผู้รับสนองพระราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี

「2018년 동부특별개발구역법」

 국가·지역: 태국  제정일: 2018년 5월 10일

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพ ยวรางกูร ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ เป็นปีที่ ๓ ในรัชกาลปัจจุบัน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพ ยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศ ว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยเขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออก พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการ เกี่ยวกับการจ ากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลซึ่ง มาตรา ๒๖ ประกอบกับมาตรา ๓๔ และมาตรา ๓๗ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระท าได้โดยอาศัยอ านาจตาม บทบัญญัติแห่งกฎหมาย เหตุผลและความจ าเป็นในการจ ากัดสิทธิและ เสรีภาพของบุคคลตามพระราชบัญญัตินี้ เพื่อ ด าเนินการพัฒนาพื้นที่ภาคตะวันออกให้เป็นระบบ และโดยสอดคล้องกับหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการส่งเสริมการประกอบ พาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้น สูง ทันสมัย สร้างนวัตกรรม และเป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม ซึ่งการตราพระราชบัญญัตินี้สอดคล้อง กับเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๒๖ ของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยแล้ว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยค าแนะน าและยินยอม ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติท าหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปน 마하와치라롱껀 버딘트라텝파야 와랑꾼 폐하께서 현 왕조 3번째 해인 2018년(불기 2061년) 5월 10일에 하사하셨다. 마하와치라롱껀 버딘트라텝파야 와랑꾼 폐하께서는 다음과 같이 공포하도록 하셨다. 동부 특별 개발 구역 관련 법률 을 갖추는 것이 합당하다. 이 법률은 개인의 권리와 자유를 제한하는 것과 관련한 일부 조항 이 있다. 즉, 태국 헌법 제26조는 제34조 및 제37조와 연계하여 법률의 규정에 따른 권한에 의거 하여 행하도록 규정한다. 이 법에 따라 개인의 권리와 자 유를 제한하는 이유와 필요성은 동부 지역 개발 수행이 체계적이 며 지속 가능한 발전 원칙과 부 합하도록 하기 위한 것이며, 특히 선진적이고 현대적이며 혁신을 구축하고 친환경적인 상공업 활 동에 참여하도록 하기 위한 것으 로, 이 법의 제정은 타이 왕국 헌 법 제26조에서 규정하는 조건에 부합한다. 그러므로, 국왕 폐하께서는 의회 직무를 수행하는 국가입법의회의 조언과 동의를 통하여 다음과 같 이 이 법을 제정하도록 하셨다.

제1조

이 법은 “2018년 동부특별개발구역법”이라고 칭한다.

제2조

이 법은 관보에 게재한 이튿날부터 시행하도록 한다.

제3조

다음 각 항의 법령은 폐지하도록 한다. (1) 2017년 1월 17일자 동부특별 경제 회랑 개발에 관한 국가평화질서유지위원회 위원장령 제2/2560호 (2) 2017년 5월 26일자 동부특별 경제 회랑 개발 효율성 제고 방안에 관한 국가평화질서유지위원회 위원장령 제28/2560호 (3) 2017년 12월 25일자 동부특별 경제 회랑 지역 토지에서의 이익 활용 규정에 관한 국가평화질서유지위원회 위원장령 제47/2560호

제4조

이 법에서 사용하는 용어의 뜻은 다음과 같다. “동부특별개발구역”이란 제6조에 따른 지역을 뜻한다. “특별경제진흥구역”이란 제40조에 따라 정책위원회가 고시하는 바에 따른 동부 특별 개발 구역 내의 지역을 뜻한다. “특별경제진흥구역 운영자”란 특별한 지식과 능력을 갖추었으며, 정책위원회가 특별 경제 진흥 지역의 특별 전략 산업 또는 특별 전략 산업 개발 및 진흥과 관련이 있거나 이익이 되는 사 업 활동으로 정하는 원칙에 따라 사무처장으로부터 허가를 취 득한 법인 또는 기타 개인을 뜻한다. “특별 전략 산업”이란 제39조에 따라 정책위원회가 고시하는 산업을 뜻한다. “전략 산업”이란 전략 산업에 대한 국가 경쟁력 증진 관련 법 률에 따른 전략 산업을 뜻한다. “정책위원회”란 동부특별개발구 역정책위원회를 뜻한다. “사무처”란 동부특별개발구역정책위원회 사무처를 뜻한다. “사무처장”이란 동부특별구역정책위원회 사무처장을 뜻한다. “국가 기관”이란 정부 부문이나 국영 기업, 지방 행정 기관, 공공 기관 또는 기타 국가 기관을 뜻한다. “기금”이란 동부특별개발구역개발기금을 뜻한다.

제5조

총리가 이 법에 따른 주관자가 되도록 한다.

제1장 총칙

제6조

짱왓(도)차청싸오와 촌부리, 라영 및 다음 각 항의 목적을 위하여 칙령을 통하여 추가 지정하는 동부 지방에 있는 기타 지역을 동부특별개발구역으로 한다. (1) 국가 경쟁력 제고를 위한 현대적이며 친환경적인 경제적 사업 개발 (2) 사업 운영에서의 장애와 자금을 줄이기 위한 포괄적이고 통합된 정부 부분 서비스 제공 (3) 효율적이고 지속적이며 국민이 편리하게 접근할 수 있고 완벽하게 체계적으로 연결되는 기반 시설 및 공공사업 시스템 제공 (4) 지속 가능한 발전 원칙에 일치하여 지역의 상황과 잠재력에 부합하는 토지 이용의 활용 규정 (5) 편리하고 안전하며 전체적으로 접근이 가능한 생활 및 양질의 사업 운영에 적합한 국제적 수준의 첨단 도시 개발 제(3)항에 따른 목적에 따라 진행되도록 이행하기 위하여 필요한 경우, 첫번째 단락에 따른 지역과 인접하거나 관련된 기타 짱왓(도) 지역의 일부 지역이며, 그러한 수행의 목적을 위하여 필요한 지역에 한하여 동부특별개발구역으로 지정하는 칙령을 제정할 수도 있다.

제7조

다음 각 항과 같이 제6조에 따른 목적 달성을 위하여 이행하는 경우, 정부는 관련 국가 기관을 이행에 동참시키도록 한다. (1) 동부특별개발구역 개발 계획에 따른 이행이 지속 가능한 개발 원칙에 부합하여 거주할 만하고 첨단화되도록 장려하고 지원하며, 포괄적이고 통합적인 정부 서비스 제공 시스템, 공공 사업과 교통 운송 시스템, 정보 통신 기술 시스템, 신기술 장려 시스템, 안정성 있는 에너지 시스템, 수자원 관리 시스템, 공해 통제 및 제거 시스템, 첨단 기술을 적용한 상품 생산과 서비스 제공 및 동부특별개발구역 개발에 필요한 기타 사업을 개발한다. 이와 관련하여 효율적이며 안전하고 안정적이며 국민이 편리하게 접근하도록 이행하여야 한다. (2) 국가 경쟁력의 제고를 위하여 국내외 사업가가 전략 산업과 특별 전략 산업 및 동부특별개발구역에서의 관련 사업을 운영하도록 장려하고 지원하며, 아울러 연구 개발을 수행하고 기술과 혁신을 적용하며, 높은 잠재력을 지닌 사업 운영자나 교육기관 또는 연구기관의 전문 지식 전수를 장려하고 지원한다. (3) 예산을 배정하고 적합성과 필요성을 갖춘 자금 출처를 마련하며, 아울러 동부특별개발구역 개발의 목적 달성과 관련한 국가 기관의 이행을 위한 기타 부분을 지원하도록 한다. (4) 사업 운영 절차를 편리하고 신속하도록 단축하여 사업 운영 및 거주에 이상적인 분위기를 조성하고 교육기관과 의료시설, 공원과 같은 현대적이고 국제적 기준을 충족하는 각종 편의시설을 갖추며 재산과 생명의 안전을 확보한다. (5) 국가의 금융 제도 및 경제 제도의 안정성을 유지하기 위하여 동부특별개발구역에서의 금융 서비스 제공에 대해서는 태국 및 외국 금융기관이 편리하고 신속하며 불가피한 규제만을 두도록 장려하고 지원한다.

제8조

법률이 정하는 바에 따라 환경이나 국민 또는 지역 사회 영향 평가 보고서를 작성하여야 하는 동부특별개발구역 내에서의 특정 프로젝트 또는 사업의 수행은 국가환경위원회가 해당 프로젝트 또는 사업의 환경 영향 평가 보고서에 대한 의견 제시 또는 승인을 검토하기 위한 특별전문위원회를 임명하여, 자료가 구비된 정확한 보고서를 접수한 날부터 120일 이내에 이행을 완료하도록 한다. 천연자원환경정책계획실은 보고서를 작성하여야 하는 제목을 명확하게 명시하여 첫 번째 단락에 따른 보고서와 함께 제출하여야 하는 문서 목록을 국민에게 공고하는 직무를 담당하도록 하며, 보고서 검토는 당국의 허가에 관한 편의 제공 관련 법률에 따른 허가로 간주하도록 하여 해당 법률에 따라 직무 수행 기간을 엄격하게 명시하도록 한다. 국가환경위원회는 사무처 또는 허가 신청자에게 특별 추가 수수료를 청구하는 원칙을 정하는 권한을 갖도록 하며, 국가환경위원회가 정하는 바에 따라 전문위원회에 특별히 추가 보수를 지급하도록 한다. 어떠한 프로젝트 또는 사업에 대한 환경 영향 평가 결과 연구 전문가가 없거나 부족한 경우, 국가환경위원회는 허가증 신청 및 발급 관련 규정을 적용하지 아니하도록 하여 신속하게 환경 평가 연구 전문가에 대한 보충을 승인하도록 하고, 국가 환경 질 증진 및 보호 관련 법률에 따른 허가 신청과 발급 및 환경 영향 평가 보고서 연구 또는 작성 책임자인 허가증 취득자의 자격 관련 규정은 적용하지 아니하며, 태국 국적자가 아닌 사람을 환경 영향 평가 보고서 연구 또는 작성 책임자로 허가할 수도 있다. 이와 관련하여 국가환경위원회가 정하는 원칙과 절차를 따른다.

제9조

동부특별개발구역 개발을 위한 이행에 있어 만약 정책위원회가 어떠한 법률이나 규정, 규칙, 내규, 고시 또는 명령이 이행에 불필요한 불편이나 지연을 초래하거나, 중복 또는 부담을 가중시키거나, 기타 문제 또는 장애가 있다고 판단한다면, 동부특별개발구역 개발이 효율적이고 편리하며 신속하도록 하기 위하여 해당 법률이나 규정, 규칙, 내규, 고시 또는 명령에 대한 개정 조치 또는 새로운 법률 제정 검토를 위하여 정책위원회가 내각에 제시하도록 한다. 이와 관련하여 국민의 평등과 권리 및 자유에 영향을 미치지 아니하여야 하며, 차별을 두지 아니하여야 한다.

제2장 정책위원회

제10조

다음 각 항으로 구성되는 “동부특별개발구역정책위원회”라고 칭하는 하나의 위원회를 두도록 한다. (1) 총리가 위원장이 된다. (2) 부총리 중 총리가 위임하는 1인이 부위원장이 된다. (3) 내무부 장관과 재무부 장관, 농업협동조합부 장관, 교통부 장관, 경제사회디지털부 장관, 천연자원환경부 장관, 에너지부 장관, 상무부 장관, 국방부 장관, 노동부 장관, 과학기술부 장관, 교육부 장관, 보건부 장관 및 산업부 장관이 위원이 된다. (4) 예산처장, 국가경제사회개발심의회 사무처장 및 투자촉진위원회 사무처장이 위원이 된다. (5) 태국상업회의소 회장, 태국공업회의소 회장 및 태국은행협회 회장이 위원이 된다. (6) 동부특별개발구역 정책을 정하고 이행하는 데 이익이 될 지식 또는 전문성을 갖춘 사람 중에서 총리가 임명하는 5인 이하의 권위자가 위원이 된다. 사무처장은 위원 겸 간사가 되도록 한다. 제(5)항이나 제(6)항에 따른 위원이 없거나, 이유에 관계없이 정원에 미달하는 경우, 가능한 인원만으로 정책위원회를 구성하도록 한다. 정책위원회의 회의 및 의결은 정책위원회가 정하는 원칙과 방법을 따르도록 한다. 권위자 위원의 임기는 3년이며, 재임명이 가능할 수 있으나 2회를 초과하여 연임할 수 없다. 임기에 의한 이임 외 다른 이유에 의한 이임이며, 보궐 임명 또는 추가 임명은 행정 공무 수행 절차 관련 법률을 따르도록 한다. 정책위원회의 의결은 위원이 속한 모든 부처 및 기관에 대한 구속력이 있다.

제11조

정책위원회는 다음 각 항의 직무와 권한을 담당한다. (1) 동부특별개발구역 개발을 위한 정책을 정한다. (2) 동부특별개발구역 개발을 위한 종합 계획과 전반적인 토지 활용 계획, 기반 시설과 공공 사업 시스템 개발 계획, 사업 시행 계획 및 동부특별개발구역에서의 총체적이고 포괄적인 정부 서비스 제공 계획을 승인한다. (3) 토지 활용 도면 및 기반 시설과 공공 사업 시스템 개발 도면을 승인한다. (4) 특별경제진흥구역과 특별 전략 산업 및 각 특별경제진흥구역의 사업자에게 제공할 이권을 고시한다. (5) 동부특별개발구역 개발에 대한 계획안과 프로젝트 및 예산을 인가한다. (6) 민간과의 합작 투자 또는 민간이 투자자가 되도록 하는 원칙과 방법 및 조건을 고시한다. (7) 이 법에서 정하는 바에 따른 이행의 원칙과 방법 및 조건을 규정하기 위하여 규정과 규칙 및 고시를 제정한다. (8) 제37조에 따른 승인이나 허가, 권리 부여 또는 이권 부여를 검토한다. (9) 최소한 제10조 제(4)항 및 제(6)항에 따른 각 유형별 1인의 정책위원으로 구성되어야 하는 사무처의 명령에 대한 이의검토위원회를 임명한다. (10) 특정사업위원회 또는 정책위원회가 위임하는 바에 따른 이행을 위한 소위원회를 임명한다. (11) 사무처의 업무 수행을 관리 감독하고, 민첩하고 효율적인 업무 수행을 위하여 사무처가 준수하도록 하는 규정 및 규칙을 제정한다. (12) 동부특별개발구역 개발 수행 결과를 추적하고 평가하며, 아울러 사업 수행의 문제 및 장애를 해결하여, 내각이 정하는 기간 내에 사업 수행 결과를 내각에 보고한다. (13) 이 법에 따른 목적 또는 내각이 위임한 바를 달성하기 위한 관련 기타 업무를 수행한다. 제(1)항과 제(2)항, 제(3)항, 제(4)항, 제(5)항, 제(6)항, 제(7)항 및 제(8)항에 따른 이행은 정책위원회가 어떠한 사안에 대하여 승인을 의결하거나 인가를 완료한 때에 내각에 제출하여 알리도록 한다. 만약 이의 또는 이견이 없다면 내각이 정책위원회의 의결을 승인 또는 인가한 것으로 보도록 한다. 제(4)항과 제(6)항 및 제(7)항에 따른 원칙과 방법 및 조건을 정하기 위한 규정과 규칙 및 고시는 관보에 게재하였을 때 시행하도록 한다.

제12조

동부특별개발구역의 개발이 효율적으로 진행되도록 하기 위하여, 정책위원회가 특별히 민간과의 합작 투자 또는 민간이 투자자가 되도록 하는 절차 및 수행 결과 감독 및 추적 방법을 규정하는 경우, 이 법에 따른 민간과의 합작 투자 또는 민간이 투자자가 되도록 하는 것은 해당 절차와 방법에 따라 이행하도록 하고, 그러한 민간과의 합작 투자 또는 민간이 투자자가 되도록 하는 것이 국가 사업에 대한 민간 투자 관련 법률에 따라 이행하였다고 보도록 한다. 첫 번째 단락에 따른 민간과의 합작 투자 또는 민간이 투자자가 되도록 하는 검토 절차 및 수행 결과 감독 및 추적 절차를 정하는 것은 어떠한 종류 또는 유형의 프로젝트에 적용하여 관보에 고시하여 정책위원회가 정하는 바에 따라 진행되도록 한다.

제13조

정책위원회와 이의검토위원회, 특정사업위원회 및 소위원회는 내각이 정하는 바에 따라 보수와 비용 및 기타 혜택을 수령하도록 한다.

제3장 사무처

제14조

국가 기관이나 예산 절차 관련 법률 또는 기타 법률에 따른 정부 부문 또는 국영기업이 아닌 법인 자격으로 동부특별개발구역 정책위원회 사무처를 두도록 하나, 정부가 사무처에 일반 보조금이나 기타 다른 예산을 배분하는 경우, 예산처는 사무처에 직접 예산을 배분할 책임이 있다. 사무처는 정책위원회의 비서기관이 되도록 한다. 사무처의 업무는 근로 보호 관련 법률과 근로 관계 관련 법률, 사회 보장 관련 법률 및 보상금 관련 법률의 적용 하에 있지 아니하나, 직원 및 피고용인은 합하여 근로 보호 관련 법률과 사회 보장 관련 법률 및 보상금 관련 법률보다 혜택이 적지 아니하여야 한다.

제15조

사무처는 다음 각 항의 직무와 권한을 담당한다. (1) 정책위원회의 총무 업무 및 학술 업무에 대한 책임을 진다. (2) 제11조 및 제12조에 따른 업무 수행과 관련하여 정책위원회에 건의한다. (3) 동부특별개발구역 개발 관련 각종 정책과 계획 및 기준 규정 및 이행으로 인한 기본적인 영향과 아울러 해당 영향에 대한 예방이나 해결 또는 개선 방침이나 수단을 연구, 분석한다. (4) 동부특별개발구역 개발 경과를 최소한 3개월마다 관리, 추적하고 정책위원회에 보고한다. (5) 이 법에 따른 실행과 관련하여 연례 보고서를 작성하여 하원 및 상원에 제출하여 알린다. (6) 동부특별개발구역 개발이 정책위원회가 정하는 정책과 계획 및 수단에 따라 진행되도록 하기 위하여 관련 국가 기관과 조정한다. (7) 특별경제진흥구역 지정의 적합성 및 가능성을 연구한다. (8) 특별개발구역 개발에 이익이 되는 사업 운영을 위하여 투자하거나 국내외 다른 사람과 합작 투자한다. (9) 동부특별개발구역 및 특별경제진흥구역 개발에 이익이 되는 사업 운영을 위하여 유한회사 또는 공개유한회사를 설립한다. (10) 사무처의 업무에 지출하기 위한 자금을 융통한다. (11) 이 법 또는 기타 법률에서 규정하는 바 또는 내각이나 정책위원회가 위임하는 바에 따라 정하는 기타 임무를 수행한다. 제(8)조와 제(9)조 및 제(10)조에 따른 이행은 정책위원회는 타당하다고 판단하는 바에 따라 정할 수도 있는 조건으로 정책위원회의 인가를 받은 때에 행하도록 하며, 제(1)항에 따른 이행의 경우, 만약 5천만 바트를 초과한다면 사전에 내각의 승인을 받아야 한다.

제16조

사무처는 정책위원회가 임명하고 사무처의 업무 수행에 대한 책임을 지는 정책위원회 직속의 사무처장 1인을 두도록 한다. 사무처장은 사무처 직원 및 피고용인의 통솔자가 되도록 한 다.

제17조

사무처장은 정책위원회가 고시하는 바에 따라 정책위원회 및 사무처의 업무에 이익이 되는 지식과 전문성 및 경험을 갖추어야 하고, 태국 국적을 보유한 65세 이하의 사람이어야 하며, 사무처에서 상근 가능하여야 하고, 다음 각 항의 금지 사항에는 해당하지 아니하여야 한다. (1) 파산자이거나 사기로 파산자가 된 이력이 있는 사람 (2) 국가 기관의 공무원이나 직원 또는 피고용인이거나 어떠한 개인의 피고용인 (3) 정무직 공직자 (4) 지방 의회 의원 또는 지방행정관 (5) 정당의 위원 또는 기타 직의 재직자이거나 정당의 담당자 (6) 제23조에 따른 이해관계인 (7) 타이왕국헌법에 따라 선거권 취소 기간 중에 있거나, 선거권 또는 피선거원이 취소된 이력이 있는 사람 또는 정무직에 재임하지 아니하도록 금지된 기간 중에 있거나 권리가 박탈된 이력이 있는 사람 (8) 비리를 저지르거나 부정 또는 비행이라고 간주되는 행위로 인하여 공무나 국가 기관 또는 민간 기관에서 면직이나 해임 또는 파면된 이력이 있는 사람 (9) 증권 및 증권 거래소 관련 법률에 따라 대중이 주주로 있는 사업을 운용하도록 신뢰하기에는 적합성을 결여하였다는 것을 나타내는 속성으로 인하여 공개유한회사 이사직 또는 경영자직에서 이임한 이력이 있는 사람 (10) 비정상적인 부 또는 비정상적인 재산 증가로 인하여 재산을 국가에 귀속시키도록 하는 판결을 받은 이력이 있는 사람 (11) 공무에 대한 위법 행위 또는 사법 직무에 대한 위법 행위를 하거나 마약 관련 법률 또는 도박의 물주 또는 도박장 운영자로서 도박 관련 법률을 위반하였다는 확정 판결을 받은 이력이 있는 사람

제18조

사무처장 임명은 정책위원장이 고용 계약서의 서명자가 되도록하여 정책위원회가 정하는 서식에 따라 고용 계약서를 작성하도록 한다. 첫번째 단락에 따른 고용계약서는 최소한 사무처장의 재임, 근로 조건, 실적 평가, 이임, 계약 종료, 급여 및 기타 보수 관련 규정을 포함하여야 한다. 사무처장은 고용 계약서에서 규정하는 1회당 4년을 초과하지 아니하여야 하는 기간 동안 재임하며, 재임명이 가능할 수 있으나 2회를 초과하는 연임을 불가하다. 정책위원회가 사무처장의 급여액 및 기타 보수를 정하도록 한다.

제19조

사무처장은 고용 계약서에서 정하는 기간에 따른 이임 이외에 다음 각 항에 해당하는 때에 이임한다. (1) 사망한 때 (2) 사임한 때 (3) 제17조에 따른 자격을 결여하거나 금지 사항에 해당하는 때 (4) 실적 평가를 통과하지 못하는 때 (5) 고용 계약서에서 규정한 조건에 따라 고용이 해지된 때 (6) 추태로 인하여 정책위원회가 고용 해지를 의결한 때

제20조

사무처장은 다음 각 항의 직무와 권한을 담당한다. (1) 사무처의 사무 행정이 효율적으로 진행되고, 목표를 달성하며, 법률과 규정 및 규칙과 아울러 정책위원회가 정하는 정책과 계획 및 방법에 따라 이행되도록 책임진다. (2) 사무처의 직원 및 피고용인을 지휘, 임용, 임명, 해임, 승진, 좌천, 감봉, 징계하고, 아울러 사무처 직원 또는 피고용인을 면직한다. 이와 관련하여 정책위원회가 정하는 규칙을 따르나, 만약 사무차장 및 내부 감사직에 대한 사안이라면 사전에 정책위원회의 승인을 받아야 한다. (3) 정책위원회가 정하는 규정이나 규칙 또는 의결을 위반 또는 저촉하지 아니하도록 하여 사무처와 직원 및 피고용인의 복무와 관련한 규정 및 수행 절차를 정한다. (4) 이 법에 따른 이행 또는 동부특별개발구역 내에서의 실행이 양호통치(good governance) 원칙 및 지속 가능한 발전 원칙에 따라 진행되도록 하는 데에 이익이 되도록 하기 위한 규칙을 제정한다. (5) 정책위원회가 위임하는 바에 따른 기타 임무를 수행한다. 제삼자와 관련한 사무처의 업무는 사무처장이 사무처 대표가 되도록 한다. 이를 위하여 사무처장은 사무차장 또는 직원이 대행하도록 위임할 수도 있으며, 제43조에 따른 경우가 아닌 필요성이 있는 경우, 사무처장은 다른 사람이 대행하도록 위임할 수 있다. 이와 관련하여 정책위원회가 정하는 규칙을 따른다. 제(4)항에 따른 규칙은 정책위원회의 승인을 받고 관보에 게재를 완료한 때에 시행하도록 한다.

제21조

직무 수행에서 사무처장이 위임하는 바에 따라 사무처장을 보조하기 위하여 정책위원회가 정하는 인원에 따라 사무차장을 두도록 한다. 사무차장의 자격과 금지 사항, 임명 및 이임은 정책위원회가 정하는 바를 따르도록 한다.

제22조

사무처장 재임자가 없거나, 있으나 직무 수행이 불가능한 경우, 정책위원회가 사무차장 1인을 사무처장 직무 대행자로 임명한다. 사무차장이 없거나, 있으나 직무 수행이 불가능한 경우, 정책위원회는 사무처의 직원 1인을 사무처장 직무대행으로 임명하도록 한다. 첫번째 단락에 따른 사무처장 직무대행은 사무처장과 동일한 직무와 권한을 담당하도록 한다.

제23조

사무처장 및 사무차장은 사무처와의 계약 또는 사무처에 대하여 이행하거나 이행할 업무에서 직간접적으로 이해관계인이 아니어야 한다. 첫 번째 단락에 해당하는 사무처장 또는 사무차장의 배우자나 미성년 자녀의 행위는 해당 사무처장이나 사무차장이 사무처의 업무에 이해관계가 있는 것으로 본다. 첫 번째 단락의 내용은 사무처가 주주인 유한회사 또는 공개유한회사의 이사가 되도록 정책위원회의 위임을 받은 사무처장 또는 사무차장에 대해서는 적용하지 아니한다. 이 조를 위반하여 발생한 법률 행위는 구속력을 갖지 아니한다. 다만, 정책위원회가 재가한 것은 제외한다.

제24조

사무처의 수입은 다음 각 항과 같다. (1) 적합성과 필요성에 따라 정부가 배분하는 일반 보조금 (2) 투자나 사업 운영 또는 사무처의 직무 및 권한 이행으로 인하여 취득한 자금이나 자산 또는 수익 (3) 기부된 자금 또는 자산 (4) 사무처의 자금 또는 자산에서 발생하는 기타 이익 또는 수익 사무처가 업무 수행으로 취득한 모든 수입은 사무처에 귀속되도록 하며, 유지비와 감가상각비, 위원회와 사무처 직원 및 피고용인의 보수, 지원 및 복지를 위한 기금 후원금, 사무처의 사업에 지출하기 위한 기금 및 예비비와 같은 업무 수행 비용 및 부담금을 제한 잔액은 국가 수입으로 송금한다. 두 번째 단락에 따른 사무처의 사업에 지출하기 위한 예비비는 부족할 경우를 대비하여 설정하는 보통 예비비와 사업 확장을 위한 예비비, 부채 상환을 위한 예비비 및 정책위원회가 정하는 바에 따른 기타 예비비로 구성된다. 이와 관련하여 각 종류의 예비비 범위를 정하는 것은 재무부의 승인을 받아야 한다. 예비비 지출은 정책위원회가 정하는 원칙과 조건을 따르도록 한다. 사무처의 자산은 강제집행의 책임에 속하지 아니하며, 어떠한 사람도 시효 기간을 쟁점으로 제기할 수 없다.

제25조

사무처는 보편적으로 인정되며 재무부가 마련한 회계 시스템과 일치하는 회계 원칙에 따라 적합한 회계 시스템을 정확하게 구축하고 유지하도록 한다. 회계 연도는 정책위원회가 정하는 바를 따르도록 한다.

제26조

사무처는 정기적으로 내부 감사를 마련하도록 한다. 정책위원회는 3인 이상의 권위자 위원을 내부 감사 결과와 관련한 의견을 정책위원회에 제출하기 위한 감사위원회로 임명한다. 내부 감사를 하는 경우, 내부 감사 담당자가 감사위원회에 직접 감사 결과를 보고하도록 한다. 행정 공무 수행 절차 관련 법률에 따른 행정 검토 수행권이 있는 위원회에 관한 규정을 감사위원회의 회의에 준용하도록 한다.

제27조

재정자금감사처 또는 재정자금감사처가 승인한 독립 회계 감사가 사무처의 회계 감사 담당자가 되도록 한다.

제28조

회계 감사 담당자는 회계 연도 마지막 날부터 120일 이내에 내각에 제출하기 위한 회계 감사 결과를 정책위원회에 보고하도록 하며, 사무처는 회계 감사 담당자가 인증한 재무제표를 내각이 승인한 날부터 15일 이내에 공개하도록 한다.

제4장 동부특별개발구역 개발

제29조

사무처는 지역 주민이 최상의 혜택을 받도록 하고 토지 이용이 효율성을 갖도록 하기 위해 동부특별구역 개발을 위한 정책과 종합 계획, 전반적인 토지 이용 계획, 기반 시설과 공공 사업 시스템 개발 계획, 사업 시행 계획 및 편리하고 신속한 총체적이고 포괄적인 정부 서비스 제공 계획을 작성하는 것과 동시에 시행 책임과 관련한 국가 기관을 정하여 정책위원회에 제출하여 승인하도록 하며, 정책위원회가 승인을 완료한 때에는 해당 국가 기관이 시행에 대한 책임을 담당하도록 한다. 다만, 정책위원회가 다르게 정하는 것은 제외한다. 첫 번째 단락에 따른 정책과 계획은 사업 운영 맥락에서의 인권 관련 법률에 따른 권리 지원 및 보호 원칙에 따라 영향을 받는 사람에 대한 보호와 존중 및 구제 원칙을 고수하도록 하여 동부특별개발구역과 연결된 지역의 토지 이용 정책 및 기반 시설과 공공 사업 시스템 개발 계획과의 연계성에 대하여 고려하여야 한다.

제30조

정책위원회가 제29조에 따른 계획에 대한 승인을 완료한 때에는 사무처는 공공사업도시계획국 및 관련 국가 기관과 합동으로 해당 계획에 부합하는 토지 이용 도면 및 기반 시설과 공공사업 시스템 개발 도면의 세부 사항에 대한 작성을 정책위원회가 그러한 계획을 승인한 날부터 1년 이내에 이행 완료하도록 한다. 첫 번째 단락에 따른 기반 시설과 공공사업 시스템 개발 도면은 동부특별개발구역과 연결된 지역의 기반 시설과 공공사업 시스템과의 연속성 및 연결성에 대하여 고려하여야 하며, 최소한 다음 각 항의 시스템으로 구성되어야 한다. (1) 공공사업 시스템 (2) 교통 및 운송 시스템 (3) 정보 및 통신 시스템 (4) 정착 및 지리적 지역 사회 시스템 (5) 전략 산업과 특별 전략 산업 운영 및 사업 운영에 적합한 생태 및 환경 시스템 (6) 수자원 관리 시스템 (7) 공해 방지 및 제거 시스템 (8) 방재 시스템 첫 번째 단락에 따른 이행에 있어, 사무처 및 관련 기관은 지속 가능한 발전 원칙에 따른 지역 사회와의 관계와 국민의 삶의 질(well-being), 환경 및 생태계에 대하여 고려하도록 한다. 이와 관련하여 지역 주민에게 올바른 인식을 형성하고, 이해 관계자와 국민 및 관련 지역 사회의 의견 및 제안을 수렴하여 참고하도록 한다.

제31조

제30조에 따른 도면을 작성하는 동안에는 다음 각 항을 따른다. (1) 도시 계획 원칙에 따라 이행하도록 한다. (2) 정책위원회는 관련 기관이 어떠한 사안에 대하여 제29조에 따른 정책 및 계획에 따라 우선 실행하도록 의결할 수도 있다.

제32조

제30조에 따라 작성하는 도면은, 정책위원회의 승인을 받고 내각이 재가한 때에는 내각이 그 도면을 재가한 날 이전에 동부특별개발구역에서 적용한 부분의 도면 관련 법률에 따른 도면은 취소하도록 하며, 공공사업도시계획국이 해당 도면과 부합하도록 새로운 도면 작성을 실시하도록 한다. 도면 작성이 완료되지 아니한 동안에는 동부특별개발구역에 있는 짱왓(도)의 도시 계획 관련 법률에 따라 내각이 종합 도시 계획으로 재가한 도시 계획으로 보도록 한다.

제33조

동부특별개발구역 개발을 위하여 또는 동부특별개발 구역 개발이 집약적이며, 목적을 달성하며, 최고의 효율성이 있도록 하기 위하여 동부특별구역 내부나 외부에서의 실행에 관계없이 어떠한 실행을 하여야 하는 필요성이 있는 경우, 만약 해당 실행이 어떠한 하나 또는 다수의 국가 기관이 담당하는 직무 및 권한이라면, 내각은 어떠한 하나 또는 다수의 국가 기관이나 사무처가 단독 시행자가 되도록 하거나, 관련 국가 기관 전체 또는 일부가 공동 시행자가 되도록 하거나, 사무처와 공동 시행자가 되도록 정할 수도 있으며, 이와 관련하여 내각이 시행 기간과 기준 및 동부특별개발구역의 개발을 위한 종합 계획과 부합하도록 시행하여야 하는 특수성을 정할 수도 있다. 첫번째 단락에 따른 시행에 있어, 만약 법률이 그러한 시행자가 어떠한 국가 기관의 승인이 나 허가 또는 동의를 받아야 하도록 정하였다면, 정책위원회가 그러한 법률에 따라 국가 기관을 대신하여 승인이나 허가 또는 동의에 대하여 검토하도록 하나, 시행에 착수하기 전에 그러한 법률에 따라 승인이나 허가 또는 동의를 할 권한이 있는 국가 기관에 통지하여야 하며, 이를 위하여 그러한 법률에 따라 승인이나 허가 또는 동의할 권한이 있는 국가 기관이 첫번째 단락에 따라 내각의 위임을 받은 국가 기관 또는 사무처에 협조하거나 편의를 제공할 책임을 담당하도록 한다. 만약 내각이 다르게 규정하지 아니하였다면, 첫번째 단락에 따라 내각의 위임을 받은 국가 기관 또는 사무처가 민간이 시행자가 되도록 위임할 수도 있으며, 이와 같은 경우, 해당 민간이 그러한 법률에 따라 국가 기관을 대신하여 정책위원회의 승인이나 허가 또는 동의를 받은 것으로 보도록 하나, 첫번째 단락에 따라 내각의 위임을 받은 국가 기관 또는 사무처는 해당 민간의 시행이 그 법률을 따르도록 감독하여야 한다.

제34조

동부특별개발구역 개발의 이익을 위하여 토지 또는 부동산을 취득할 필요성이 있는 경우, 사무처는 구입이나 임차, 임차구매, 교환, 수용 또는 정책위원회가 정하는 기타 방법을 통한 실행 권한을 갖도록 한다. 첫번째 단락에 따른 실행 전, 정책위원회는 지역의 적합성 및 자산 측면의 적합성과 아울러 영향 및 그러한 영향을 방지 또는 해결하거나 구제할 방침 또는 수단과 지역 주민 및 정부가 받을 가치를 연구하기 위한 임시위원회를 임명하도록 한다. 이 법에 따라 사무처가 취득하는 토지는 정책위원회가 정하는 원칙에 따라 사무처에 그 토지의 사용권 및 활용권이 있으며, 만약 구입이나 임차구입 또는 구입하거나 임차구입한 토지와 교환하여 취득하였거나 헌납된 토지라면 사무처에 소유권이 귀속되도록 하고, 사무처가 매매나 교환 또는 임차구입을 할 수 있는 권한을 갖도록 한다.

제35조

사무처 및 법률이 권리 및 법률 행위에 대하여 등록하도록 규정한 토지 및 모든 자산 관련 업무에서 사무처와 거래를 하는 사람은 해당 법률에 따라 권리 및 법률 행위 등록 수수료 납부가 면제된다.

제36조

동부특별개발구역 개발을 위하여 필요성이 있는 경우, 정책위원회는, 내각의 허가를 통하여, 농업을 위한 토지 개혁 관련 법률에 따라 농업을 위한 토지 개혁 사무처가 취득한 토지를 사무처가 농업을 위한 토지 개혁 관련 법률에서 규정한 사업 이행 또는 운영을 위하여 해당 부분의 토지에 대한 토지개혁구역 철회 조치의 필요 없이 사용하도록 하는 권한이 있다. 첫번째 단락에 따른 토지 이용에 관하여, 농업을 위한 토지 개혁 관련 법률에 따른 농업을 위한 토지 개혁 위원회의 권한은 정책위원회의 권한이 되도록 하며, 농업을 위한 토지 개혁 관련 법률에 따른 담당관의 직무와 권한은 사무처장 또는 사무처장이 위임한 사람의 직무 및 권한이 되도록 한다. 첫번째 단락에 따라 사무처가 권한을 보유한 토지는 정책위원회의 허가를 통하여 정책위원회가 정하는 원칙과 절차 및 조건에 따른 보수를 지불하도록 하여 다른 사람이 이용하도록 할 수 있다. 첫번째 단락에 따라 사무처가 사용권을 보유한 토지가 다른 사람이 먼저 이용권을 보유한 경우, 사무처는 정책위원회가 정하는 원칙과 절차 및 조건에 따라 해당자 대신 이용할 다른 토지를 마련하거나 보상금을 지급하거나 기타 반대급부를 제공하도록 한다.

제37조

동부특별개발구역 개발이 제6조에 따른 목적 및 제29조에 따른 정책과 계획을 따르도록 하기 위하여 정책위원회는 다음 각 항의 법령에 따라 동부특별개발구역 개발에 직접적으로 이익이 되는 이행을 하는 사람에게 승인 또는 허가를 하거나 권리 또는 특허를 제공하는 권한을 부여하도록 하나, 동부특별개발구역 외부에서의 이행인 경우, 연계된 사안이어야 하며, 해당 법령에 따른 주무 장관의 인가를 받아야 한다. (1) 재무부의 직무 및 권한 관련 부분을 제외한 1972년 1월 26일자 「혁명단 공고 제25호」 (2) 태국 영해에서의 항해 관련 법률 (3) 국가 관개 관련 법률 (4) 에너지 사업 관련 법률 (5) 특허 국도 관련 법률 (6) 평화를 위한 핵에너지 관련 법률 첫번째 단락에 따른 승인 또는 허가나 권리 또는 특허 제공에서, 정책위원회는 해당 법령에 따라 정한 원칙과 절차 및 조건을 고려하도록 하나, 정책위원회가, 만약 그와 같은 원칙과 절차 또는 조건의 수정, 보완이 있다면, 해당 승인 또는 허가나 권리 또는 특허 제공에 효율성을 높인다고 판단하는 경우, 의견을 제시하기 위하여 관련 법령에 따라 직무와 권한을 담당하는 사람에게 알리도록 하며, 정책위원회가 검토를 완료한 때에는 적합하다고 판단하는 원칙이나 절차 또는 조건을 관보에 게재하도록 하고, 그렇게 수정, 보완한 원칙이나 절차 또는 조건에 따라 승인 또는 허가하거나 권리 또는 특허를 제공하도록 한다. 정책위원회가 첫번째 단락에 따라 승인 또는 허가하거나 권리 또는 특허를 제공한 때에는, 사무처장 또는 사무처장이 위임한 사무처 직원에게 첫번째 단락에 따르도록 강제하는 직무 및 권한을 보유한 담당자 또는 담당관으로서의 자격을 부여한다.

제38조

사무처의 업무를 효율적으로 수행하기 위하여 사무처장은 국가 기관의 공무원이나 직원 또는 피고용인이 임시로 사무처의 직원 또는 피고용인으로서 직무를 수행하도록 파견 요청을 할 수 도 있으나, 사전에 해당 국가 기관과 합의하여야 하며, 그 필요성이 완료된 때에는 해당자를 원래의 소속 기관으로 즉시 복귀시켜야 한다. 첫번째 단락에 따라 임시로 사무처의 직원 또는 피고용인으로서 직무를 수행하도록 파견된 공무원이나 직원 또는 피고용인은 원래의 지위를 상실하지 아니하며, 원래의 소속 기관에서 경우에 따라 급여 또는 임금을 계속 수령한다. 정책위원회는 첫번째 단락에 따른 국가 기관의 공무원이나 직원 또는 피고용인에게 사무처에서 직무를 수행하는 동안 특별보수를 지급하도록 정할 수도 있다.

제5장 특별경제진흥구역

제39조

다양한 측면에서의 경쟁력 증진과 더불어 선진적이고, 혁신적이며, 친환경적인 기술 활용으로 향하는 국가 산업 개발의 이익을 위하여 정책위원회는 특정 분야 또는 다양한 분야의 특별전략산업 개발 및 진흥 또는 특별전략산업 개발 및 진흥과 관련이 있거나 이익이 되는 사업을 일으키도록 장려하거나, 특별경제진흥구역의 사업자나 교육 기관 또는 연구 기관의 고도의 잠재력을 지닌 지식과 전문성을 전수하도록 하기 위한 특별경제진흥구역을 설치하도록 정할 수도 있다. 특별전략산업을 정하는 데 있어, 정책위원회는 전략 산업 전체나 일부 또는 서비스 산업과 관광 및 회의 산업을 포함하는 전략 산업 이외의 기타 산업 또는 어떠한 기타 산업을 고시할 수도 있으나, 최소한 첫번째 단락에 따른 개발이 있는 다음 각 항과 같은 다양한 분야의 산업으로 구성되어야 한다. (1) 차세대 자동차 (2) 스마트 전자 (3) 고소득층 대상 관광 및 의료 (4) 농업 및 생명 공학 (5) 식품 가공 (6) 로봇 (7) 항공 및 물류 (8) 바이오 연료 및 바이오 화학 (9) 디지털 (10) 메디컬 허브(medical hub) 두번째 단락에 따른 특별전략산업 장려 및 지원에는 국제적 설계 및 설비 기술 개발 원칙을 고려하여야 한다. 두번째 단락에 따라 특별전략산업을 장려하는 때에는 특별경제진흥구역의 사업자 및 특별경제구역에서 근무하는 사람에 대한 편의 시설 마련 및 서비스 제공에 대하여 고려하도록 한다.

제40조

합당하다고 판단하는 경우, 정책위원회는 특정 분야 또는 상충하지 아니하는 다양한 분야의 투자 추진 목적을 위하여 동부특별개발구역의 특정 지역을 특별경제진흥구역으로 지정할 수도 있다. 첫번째 단락에 따라 특별경제진흥구역을 지정하기 전, 사무처는 제30조 세번째 단락의 내용을 준용하여 특별경제구역의 토지 이용 설계도안을 마련하는 것과 함께 실행 타당성과 이익, 영향 및 국민 또는 지역 사회에 곤란이나 피해를 야기할 수도 있는 부작용에 대한 구제 수단의 연구를 마련하도록 하며, 해당 연구 결과 및 설계도안을 사무처의 정보망 시스템 및 전국민에게 알 수 있도록 하는 기타 수단으로 공개하도록 한다.

제41조

동부특별개발구역 내에 위치하는 토지를 보유한 토지 소유주는 정책위원회의 동의를 통하여 사무처가 고시하는 바에 따라 제40조에 따른 이행 원칙과 절차 및 조건을 준수하고 서비스 요금 및 비용을 납부하여 사무처에 해당 지역에 대한 특별경제진흥구역 지정을 요청할 수도 있다. 사무처가 첫번째 단락에 따른 이행을 완료하고 해당 지역을 특별경제진흥구역으로 고시하기 합당하다고 판단하였으며, 해당 토지의 소유권자가 국민 또는 지역 사회에 곤란이나 피해를 야기할 수도 있는 부작용에 대하여 사무처가 정한 지침에 따라 책임지고 구제하겠다고 동의한 경우, 사무처가 정책위원회에 제출하여 해당 지역을 특별경제진흥구역으로 고시하는 것을 검토하도록 한다. 첫번째 단락에 따른 신청자가 함께 신청서를 제출한 지역 주민인 경우, 사무처는 서비스 요금 또는 수수료를 감면하여 이행할 수도 있다. 이와 관련하여 정책위원회가 정하는 원칙과 조건을 따른다.

제42조

각 구역의 특별경제진흥구역 설치와 구역 변경 및 취소는 정책위원회가 관보에 고시하도록 한다. 첫번째 단락에 따른 특별경제진흥구역 설치 고시는 최소한 다음 각 항과 같은 주요 내용이 포함되어야 한다. (1) 특별경제진흥구역의 명칭 (2) 특별경제진흥구역의 목적 (3) 고시 마지막 부분에 경계선을 지정한 지도가 포함된 특별경제진흥구역의 범위 (4) 특별경제진흥구역의 토지 이용 도면 제30조와 제31조 및 제32조의 내용을 제(4)항에 따른 도면 작성 및 따른 도면의 효력에 대하여 준용하도록 한다.

제43조

다음 각 항의 법률과 관련한 특별경제진흥구역 내에서의 실행 또는 행위가, 만약 법률이 시행자 또는 행위자가 사전에 그 법률에 따른 국가 기관 또는 위원회의 승인이나 허가, 허가증 또는 동의를 받아야 하거나, 그 법률에 따른 국가 기관 또는 위원회에 등록하거나, 신고하도록 규정한다면, 사무처장이 그 법률에 따라 승인 또는 허가, 허가증 발급 또는 동의 권한자나 등록 또는 신고 접수 권한자로 보도록 한다. (1) 토지 굴착 및 매립 관련 법률 (2) 건축물 관리 관련 법률 (3) 기계 등록 관련 법률 (4) 공중 위생 관련 법률 (5) 제54조제(1)항 또는 제(2)항에 따른 외국인의 왕국 내 체류 허가 목적에만 해당하는 이민 관련 법률 (6) 상업 등기 관련 법률 (7) 공장 관련 법률 (8) 토지 분배 관련 법률 첫번째 단락에 따라 사무처장의 승인이나 허가, 허가증 또는 동의를 받았거나, 사무처장에게 등록 또는 신고를 완료한 때에는 그 시행자 또는 행위자가 해당 법률에 따른 국가 기관 또는 위원회의 승인이나 허가, 허가증 또는 동의를 받았다고 보도록 한다. 네번째 단락의 적용 하에서 두번째 단락에 따른 승인이나 허가, 허가증 발급, 동의 또는 등록이나 신고 접수는 사무처장이 그 법률에 따라 정한 원칙과 절차 및 조건에 따라 집행하여야 하며, 증거 자료로 보관하기 위하여 해당 법률 또는 관련 법률에 따른 국가 기관이나 위원회에 신고하여야 한다. 만약 사무처장이 세번째 단락에 따른 법률에 따라 정한 원칙과 절차 또는 조건의 수정, 보완이 있다면 그 법률에 따른 승인이 나 허가, 허가증 발급, 동의 또는 등록이나 신고 접수의 효율성을 높인다고 판단하는 경우, 의견 제시를 위하여 해당 법률에 따른 국가 기관 또는 위원회에 알리도록 하며, 정책위원회가 검토하도록 제출한다. 만약 정책위원회가 동의한다면, 사무처장은 기존의 원칙이나 절차 또는 조건을 대신하여 그렇게 수정, 보완한 원칙이나 절차 또는 조건을 따라 이행하도록 한다. 사무처장은 첫번째 단락에 따른 권한을 사무차장이나 사무처 직원 또는 관련 국가 기관의 담당관에게 위임하여 대행하도록 할 수도 있다. 그러한 위임이 있는 때에는 관련 국가 기관에 통지하도록 한다. 사무처장 또는 다섯번째 단락에 따라 위임받은 사무차장, 사무처 직원 또는 국가 기관 담당자에게 첫번째 단락에 따라 진행하도록 강제하는 직무와 권한을 보유한 담당자 또는 담당관으로서의 자격을 부여한다.

제44조

제43조에 따른 승인이나 허가, 허가증 발급, 동의 또는 등록이나 신고 신청자는 명령을 수령한 날부터 30일 이내에 정책위원회가 임명하는 진정검토위원회에 사무처장의 명령에 대한 진정을 제기할 권리가 있다. 첫번째 단락에 따른 진정은 정정책위원회가 관보에 고시하여 정하는 서식을 따르도록 하며, 해당 법률과 관련한 진정으로 보도록 한다. 첫번째 단락에 따른 진정검토위원회의 결정은 최종적인 것이 되도록 한다.

제45조

제43조에 따른 승인이나 허가, 허가증 발급, 동의 또는 등록이나 신고 접수는 사무처장이 수수료나 보수, 비용 또는 법률이나 규칙 또는 그에 관한 지방조례가 정한 기타 요금을 청구할 권한을 갖도록 하며, 정책위원회가 정하는 비율에 따라 그와 같이 실행하는 추가 서비스 요금을 청구할 권한을 갖도록 한다. 첫번째 단락에 따라 사무처장이 청구하는 수수료나 보수, 비용 또는 기타 요금은 해당 수수료를 청구할 권한이 있는 국가 기관으로 송금하도록 한다.

제2장 동부특별개발구역 개발

제29조

사무처는 지역 주민이 최상의 혜택을 받도록 하고 토지 이용이 효율성을 갖도록 하기 위하여 동부특별구역 개발을 위한 정책과 종합 계획, 전반적인 토지 이용 계획, 기반 시설과 공공 사업 시스템 개발 계획, 사업 시행 계획 및 편리하고 신속한 총체적이고 포괄적인 정부 서비스 제공 계획을 작성하는 것과 동시에 시행 책임과 관련한 국가 기관을 정하여 정책위원회에 제출하여 승인하도록 하며, 정책위원회가 승인을 완료한 때에는 해당 국가 기관이 시행에 대한 책임을 담당하도록 한다. 다만 정책위원회가 다르게 정하는 것은 제외한다. 첫번째 단락에 따른 정책과 계획은 사업 운영 맥락에서의 인권 관련 법률에 따른 권리 지원 및 보호 원칙에 따라 영향을 받는 사람에 대한 보호와 존중 및 구제 원칙을 고수하도록 하여 동부특별개발구역과 연결된 지역의 토지 이용 정책 및 기반 시설과 공공 사업 시스템 개발 계획과의 연계성에 대하여 고려하여야 한다.

제30조

정책위원회가 제29조에 따른 계획에 대한 승인을 완료한 때에는 사무처는 공공사업도시계획국 및 관련 국가 기관과 합동으로 해당 계획에 부합하는 토지 이용 도면 및 기반 시설과 공공 사업 시스템 개발 도면의 세부사항에 대한 작성을 정책위원회가 그러한 계획을 승인한 날부터 1년 이내에 이행 완료하도록 한다. 첫번째 단락에 따른 기반 시설과 공공 사업 시스템 개발 도면은 동부특별개발구역과 연결된 지역의 기반 시설과 공공 사업 시스템과의 연속성 및 연결성에 대하여 고려하여야 하며, 최소한 다음 각 항의 시스템으로 구성되어야 한다. (1) 공공 사업 시스템 (2) 교통 및 운송 시스템 (3) 정보 및 통신 시스템 (4) 정착 및 지리적 지역 사회 시스템 (5) 전략 산업과 특별 전략 산업 운영 및 사업 운영에 적합한 생태 및 환경 시스템 (6) 수자원 관리 시스템 (7) 공해 방지 및 제거 시스템 (8) 방재 시스템 첫번째 단락에 따른 이행에 있어, 사무처 및 관련 기관은 지속 가능한 발전 원칙에 따른 지역 사회와의 관계와 국민의 삶(well-being), 환경 및 생태계에 대하여 고려하도록 한다. 이와 관련하여 지역 주민에게 올바른 인식을 형성하고, 이해 관계자와 국민 및 관련 지역 사회의 의견 및 제안을 수렴하여 참고하도록 한다.

제31조

제30조에 따른 도면을 작성하는 동안에는 다음 각 항을 따른다. (1) 도시 계획 원칙에 따라 이행하도록 한다. (2) 정책위원회는 관련 기관이 어떠한 사안에 대하여 제29조에 따른 정책 및 계획에 따라 우선 실행하도록 의결할 수도 있다.

제32조

제30조에 따라 작성하는 도면은, 정책위원회의 승인을 받고 내각이 재가한 때에는 내각이 그 도면을 재가한 날 이전에 동부특별개발구역에서 적용한 부분의 도면 관련 법률에 따른 도면은 취소하도록 하며, 공공사업도시계획국이 해당 도면과 부합하도록 새로운 도면 작성을 실시하도록 한다. 도면 작성이 완료되지 아니한 동안에는 동부특별개발구역에 있는 짱왓(도)의 도시 계획 관련 법률에 따라 내각이 종합 도시 계획으로 재가한 도시 계획으로 보도록 한다.

제33조

동부특별개발구역 개발을 위하여 또는 동부특별개발구역 개발이 집약적이며, 목적을 달성하며, 최고의 효율성이 있도록 하기 위하여 동부특별구역 내부나 외부에서의 실행에 관계없이 어떠한 실행을 하여야 하는 필요성이 있는 경우, 만약 해당 실행이 어떠한 하나 또는 다수의 국가 기관이 담당하는 직무 및 권한이라면, 내각은 어떠한 하나 또는 다수의 국가 기관이나 사무처가 단독 시행자가 되도록 하거나, 관련 국가 기관 전체 또는 일부가 공동 시행자가 되도록 하거나, 사무처와 공동 시행자가 되도록 정할 수도 있으며, 이와 관련하여 내각이 시행 기간과 기준 및 동부특별개발구역의 개발을 위한 종합계획과 부합하도록 시행하여야 하는 특수성을 정할 수도 있다. 첫번째 단락에 따른 시행에 있어, 만약 법률이 그러한 시행자가 어떠한 국가 기관의 승인이 나 허가 또는 동의를 받아야 하도록 정하였다면, 정책위원회가 그러한 법률에 따라 국가 기관을 대신하여 승인이나 허가 또는 동의에 대하여 검토하도록 하나, 시행에 착수하기 전에 그러한 법률에 따라 승인이나 허가 또는 동의를 할 권한이 있는 국가 기관에 통지하여야 하며, 이를 위하여 그러한 법률에 따라 승인이나 허가 또는 동의할 권한이 있는 국가 기관이 첫번째 단락에 따라 내각의 위임을 받은 국가 기관 또는 사무처에 협조하거나 편의를 제공할 책임을 담당하도록 한다. 만약 내각이 다르게 규정하지 아니하였다면, 첫번째 단락에 따라 내각의 위임을 받은 국가 기관 또는 사무처가 민간이 시행자가 되도록 위임할 수도 있으며, 이와 같은 경우, 해당 민간이 그러한 법률에 따라 국가 기관을 대신하여 정책위원회의 승인이나 허가 또는 동의를 받은 것으로 보도록 하나, 첫번째 단락에 따라 내각의 위임을 받은 국가 기관 또는 사무처는 해당 민간의 시행이 그 법률을 따르도록 감독하여야 한다.

제34조

동부특별개발구역 개발의 이익을 위하여 토지 또는 부동산을 취득할 필요성이 있는 경우, 사무처는 구입이나 임차, 임차구매, 교환, 수용 또는 정책위원회가 정하는 기타 방법을 통한 실행 권한을 갖도록 한다. 첫번째 단락에 따른 실행 전, 정책위원회는 지역의 적합성 및 자산 측면의 적합성과 아울러 영향 및 그러한 영향을 방지 또는 해결하거나 구제할 방침 또는 수단과 지역 주민 및 정부가 받을 가치를 연구하기 위한 임시위원회를 임명하도록 한다. 이 법에 따라 사무처가 취득하는 토지는 정책위원회가 정하는 원칙에 따라 사무처에 그 토지의 사용권 및 활용권이 있으며, 만약 구입이나 임차구입 또는 구입하거나 임차구입한 토지와 교환하여 취득하였거나 헌납된 토지라면 사무처에 소유권이 귀속되도록 하고, 사무처가 매매나 교환 또는 임차구입을 할 수 있는 권한을 갖도록 한다.

제35조

사무처 및 법률이 권리 및 법률 행위에 대하여 등록하도록 규정한 토지 및 모든 자산 관련 업무에서 사무처와 거래를 하는 사람은 해당 법률에 따라 권리 및 법률 행위 등록 수수료 납부가 면제된다.

제36조

동부특별개발구역 개발을 위하여 필요성이 있는 경우, 정책위원회는, 내각의 허가를 통하여, 농업을 위한 토지 개혁 관련 법률에 따라 농업을 위한 토지 개혁 사무처가 취득한 토지를 사무처가 농업을 위한 토지 개혁 관련 법률에서 규정한 사업 이행 또는 운영을 위하여 해당 부분의 토지에 대한 토지개혁구역 철회 조치의 필요 없이 사용하도록 하는 권한이 있다. 첫번째 단락에 따른 토지 이용에 관하여, 농업을 위한 토지개혁 관련 법률에 따른 농업을 위한 토지 개혁 위원회의 권한은 정책위원회의 권한이 되도록 하며, 농업을 위한 토지 개혁 관련 법률에 따른 담당관의 직무와 권한은 사무처장 또는 사무처장이 위임한 사람의 직무 및 권한이 되도록 한다. 첫번째 단락에 따라 사무처가 권한을 보유한 토지는 정책위원회의 허가를 통하여 정책위원회가 정하는 원칙과 절차 및 조건에 따른 보수를 지불하도록 하여 다른 사람이 이용하도록 할 수 있다. 첫번째 단락에 따라 사무처가 사용권을 보유한 토지가 다른 사람이 먼저 이용권을 보유한 경우, 사무처는 정책위원회가 정하는 원칙과 절차 및 조건에 따라 해당자 대신 이용할 다른 토지를 마련하거나 보상금을 지급하거나 기타 반대급부를 제공하도록 한다.

제37조

동부특별개발구역 개발이 제6조에 따른 목적 및 제29조에 따른 정책과 계획을 따르도록 하기 위하여 정책위원회는 다음 각 항의 법령에 따라 동부특별개발구역 개발에 직접적으로 이익이 되는 이행을 하는 사람에게 승인 또는 허가를 하거나 권리 또는 특허를 제공하는 권한을 부여하도록 하나, 동부특별개발구역 외부에서의 이행인 경우, 연계된 사안이어야 하며, 해당 법령에 따른 주무 장관의 인가를 받아야 한다. (1) 재무부의 직무 및 권한 관련 부분을 제외한 1972년 1월 26일자 「혁명단 공고 제25호」 (2) 태국 영해에서의 항해 관련 법률 (3) 국가 관개 관련 법률 (4) 에너지 사업 관련 법률 (5) 특허 국도 관련 법률 (6) 평화를 위한 핵에너지 관련 법률 첫번째 단락에 따른 승인 또는 허가나 권리 또는 특허 제공에서, 정책위원회는 해당 법령에 따라 정한 원칙과 절차 및 조건을 고려하도록 하나, 정책위원회가, 만약 그와 같은 원칙과 절차 또는 조건의 수정, 보완이 있다면, 해당 승인 또는 허가나 권리 또는 특허 제공에 효율성을 높인다고 판단하는 경우, 의견을 제시하기 위하여 관련 법령에 따라 직무와 권한을 담당하는 사람에게 알리도록 하며, 정책위원회가 검토를 완료한 때에는 적합하다고 판단하는 원칙이나 절차 또는 조건을 관보에 게재하도록 하고, 그렇게 수정, 보완한 원칙이나 절차 또는 조건에 따라 승인 또는 허가하거나 권리 또는 특허를 제공하도록 한다. 정책위원회가 첫번째 단락에 따라 승인 또는 허가하거나 권리 또는 특허를 제공한 때에는, 사무처장 또는 사무처장이 위임한 사무처 직원에게 첫번째 단락에 따르도록 강제하는 직무 및 권한을 보유한 담당자 또는 담당관으로서의 자격을 부여한다.

제38조

사무처의 업무를 효율적으로 수행하기 위하여 사무처장은 국가 기관의 공무원이나 직원 또는 피고용인이 임시로 사무처의 직원 또는 피고용인으로서 직무를 수행하도록 파견 요청을 할 수 도 있으나, 사전에 해당 국가 기관과 합의하여야 하며, 그 필요성이 완료된 때에는 해당자를 원래의 소속 기관으로 즉시 복귀시켜야 한다. 첫번째 단락에 따라 임시로 사무처의 직원 또는 피고용인으로서 직무를 수행하도록 파견된 공무원이나 직원 또는 피고용인은 원래의 지위를 상실하지 아니하며, 원래의 소속 기관에서 경우에 따라 급여 또는 임금을 계속 수령한다. 정책위원회는 첫번째 단락에 따른 국가 기관의 공무원이나 직원 또는 피고용인에게 사무처에서 직무를 수행하는 동안 특별 보수를 지급하도록 정할 수도 있다.

제5장 특별경제진흥구역

제39조

다양한 측면에서의 경쟁력 증진과 더불어 선진적이고, 혁신적이며, 친환경적인 기술 활용으로 향하는 국가 산업 개발의 이익을 위하여 정책위원회는 특정 분야 또는 다양한 분야의 특별전략산업 개발 및 진흥 또는 특별전략산업 개발 및 진흥과 관련이 있거나 이익이 되는 사업을 일으키도록 장려하거나, 특별경제진흥구역의 사업자나 교육 기관 또는 연구 기관의 고도의 잠재력을 지닌 지식과 전문성을 전수하도록 하기 위한 특별경제진흥구역을 설치하도록 정할 수도 있다. 특별전략산업을 정하는 데 있어, 정책위원회는 전략 산업 전체나 일부 또는 서비스 산업과 관광 및 회의 산업을 포함하는 전략 산업 이외의 기타 산업 또는 어떠한 기타 산업을 고시할 수도 있으나, 최소한 첫번째 단락에 따른 개발이 있는 다음 각 항과 같은 다양한 분야의 산업으로 구성되어야 한다. (1) 차세대 자동차 (2) 스마트 전자 (3) 고소득층 대상 관광 및 의료 (4) 농업 및 생명 공학 (5) 식품 가공 (6) 로봇 (7) 항공 및 물류 (8) 바이오 연료 및 바이오 화학 (9) 디지털 (10) 메디컬 허브(medical hub) 두번째 단락에 따른 특별전략산업 장려 및 지원에는 국제적 설계 및 설비 기술 개발 원칙을 고려하여야 한다. 두번째 단락에 따라 특별전략산업을 장려하는 때에는 특별경제진흥구역의 사업자 및 특별경제구역에서 근무하는 사람에 대한 편의 시설 마련 및 서비스 제공에 대하여 고려하도록 한다.

제40조

합당하다고 판단하는 경우, 정책위원회는 특정 분야 또는 상충하지 아니하는 다양한 분야의 투자 추진 목적을 위하여 동부특별개발구역의 특정 지역을 특별경제진흥구역으로 지정할 수도 있다. 첫번째 단락에 따라 특별경제진흥구역을 지정하기 전, 사무처는 제30조 세번째 단락의 내용을 준용하여 특별경제구역의 토지 이용 설계도안을 마련하는 것과 함께 실행 타당성과 이익, 영향 및 국민 또는 지역 사회에 곤란이나 피해를 야기할 수도 있는 부작용에 대한 구제 수단의 연구를 마련하도록 하며, 해당 연구 결과 및 설계도안을 사무처의 정보망 시스템 및 전국민에게 알 수 있도록 하는 기타 수단으로 공개하도록 한다.

제41조

동부특별개발구역 내에 위치하는 토지를 보유한 토지 소유자는 정책위원회의 동의를 통하여 사무처가 고시하는 바에 따라 제40조에 따른 이행 원칙과 절차 및 조건을 준수하고 서비스 요금 및 비용을 납부하여 사무처에 해당 지역에 대한 특별경제진흥구역 지정을 요청할 수도 있다. 사무처가 첫번째 단락에 따른 이행을 완료하고 해당 지역을 특별경제진흥구역으로 고시하기 합당하다고 판단하였으며, 해당 토지의 소유권자가 국민 또는 지역 사회에 곤란이나 피해를 야기할 수도 있는 부작용에 대하여 사무처가 정한 지침에 따라 책임지고 구제하겠다고 동의한 경우, 사무처가 정책위원회에 제출하여 해당 지역을 특별경제진흥구역으로 고시하는 것을 검토하도록 한다. 첫번째 단락에 따른 신청자가 함께 신청서를 제출한 지역 주민인 경우, 사무처는 서비스 요금 또는 수수료를 감면하여 이행할 수도 있다. 이와 관련하여 정책위원회가 정하는 원칙과 조건을 따른다.

제42조

각 구역의 특별경제진흥구역 설치와 구역 변경 및 취소는 정책위원회가 관보에 고시하도록 한다. 첫번째 단락에 따른 특별경제진흥구역 설치 고시는 최소한 다음 각 항과 같은 주요 내용이 포함되어야 한다. (1) 특별경제진흥구역의 명칭 (2) 특별경제진흥구역의 목적 (3) 고시 마지막 부분에 경계선을 지정한 지도가 포함된 특별경제진흥구역의 범위 (4) 특별경제진흥구역의 토지 이용 도면 제30조와 제31조 및 제32조의 내용을 제(4)항에 따른 도면 작성 및 따른 도면의 효력에 대하여 준용하도록 한다.

제43조

다음 각 항의 법률과 관련한 특별경제진흥구역 내에서의 실행 또는 행위가, 만약 법률이 시행자 또는 행위자가 사전에 그 법률에 따른 국가 기관 또는 위원회의 승인이나 허가, 허가증 또는 동의를 받아야 하거나, 그 법률에 따른 국가 기관 또는 위원회에 등록하거나, 신고하도록 규정한다면, 사무처장이 그 법률에 따라 승인 또는 허가, 허가증 발급 또는 동의 권한자나 등록 또는 신고 접수 권한자로 보도록 한다. (1) 토지 굴착 및 매립 관련 법률 (2) 건축물 관리 관련 법률 (3) 기계 등록 관련 법률 (4) 공중 위생 관련 법률 (5) 제54조제(1)항 또는 제(2)항에 따른 외국인의 왕국 내 체류 허가 목적에만 해당하는 이민 관련 법률 (6) 상업 등기 관련 법률 (7) 공장 관련 법률 (8) 토지 분배 관련 법률 첫번째 단락에 따라 사무처장의 승인이나 허가, 허가증 또는 동의를 받았거나, 사무처장에게 등록 또는 신고를 완료한 때에는 그 시행자 또는 행위자가 해당 법률에 따른 국가 기관 또는 위원회의 승인이나 허가, 허가증 또는 동의를 받았다고 보도록 한다. 네번째 단락의 적용 하에서 두번째 단락에 따른 승인이나 허가, 허가증 발급, 동의 또는 등록이나 신고 접수는 사무처장이 그 법률에 따라 정한 원칙과 절차 및 조건에 따라 집행하여야 하며, 증거 자료로 보관하기 위하여 해당 법률 또는 관련 법률에 따른 국가 기관이나 위원회에 신고하여야 한다. 만약 사무처장이 세번째 단락에 따른 법률에 따라 정한 원칙과 절차 또는 조건의 수정, 보완이 있다면 그 법률에 따른 승인이 나 허가, 허가증 발급, 동의 또는 등록이나 신고 접수의 효율성을 높인다고 판단하는 경우, 의견 제시를 위하여 해당 법률에 따른 국가 기관 또는 위원회에 알리도록 하며, 정책위원회가 검토하도록 제출한다. 만약 정책위원회가 동의한다면, 사무처장은 기존의 원칙이나 절차 또는 조건을 대신하여 그렇게 수정, 보완한 원칙이나 절차 또는 조건을 따라 이행하도록 한다. 사무처장은 첫번째 단락에 따른 권한을 사무차장이나 사무처 직원 또는 관련 국가 기관의 담당관에게 위임하여 대행하도록 할 수도 있다. 그러한 위임이 있는 때에는 관련 국가 기관에 통지하도록 한다. 사무처장 또는 다섯번째 단락에 따라 위임받은 사무차장, 사무처 직원 또는 국가 기관 담당자에게 첫번째 단락에 따라 진행하도록 강제하는 직무와 권한을 보유한 담당자 또는 담당관으로서의 자격을 부여한다.

제44조

제43조에 따른 승인이나 허가, 허가증 발급, 동의 또는 등록이나 신고 신청자는 명령을 수령한 날부터 30일 이내에 정책위원회가 임명하는 진정검토위원회에 사무처장의 명령에 대한 진정을 제기할 권리가 있다. 첫번째 단락에 따른 진정은 정책위원회가 관보에 고시하여 정하는 서식을 따르도록 하며, 해당 법률과 관련한 진정으로 보도록 한다. 첫번째 단락에 따른 진정검토위원회의 결정은 최종적인 것이 되도록 한다.

제45조

제43조에 따른 승인이나 허가, 허가증 발급, 동의 또는 등록이나 신고 접수는 사무처장이 수수료나 보수, 비용 또는 법률이나 규칙 또는 그에 관한 지방조례가 정한 기타 요금을 청구할 권한을 갖도록 하며, 정책위원회가 정하는 비율에 따라 그와 같이 실행하는 추가 서비스 요금을 청구할 권한을 갖도록 한다. 첫번째 단락에 따라 사무처장이 청구하는 수수료나 보수, 비용 또는 기타 요금은 해당 수수료를 청구할 권한이 있는 국가 기관에 송금하도록 한다.

제46조

국민이 이 법률에 따른 특별경제진흥구역이 아닌 곳을 특별경제진흥구역으로 오인할 만한 명칭이나 기호 또는 용어를 사용하는 것을 금지한다.

제47조

정책위원회는 특별 전략 산업 및 특별경제진흥구역의 관련 사업자가 정책위원회의 승인을 통하여 사무처가 고시하는 비율과 원칙, 절차 및 조건에 따라 기금 육성금을 송금하도록 정할 수도 있다.

제48조

특별경제진흥구역의 사업자에게 정책위원회가 정하는 바에 의거하여 이 조에 따라 다음 각 항과 같은 어느 하나 또는 여러 가지 권리, 혜택이 부여되도록 한다. (1) 제49조에 따라 사업용 토지나 사업용 또는 거주용 공동주택 소유권 보유 권리 (2) 외국인을 왕국에 입국, 체류시킬 수 있는 권리 (3) 세금을 감면받을 권리 (4) 금융 거래의 권리 (5) 제57조에 따른 기타 권리, 혜택 첫번째 단락에 따른 권리, 혜택은 정책위원회가 각 특별경제진흥구역의 설치 목적을 고려하여 다르게 정할 수도 있다.

제49조

「토지법전」에 따른 법인이며 외국인인 특별경제구역의 사업자에게 「토지법전」에 따른 허가를 취득할 필요 없이 특별경제진흥구역 내에서 허가 받은 사업용 토지의 소유권을 보유할 권리를 부여한다. 공동 주택 관련 법률에 따른 법인이며 외국인인 특별경제진흥구역의 사업자에게 공동 주택 관련 법률에 따른 외국인의 권리 제한에서 제외하여 공동 주택의 소유권을 보유할 권리를 부여한다. 첫번째 단락 및 두번째 단락에 따른 권리 및 토지 또는 공동주택의 면적은 내각의 승인을 통하여 정책위원회가 고시하는 원칙과 절차 및 조건을 따르도록 하나, 이와 관련하여 투자 촉진 관련 법률 또는 태국 산업 단지 관련 법률에서 규정하는 바를 초과하지 아니하여야 한다.

제50조

제49조에 따른 사업자가 특별경제진흥구역의 토지 소유권을 보유하였으나, 3년 이내에 사업을 하지 아니하거나 해당 토지에서의 사업을 중지한 경우, 해당 사업자는 사무처가 통지한 날부터 1년 이내에 해당 토지를 매각하여야 하며, 그리하지 아니한다면 사무처가 사업자를 대신하여 토지를 매각하고 비용을 공제한 매각 대금을 사업자에게 반환하도록 한다.

제51조

기술 개발과 혁신 창출에 이익이 되는 특별한 지식, 능력을 갖춘 사람이 특별경제구역에서 사업 또는 근무를 하도록 하기 위하여, 동부특별개발구역 또는 특별경제진흥구역에서 체류하는 배우자와 부모 및 자녀를 포함한 해당자는 정책위원회가 고시하는 바에 따라 세금 감면과 입국 및 근로 허가 관련 권리 및 추가 기타 권리를 취득할 수도 있다. 첫번째 단락에 따른 사람의 유형 및 취득할 권리는 칙령에서 정하는 바를 따르도록 한다.

제52조

특별 전략 산업 발전 및 육성의 목적에 따른 이행을 위한 특별 경제진흥구역의 토지 또는 부동산 임차나 전차, 임대 또는 전대는 「민상법전」 제540조 및 「1999년 상공업용 부동산 임대차법」을 적용하지 아니하도록 한다. 첫번째 단락에 따른 임차나 전차, 임대 또는 전대는 50년을 초과하는 기간을 설정하는 임대차 계약을 체결하지 아니하도록 금지한다. 만약 그 이상의 기간을 설정하는 계약을 체결하였다면 50년으로 단축하도록 한다. 임대차 계약은 연장이 가능할 수 있으나, 50년이 만료된 날부터 49년을 초과하는 계약 연장은 불가하다.

제53조

정책위원회가 특별경제진흥구역 설치를 위하여 국유 부동산을 이용하거나 임대 또는 전대하도록 의결하는 경우, 그러한 국유 부동산과 관련한 재무국의 모든 권리는 사무처의 권리가 되도록 하나, 만약 해당 국유 부동산이 기타 다른 국가 기관의 점유나 이용 하에 있다면 먼저 그러한 국가 기관의 승낙을 받아야 한다. 이와 관련하여 정책위원회는 사무처가 해당 국유 부동산의 이용으로 취득한 수입을 기존에 해당 국유 부동산을 점유 또는 이용하고 있는 국가 기관 또는 재무국의 수입으로 배정하도록 정할 수도 있다. 첫번째 단락에 따른 국유 부동산 활용은 국유 부동산 관련 법률에서 정한 원칙이나 절차 또는 조건을 적용하지 아니하도록 한다. 국유 부동산 또는 국유지인 토지 임대차 등록은 정책위원회가 정하는 원칙에 따라 진행하도록 하며, 그러한 원칙에 따라 등록을 완료한 때에는 「민상법전」에 따른 담당자에게 등록한 것으로 보도록 한다. 이 조에 따른 임차나 전차, 임대 또는 전대는 민간의 국가 사업 투자 참여 관련 법률에 따른 합작 투자로 보지 아니하도록 한다. 다만 정책위원회가 각 사안별로 민간의 국가 사업 투자 참여 관련 법률에 따른 합작 투자자로 보도록 하는 것은 제외한다.

제54조

이민 관련 법률의 적용 하에서 제44조제(2)항에 따른 권리를 부여받은 특별경제진흥구역의 사업자는, 이민 관련 법률에서 정한 인원 수 및 기간을 초과하더라도, 사무처장의 허가를 받은 인원 수와 기간에 따라 다음 각 항의 외국인을 왕국에 체류하도록 입국시킬 권리가 있다. (1) 정책위원회가 정하는 특정 분야의 지식, 전문성을 갖춘 사람 (2) 경영자 또는 전문가 (3) 제(1)항 또는 제(2)항에 해당하는 사람의 배우자 및 피부양자 첫번째 단락에 따른 왕국 입국 및 체류와 아울러 배우자 및 피부양자를 왕국에 입국시키고 체류하도록 하는 권리는 정책위원회가 특별경제진흥구역에서 근무를 위하여 초청하도록 정하는 바에 따른 특별 지식과 능력을 갖춘 사람에게 준용하도록 한다. 이와 관련하여 정책위원회가 정하는 원칙과 절차 및 조건을 따른다. 첫번째 단락에 따른 외국인이 왕국에 아직 입국하지 아니한 경우, 사무처장이 첫번째 단락에 따라 어떠한 외국인에 대한 왕국 입국 및 체류를 허가한 때에는 사무처장이 이민 관련 법률에 따른 담당관에게 통지하도록 하고, 담당관은 이민 관련 법률에 따라 후속 조치를 하도록 한다. 첫번째 단락 제(1)항 또는 제(2)항에 따른 외국인이 이민 관련 법률에 따라 왕국 내 임시 체류 허가를 받은 경우, 사무처장은 그 외국인이 왕국 체류 연장 허가를 하도록 하며, 그 외국인이 왕국에 계속 체류할 수 있도록 하는 허가확인증을 발급하도록 한다.

제55조

이민 관련 법률의 적용 하에서 제54조제(1)항 및 제(2)항에 따라 왕국에 입국하여 체류하도록 허가를 받은 사람은 외국인의 근로 감독 관련 법률에 따른 근로허가증을 취득할 필요없이 정책위원회가 정하는 직무에서 근무하는 권리가 있으나, 서면으로 사무처장의 허가를 받아야 한다. 이와 관련하여 사무처장의 허가증은 외국인의 근로 감독 관련 법률에 따른 외국인의 근로허가증으로서 요건을 갖춘 것으로 보도록 한다.

제56조

특별경제진흥구역의 사업자는 정책위원회가 정하는 원칙과 절차 및 조건에 따라 제48조제(3)항에 의거한 세금 감면권이 있으나, 이와 관련하여 투자 촉진 관련 법률 또는 전략 산업에 대한 국가 경쟁력 증진 관련 법률에서 정한 바를 초과하지 아니하여야 한다. 첫번째 단락에 따른 권리 이외에 정책위원회가 특별경제진흥구역의 사업자 전부 또는 일부에 대하여 면세 구역이나 보세 창고 또는 자유 무역 구역의 사업자와 같은 혜택을 받도록 규정할 수도 있다.

제57조

특별 전략 산업 육성 목적을 위하여 정책위원회는 이행 조건을 정하여 특별경제진흥구역에서 사업을 운영하는 수입업자 또는 수출업자가 관세 관련 법률 전체 또는 일부를 이행하지 아니하도록 면제할 수도 있다.

제58조

제48조제(4)항에 따라 권리를 부여받은 특별경제진흥구역의 사업자는 다음 각 항의 권리가 있다. (1) 정책위원회가 정하는 원칙과 조건에 따라 환전 관리 관련 법률 전부 또는 일부에 대한 이행 면제 (2) 정책위원회가 정하는 원칙과 조건에 따라 특별경제진흥구역의 사업자 간 상품 또는 서비스 요금 지불을 위하여 외화 사용 가능 제(1)항과 제(2)항에 따른 원칙 및 조건 규정은 정책위원회가 사전에 태국은행과 함께 검토하여 결정하도록 한다.

제59조

특별경제진흥구역의 개발을 촉진하고 지원하기 위하여, 정책위원회는 특별경제진흥구역의 사업자 또는 특별경제진흥구역에 이익이 되는 전문직 종사자가 다음 각 항과 같이 합당하다고 판단하는 바에 따라 제48조 제(5)항에 의거한 기타 특혜를 받도록 고시할 수도 있다. (1) 전문직 종사자 또는 허가 신청자가 태국 국적을 보유하여야 하거나 합법적으로 전문직에 종사하기 전, 허가증 취득이나 등록 또는 증명을 하여야 한다고 규정한 법률이 있는 직업인 경우, 정책위원회는 정책위원회가 규정하는 국가에서 허가증 취득이나 등록 또는 증명을 완료한 사람은 정책위원회가 정하는 원칙과 절차 및 조건에 따라 특별경제진흥구역에서의 사업을 위하여 해당 직업에 종사할 수 있도록 고시할 수도 있다. (2) 투자 촉진 관련 법률 또는 전략 산업에 대한 국가 경쟁력 증진 관련 법률에서 규정하는 바에 따른 권리와 혜택은 투자 촉진 관련 법률에 따른 투자 촉진위원회의 권한 및 전략 산업에 대한 국가 경쟁력 증진 관련 법률에 따른 전략 산업에 대한 국가 경쟁력 증진 정책위원회의 권한을 부여하여 정책위원회의 권한이 되도록 한다.

제60조

항공기 관련 부분에서 특별전략 산업 지원을 위하여 「2008년 항공운항법(제11권)」에 의하여 수정, 보완된 「1954년 항공운항법」 제41조의21과 제41조의33 및 제41조의95의 내용은 특별경제진흥구역에서 사업을 운영하는 항공기 제작 면허증 신청자와 항공기 부품 제작 면허증 신청자 및 수리소 인증서 신청자에 적용하지 아니하도록 하나, 특별경제진흥구역에서 사업을 운영하는 항공기 제작 면허증 신청자와 항공기 부품 제작 면허증 신청자 및 수리소 인증서 신청자는 태국 민간 항공기 관련 법률에 따른 태국 민간 항공기 사무국장의 승인을 통하여 사무처장이 정하는 자격을 갖추어야 한다.

제6장 기금

제61조

사무처에 동부특별개발구역 내에 있거나 영향을 받는 지역과 지역 사회 및 주민 개발 지원기금을 위한 목적을 두어 “동부 특별 개발 구역 개발 기금”이라는 명칭의 기금 하나를 설치하도록 한다.

제62조

기금은 다음 각 항으로 구성된다. (1) 정부가 할당하는 보조금 (2) 제47조에 따른 육성금 (3) 제24조제(2)항에 따른 사무처의 수입에서의 분담금 (4) 기부된 자금 또는 기타 자산 (5) 기금에 귀속된 자금 또는 기타 자산 (6) 기금의 자금 또는 자산에서 발생하는 각종 이익 또는 수익 기금의 소유가 된 자금이나 자산에 대해서는 국고 예비금 관련 법률 및 예산 절차 관련 법률에 따라 국가 수입으로 재무부에 송금할 필요가 없다.

제63조

사무처는 사무처의 예산과 분리하여 기금의 금전 출납과 보전 및 운영을 하도록 한다. 기금의 금전 출납과 보전 및 운영은 정책위원회가 정하는 규칙을 따르도록 한다.

제64조

기금은 다음 각 항의 사업을 위하여 지출하도록 한다. (1) 지역 또는 지역 사회 개발과 아울러 동부특별개발구역 개발로 인한 영향을 받을 수 있는 모든 국민과 지역 사회에 대한 지원이나 구제를 위한 사업 (2) 동부특별개발구역 또는 인근에 거주하며 동부특별개발구역 개발로 인한 영향을 받는 국민에 대한 교육 지원과 촉진 및 장학금 수여를 위한 사업 (3) 정책위원회가 정하는 바에 따라 동부특별개발구역 개발에서 효율성과 신속성이 발생하도록 장려하기 위한 기타 비용 (4) 기금 운영 비용 제(1)항 및 제(2)항에 따른 기금 지출은 지역 주민의 요구를 고려하도록 한다.

제7장 관리 감독

제65조

총리는 사무처의 사업을 전반적으로 관리할 책임과 권한을 담당하도록 한다. 이를 위하여 사무처에 사실 관계 진술이나 의견 제시 또는 보고서 작성을 지시할 수도 있다. 사무처가 불법적이거나 곤란 또는 피해를 야기할 수도 있는 행위를 한다고 판단하는 경우, 총리는 사무처에 그러한 행위의 중지를 명하거나 제지할 수 있는 권한이 있다.

제8장 처벌 규정

제66조

제46조를 위반하는 사람은 50만 바트 이하의 벌금형에 처한 다.

경과 규정

제67조

「2017년 1월 17일자 동부 특별 경제 회랑 개발에 관한 국가평화질서유지위원회 위원장령 제2/2560호」에 따른 동부 특별 경제 회랑을 이 법에 따른 정책위원회가 폐지 또는 다르게 규정하도록 의결할 때까지, 경우에 따라, 이 법에 따른 동부경제개발구역 또는 특별경제진흥구역이 되도록 한다.

제68조

이 법의 시행일부터 60일 이내에 갖추어야 하는 이 법에 따른 정책위원회가 결성될 때까지 초기에는, 이 법의 시행 전 존재하는 「2017년 1월 17일자 동부 특별 경제 회랑 개발에 관한 국가평화질서유지위원회 위원장령 제2/2560호」에 따른 동부특별경제회랑개발정책위원회가 우선 이 법에 따른 정책위원회의 임무를 수행하도록 한다.

제69조

이 법의 시행일부터 90일 이내에 임명하여야 하는 제16조에 따른 사무처장 임명이 있을 때까지 초기에는, 이 법의 시행전 재임중인 「2017년 1월 17일자 동부 특별 경제 회랑 개발에 관한 국가평화질서유지위원회 위원장령 제2/2560호」에 따른 동부특별경제회랑개발정책위원회 우선 사무처장 직무를 수행하도록 한다.

제70조

이 법의 시행 전에 존재하는 「2017년 1월 17일자 동부 특별 경제 회랑 개발에 관한 국가 평화질서유지위원회 위원장령 제2/2560호」에 따른 동부특별경제회랑 개발을 위한 사무처의 모든 직무와 권한, 업무, 자산, 권리, 부채, 책임과 아울러 예산은 사무처로 이관하도록 한다.

제71조

동부특별경제회랑개발정책위원회와 동부특별경제회랑개발집행위원회, 동부특별경제회랑개발정책위원회 사무처장 및 동부특별경제회랑 개발을 위한 사무처가 「2017년 1월 17일자 동부특별 경제 회랑 개발에 관한 국가평화질서유지위원회 위원장령 제2/2560호」와 「2017년 5월 26일자 동부특별경제회랑 개발 효율성 증진 수단에 관한 국가평화질서유지위원회 위원장령 제28/2560호」 및 「2017년 10월 25일자 동부특별경제회랑 구역의 토지 활용 규정에 관한 국가평화질서유지위원회 위원장령 제47/2560호」에 따라 인가 또는 승인하거나 이행한 모든 조치는 이를 폐지 또는 다르게 정하도록 하는 이 법에 따른 정책위원회의 의결이 있는 때까지 유효한 것으로 보도록 한다.

제72조

법률에 따른 지휘통제를 위하여 「2017년 1월 17일자 동부 특별 경제 회랑 개발에 관한 국가 평화질서유지위원회 위원장령 제2/2560호」와 「2017년 5월 26일자 동부특별경제회랑 개발 효율성 증진 수단에 관한 국가 평화질서유지위원회 위원장령 제28/2560호」 및 「2017년 10월 25일자 동부특별경제회랑 구역의 토지 활용 규정에 관한 국가평화질서유지위원회 위원장령 제47/2560호」에 따라 인가 또는 허가하거나, 허가증 발급, 승인, 등록 또는 신고를 접수하거나 이행한 진흥구역에서의 동부특별경제회랑개발정책위원회 사무처장의 특정 이행과 아울러 인가나 허가, 허가증 발급, 승인, 등록 또는 신고 접수는 이 법에 따라 계속하여 유효한 것으로 보도록 한다.

제73조

「2017년 1월 17일자 동부 특별 경제 회랑 개발에 관한 국가 평화질서유지위원회 위원장령 제2/2560호」에 따라 사무처장이 임시로 직무 수행을 하도록 요청한 사무처의 직원 또는 피고용인이 되고자 하는 국가 기관의 공무원이나 직원 또는 피고용인은 이 법이 시행된 날부터 90일 이내에 상관에게 의향을 표시하도록 하며, 정책위원회가 정하는 원칙과 절차에 따라 사무처장의 선발 또는 평가를 통과하고 사무처의 직원 또는 피고용인으로 임용된 때에는 경우에 따라 공무 또는 업무에서 퇴임한 것이 되도록 한다. 첫번째 단락에 따라 공직 또는 업무에서 퇴임한 공무원이나 직원 또는 피고용인은 경우에 따라 공무원 연금 관련 법률이나 공무원 연기금 관련 법률 또는 해당 기관 설립 법률에 따른 직위의 종료 또는 해소로 인하여 직위 또는 업무에서 퇴임한 것으로 보거나, 피고용인인 경우에는 과실 없이 당국이 직위를 해소하거나 당국이 고용을 종료하여 업무에서 면직한 것으로 보도록 하고, 피고용자 퇴직과 관련한 재무부 규정에 따라 퇴직금을 수령하도록 한다. 첫번째 단락에 따라 공무 또는 업무에서 퇴임한 사람이 기금 상환을 위하여 정한 기한에 따라 봉직하거나 업무를 수행하여야 하는 계약이 남아 있는 경우, 사무처에서 직무를 수행한 기간을 해당 계약에 따른 봉직 또는 업무 수행 기간으로 계산하도록 한다. 부서 대장 쁘라윳 짠오차 총리