「1992년 국제형사사법공조법」
• 국가·지역: 태국 • 제 정 일: 1992년 3월 31일
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ เป็นปีที่ ๔๗ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยความร่วมมือระหว่างประเทศในเรื่องทางอาญา จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ทาหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้ 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서 현 왕조의 47번째 해인 1992년(불기2535년) 3월 31일에 하사하셨다. 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서는 다음과 같이 공고하도록 하셨다. 국제형사사법공조 관련 법률을 개정하는 것이 타당하므로, 국회 직무를 담당하는 국가입법 의회의 조언과 동의를 통하여 다 음과 같이 법을 제정한다.
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติ ความร่วมมือระหว่างประเทศในเรื่องทางอาญา พ.ศ. ๒๕๓๕”
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
บรรดาบทกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบและประกาศอื่นในส่วนที่บัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัตินี้ หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้แทน
ในพระราชบัญญัตินี้ “ความช่วยเหลือ” หมายความว่า ความ ช่วยเหลือในเรื่องเกี่ยวกับการด าเนินการสืบสวน สอบสวน ฟ้องคดี ริบทรัพย์สิน และการ ด าเนินการอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา “ประเทศผู้ร้องขอ” หมายความว่า ประเทศที่ร้อง ขอความช่วยเหลือจากประเทศผู้รับค าร้องขอ “ประเทศผู้รับค าร้องขอ” หมายความว่า ประเทศ ที่ได้รับการขอความช่วยเหลือจากประเทศผู้ร้อง ขอ “ผู้ประสานงานกลาง” หมายความว่า ผู้ซึ่งมี อ านาจหน้าที่ประสานงานในการให้ความ ช่วยเหลือแก่ต่างประเทศ หรือขอความช่วยเหลือ จากต่างประเทศตามพระราชบัญญัตินี้ “เจ้าหน้าที่ผู้มีอ านาจ” หมายความว่า เจ้า พนักงานซึ่งมีอ านาจหน้าที่ปฏิบัติการให้ความ ช่วยเหลือแก่ต่างประเทศตามค าร้องขอความ ช่วยเหลือที่ผู้ประสานงานกลางส่งให้ตาม พระราชบัญญัตินี้
ให้นายกรัฐมนตรีและอัยการสูงสุดรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ รวมทั้งให้นายกรัฐมนตรีมีอานาจออกกฎกระทรวง และอัยการสูงสุดมีอานาจออกระเบียบหรือประกาศเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับอานาจหน้าที่ของตน กฎกระทรวง ระเบียบ หรือประกาศนั้น เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
ให้อัยการสูงสุดหรือผู้ซึ่งอัยการสูงสุดมอบหมายเป็นผู้ประสานงานกลาง
ผู้ประสานงานกลางมีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) รับคาร้องขอความช่วยเหลือจากประเทศผู้ร้องขอและส่งให้เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจ (๒) รับคาร้องขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานของรัฐบาลไทยและส่งให้ประเทศผู้รับคาร้องขอ (๓) พิจารณาและวินิจฉัยว่าควรจะให้หรือขอความช่วยเหลือหรือไม่ (๔) ติดตามและเร่งรัดการดาเนินการของเจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจเพื่อให้ความช่วยเหลือแก่ต่างประเทศเสร็จสิ้นโดยเร็ว (๕) ออกระเบียบหรือประกาศเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ (๖) ดาเนินการอย่างอื่นเพื่อให้การให้หรือการขอความช่วยเหลือตามพระราชบัญญัตินี้บรรลุผล
ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง ประกอบด้วยผู้แทนกระทรวงกลาโหม ผู้แทนกระทรวงการต่างประเทศ ผู้แทนกระทรวงมหาดไทย ผู้แทนกระทรวงยุติธรรม ผู้แทนสานักงานอัยการสูงสุด และผู้ทรงคุณวุฒิอื่นไม่เกินสี่คน ซึ่งนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งเป็นกรรมการ และให้ข้าราชการอัยการคนหนึ่งตามที่คณะกรรมการแต่งตั้งเป็นเลขานุการ เพื่อให้ความเห็นประกอบการพิจารณาและวินิจฉัยของผู้ประสานงานกลาง ในการให้ความช่วยเหลือแก่ต่างประเทศและการขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศที่อาจมีผลกระทบกระเทือนอธิปไตยความมั่นคง ประโยชน์สาธารณะที่สาคัญ หรือความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หรือเกี่ยวเนื่องกับความผิดทางการเมือง หรือความผิดทางทหาร เมื่อมีการขอความช่วยเหลือตามมาตรา ๑๐ หรือมาตรา ๓๖ และผู้ประสานงานกลางได้ดาเนินการตามมาตรา ๑๑ แล้ว ให้ผู้ประสานงานกลางส่งเรื่องดังกล่าวให้คณะกรรมการโดยทันทีเพื่อพิจารณาให้ความเห็น เว้นแต่คณะกรรมการจะมีมติกาหนดแนวปฏิบัติไว้เป็นอย่างอื่น ในกรณีที่คณะกรรมการมีความเห็นไม่ตรงกับคาวินิจฉัยของผู้ประสานงานกลาง ให้ผู้ประสานงานกลางเสนอความเห็นและคาวินิจฉัยดังกล่าวไปยังนายกรัฐมนตรี เพื่อประกอบการพิจารณาสั่งการตามมาตรา ๑๑ วรรคห้า หรือมาตรา ๓๘ วรรคสอง แล้วแต่กรณี
การให้ความช่วยเหลือแก่ต่างประเทศต้องอยู่ในหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ (๑) ประเทศไทยอาจให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศผู้ร้องขอได้แม้ว่าไม่มีสนธิสัญญาว่าด้วยความร่วมมือระหว่างประเทศในเรื่องทางอาญาระหว่างกัน แต่ประเทศผู้ร้องขอต้องแสดงว่าจะให้ความช่วยเหลือในทานองเดียวกันเมื่อประเทศไทยร้องขอ (๒) การกระทาซึ่งเป็นมูลกรณีของความช่วยเหลือนั้นเป็นความผิดที่มีโทษฐานใดฐานหนึ่งตามกฎหมายไทย เว้นแต่เป็นกรณีที่ประเทศไทยกับประเทศผู้ร้องขอมีสนธิสัญญาว่าด้วยความร่วมมือระหว่างประเทศในเรื่องทางอาญาต่อกันและข้อความในสนธิสัญญาระบุไว้เป็นอย่างอื่น ทั้งนี้ ความช่วยเหลือดังกล่าวต้องเป็นไปตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้ (๓) ประเทศไทยอาจปฏิเสธคาร้องขอความช่วยเหลือ หากคาร้องขอนั้นกระทบกระเทือนอธิปไตย ความมั่นคง หรือสาธารณประโยชน์ที่สาคัญอื่น ๆ ของประเทศไทย หรือเกี่ยวเนื่องกับความผิดทางการเมือง (๔) การให้ความช่วยเหลือต้องไม่เกี่ยวเนื่องกับความผิดทางทหาร
ประเทศที่มีสนธิสัญญาว่าด้วยความร่วมมือระหว่างประเทศในเรื่องทางอาญากับประเทศไทยหากประสงค์จะขอความช่วยเหลือตามที่บัญญัติไว้ในหมวดนี้จากประเทศไทย ให้ทาคาร้องขอความช่วยเหลือส่งไปยังผู้ประสานงานกลาง แต่สาหรับประเทศที่ไม่มีสนธิสัญญาดังกล่าวกับประเทศไทย ให้ส่งคาร้องขอโดยวิถีทางการทูต คาร้องขอความช่วยเหลือให้ทาตามแบบ หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่ผู้ประสานงานกลางกาหนด
เมื่อได้รับคาร้องขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศ ให้ผู้ประสานงานกลางพิจารณาและวินิจฉัยว่า คาร้องขอนั้นอยู่ในหลักเกณฑ์ที่จะให้ความช่วยเหลือตามพระราชบัญญัตินี้ได้หรือไม่ และได้ดาเนินการตามขั้นตอนและมีเอกสารหลักฐานถูกต้องครบถ้วนหรือไม่ ถ้าคาร้องขอนั้นอยู่ในหลักเกณฑ์ที่จะให้ความช่วยเหลือได้ และได้ดาเนินการตามขั้นตอนและมีเอกสารหลักฐานถูกต้องครบถ้วน ให้ผู้ประสานงานกลางส่งคาร้องขอนั้นให้เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจดาเนินการต่อไป ถ้าคาร้องขอนั้นไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่จะให้ความช่วยเหลือได้ หรืออาจให้ความช่วยเหลือได้ภายใต้เงื่อนไขที่จาเป็นบางประการ หรือมิได้ดาเนินการตามขั้นตอนหรือมีเอกสารหลักฐานไม่ถูกต้องครบถ้วน ให้ผู้ประสานงานกลางแจ้งปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือพร้อมด้วยเหตุผล หรือแจ้งเงื่อนไขที่จาเป็นหรือเหตุขัดข้องให้ประเทศผู้ร้องขอทราบ ถ้าผู้ประสานงานกลางเห็นว่าการดาเนินการตามคาร้องขอนั้นจะเป็นการแทรกแซงการสืบสวน การสอบสวน การฟ้องคดี หรือการดาเนินการอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา ซึ่งกาลังดาเนินอยู่ในประเทศไทย ผู้ประสานงานกลางจะเลื่อนการดาเนินการตามคาร้องขอนั้นหรือดาเนินการตามคาร้องขอนั้นโดยกาหนดเงื่อนไขที่จาเป็นก็ได้ แล้วแจ้งให้ประเทศผู้ร้องขอทราบ คาวินิจฉัยของผู้ประสานงานกลางเกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือให้ถือเป็นยุติ เว้นแต่นายกรัฐมนตรีจะมีคาสั่งเป็นอย่างอื่น
ให้ผู้ประสานงานกลางส่งคาร้องขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจดังต่อไปนี้ เพื่อดาเนินการต่อไป (๑) คาร้องขอให้สอบปากคาพยานหรือจัดหาให้ซึ่งเอกสารหรือสิ่งของอันเป็นพยานหลักฐานซึ่งเป็นการดาเนินการนอกศาล คาร้องขอให้จัดส่งเอกสาร คาร้องขอให้ค้น คาร้องขอให้สืบหาบุคคลและคาร้องขอให้อายัดหรือยึดเอกสารหรือสิ่งของเพื่อประโยชน์ในการรวบรวมพยานหลักฐาน ให้ส่งผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ เลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ หรือเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (๒) คาร้องขอให้สืบพยานบุคคล พยานเอกสาร หรือพยานวัตถุซึ่งเป็นการดาเนินการในศาลคาร้องขอให้อายัดหรือยึดทรัพย์สินเพื่อประโยชน์ในการริบทรัพย์สินหรือในการบังคับบุคคลใดให้ชาระเงินแทนการริบทรัพย์สิน และคาร้องขอให้อายัด ยึด หรือริบทรัพย์สิน หรือบังคับชาระเงินแทนการริบทรัพย์สินตามคาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลต่างประเทศ ให้ส่งพนักงานอัยการ (๓) คาร้องขอให้โอนหรือรับโอนบุคคลซึ่งถูกคุมขังเพื่อช่วยเหลือในการดาเนินคดีชั้นเจ้าพนักงานหรือชั้นศาล ให้ส่งอธิบดีกรมราชทัณฑ์ (๔) คาร้องขอให้เริ่มกระบวนการคดีทางอาญา ให้ส่งผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ หรือพนักงานอัยการ ในกรณีที่เห็นสมควร ผู้ประสานงานกลางอาจส่งคาร้องขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศให้แก่เจ้าพนักงานหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายอื่นเพื่อดาเนินการในส่วนที่เกี่ยวกับคาร้องขอตามวรรคหนึ่งก็ได้
เมื่อได้รับคาร้องขอความช่วยเหลือจากผู้ประสานงานกลาง ให้เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจดาเนินการให้ความช่วยเหลือตามที่มีคาร้องขอนั้น เมื่อดาเนินการเสร็จแล้ว ให้ส่งผลการดาเนินการตลอดจนเอกสารและสิ่งของที่เกี่ยวข้องให้แก่ผู้ประสานงานกลาง ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจประสบอุปสรรค หรือไม่อาจดาเนินการตามคาร้องขอนั้นได้ ให้แจ้งเหตุขัดข้องให้ผู้ประสานงานกลางทราบ
เมื่อเจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจดาเนินการตามคาร้องขอความช่วยเหลือและแจ้งผลให้ผู้ประสานงานกลางทราบแล้ว ให้ผู้ประสานงานกลางจัดการส่งผลการดาเนินการตลอดจนเอกสารและสิ่งของที่เกี่ยวข้องให้แก่ประเทศผู้ร้องขอ
ในกรณีที่ได้รับการประสานงานจากต่างประเทศให้จัดส่งข้อมูลเกี่ยวกับการกระทาความผิดหรือข้อมูลเกี่ยวกับทรัพย์สินใดเพื่อประโยชน์ในการสืบสวนสอบสวน การฟ้องคดีหรือการพิจารณคดี ถ้าผู้ประสานงานกลางเห็นว่า เป็นข้อมูลที่สามารถให้ความช่วยเหลือได้ตามพระราชบัญญัตินี้ รวมทั้งเป็นกรณีจาเป็น เร่งด่วน และมีเหตุอันสมควร ผู้ประสานงานกลางอาจจัดส่งข้อมูลนั้นให้ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ผู้ประสานงานกลางกาหนดได้ เมื่อประเทศนั้นได้แสดงว่าจะให้ความช่วยเหลือในทานองเดียวกัน ทั้งนี้ ให้นาบทบัญญัติเกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือในกรณีที่มีคาร้องขอมาใช้บังคับโดยอนุโลมกับข้อมูลที่จะจัดส่งตามมาตรานี้ด้วย
ในกรณีที่ได้รับคาร้องขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศ ให้สอบปากคาพยานหรือรวบรวมพยานหลักฐานที่อยู่ในประเทศไทยในชั้นสอบสวน ให้เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจแจ้งให้พนักงานสอบสวนดาเนินการตามคาร้องขอนั้น ให้พนักงานสอบสวนมีอานาจสอบปากคาพยานหรือรวบรวมพยานหลักฐานตามคาร้องขอในวรรคหนึ่ง ในกรณีที่จาเป็นให้มีอานาจค้นและยึดเอกสารหรือวัตถุใด ๆ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เมื่อพนักงานสอบสวนดาเนินการสอบปากคาพยานหรือรวบรวมพยานหลักฐานเสร็จแล้ว ให้แจ้งผลการดาเนินการหรือส่งมอบพยานหลักฐานที่รวบรวมได้ให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจดาเนินการต่อไป
ถ้าสนธิสัญญาระหว่างประเทศผู้ร้องขอกับประเทศไทยว่าด้วยความร่วมมือระหว่างประเทศในเรื่องทางอาญา กาหนดให้ต้องมีการรับรองความถูกต้องแท้จริงแห่งเอกสารอย่างใดอย่างหนึ่ง ให้เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจมีอานาจสั่งให้บุคคลผู้มีหน้าที่เก็บรักษาเอกสารรับรองความถูกต้องแท้จริงของเอกสารนั้นตามแบบและวิธีการที่กาหนดไว้ในสนธิสัญญาดังกล่าวหรือตามที่ผู้ประสานงานกลางกาหนด
ในกรณีที่ได้รับคาร้องขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศให้สืบพยานหลักฐานในศาลไทย ให้เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจแจ้งให้พนักงานอัยการดาเนินการตามคาร้องขอนั้น ให้พนักงานอัยการมีอานาจยื่นคาร้องต่อศาลที่บุคคลซึ่งจะเป็นพยานหรือบุคคลซึ่งครอบครองหรือดูแลรักษาพยานเอกสารหรือพยานวัตถุมีภูมิลาเนาหรือมีที่อยู่ในเขตศาลให้สืบพยานหลักฐานดังกล่าว และให้ศาลมีอานาจดาเนินกระบวนพิจารณาสืบพยานตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เมื่อสืบพยานหลักฐานเสร็จแล้ว ให้ศาลส่งบันทึกคาเบิกความของพยาน รวมทั้งพยานหลักฐานอื่นในสานวนไปยังพนักงานอัยการผู้ยื่นคาร้องเพื่อส่งให้เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจเพื่อดาเนินการต่อไป
ในกรณีที่ได้รับคาร้องขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศให้จัดหาเอกสารหรือข่าวสารที่อยู่ในความครอบครองของหน่วยงานของรัฐบาลไทย ให้ผู้ประสานงานกลางแจ้งไปยังหน่วยงานที่ครอบครองเอกสารหรือข่าวสารนั้น และให้หน่วยงานดังกล่าวส่งมอบเอกสารหรือแจ้งข่าวสารนั้นแก่ผู้ประสานงานกลาง
ในกรณีที่เอกสารหรือข่าวสารที่ต่างประเทศร้องขอตามมาตรา ๑๘ เป็นเอกสารหรือข่าวสารที่ไม่พึงเปิดเผยต่อสาธารณชน และหน่วยงานที่ครอบครองเอกสารหรือข่าวสารดังกล่าวเห็นว่าไม่อาจเปิดเผยหรือไม่สมควรเปิดเผยเอกสารหรือข่าวสารตามคาร้องขอ หรืออาจเปิดเผยได้โดยมีเงื่อนไข ให้หน่วยงานดังกล่าวแจ้งเหตุขัดข้องหรือเงื่อนไขในการเปิดเผยเอกสารหรือข่าวสาร ให้ผู้ประสานงานกลางทราบ
ในการจัดหาเอกสารตามคาร้องขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศตามบทบัญญัติในส่วนนี้ ให้เจ้าหน้าที่ผู้มีหน้าที่เก็บรักษาเอกสารนั้นรับรองความถูกต้องแท้จริงของเอกสารดังกล่าวตามแบบและวิธีการที่ผู้ประสานงานกลางกาหนด ทั้งนี้ เว้นแต่ในกรณีที่ได้มีสนธิสัญญากาหนดไว้เป็นอย่างอื่นก็ให้เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในสนธิสัญญานั้น
ในกรณีที่ได้รับคาร้องขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศให้จัดส่งเอกสารทางกฎหมาย ให้เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจดาเนินการตามคาร้องขอ และแจ้งผลการดาเนินการให้ผู้ประสานงานกลางทราบ หากเอกสารทางกฎหมายที่ได้รับคาร้องขอให้จัดส่งเป็นเอกสารเพื่อเรียกบุคคลไปปรากฏตัวต่อหน้าเจ้าหน้าที่หรือศาลในประเทศผู้ร้องขอ ให้เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจจัดส่งให้แก่ผู้รับล่วงหน้าพอสมควรก่อนกาหนดการปรากฏตัว การแจ้งผลการส่งเอกสารให้เป็นไปตามแบบและวิธีการที่ผู้ประสานงานกลางกาหนด ทั้งนี้ เว้นแต่ในกรณีที่ได้มีสนธิสัญญากาหนดไว้เป็นอย่างอื่นก็ให้เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในสนธิสัญญานั้น
บทบัญญัติว่าด้วยการลงโทษตามกฎหมายในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการไม่ปฏิบัติตามคาสั่งตามกฎหมายของเจ้าพนักงานหรือคาสั่งของศาลมิให้นามาใช้บังคับกับบุคคลซึ่งมิใช่คนสัญชาติของประเทศผู้ร้องขอที่ได้รับเอกสารทางกฎหมายให้ไปปรากฏตัวต่อเจ้าพนักงานหรือศาลในประเทศผู้ร้องขอ
ในกรณีที่ได้รับคาร้องขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศให้ค้น อายัด ยึด และส่งมอบสิ่งของเพื่อประโยชน์ในการรวบรวมพยานหลักฐาน ถ้ามีเหตุที่จะออกหมายค้น หรือคาสั่งอายัดหรือยึดสิ่งของได้ตามกฎหมาย ให้เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจดาเนินการขอให้ศาลออกหมายค้น หรือคาสั่งอายัดหรือยึดสิ่งของนั้นได้
ให้นาบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาใช้บังคับกับการออกหมายค้น หรือคาสั่งอายัดหรือยึด และการค้น อายัด หรือยึดตามความในส่วนนี้ด้วยโดยอนุโลมและให้ดาเนินการได้แม้ว่าการกระทาความผิดอันเป็นเหตุให้มีการค้น อายัด หรือยึดจะมิได้เกิดขึ้นในราชอาณาจักรก็ตาม
เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจซึ่งทาการค้น และอายัดหรือยึดสิ่งของตามคาร้องขอความช่วยเหลือจะต้องทาหนังสือรับรองการเก็บรักษารูปพรรณ ลักษณะและความบริบูรณ์แห่งสภาพของสิ่งของนั้น และส่งมอบสิ่งของที่ค้น และอายัดหรือยึดได้พร้อมหนังสือรับรองนั้นให้แก่ผู้ประสานงานกลางเพื่อดาเนินการต่อไป หนังสือรับรองนั้นให้ทาตามแบบและวิธีการที่ผู้ประสานงานกลางกาหนด
ในกรณีที่ได้รับคาร้องขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศให้ส่งบุคคลซึ่งถูกคุมขังในประเทศไทยไปเบิกความเป็นพยานในชั้นศาลหรือเพื่อช่วยเหลือเจ้าพนักงานในการสืบสวนสอบสวนในฐานะพยานในประเทศผู้ร้องขอ หรือขอส่งบุคคลซึ่งถูกคุมขังในประเทศผู้ร้องขอมาเพื่อช่วยเหลือในทานองเดียวกันในประเทศไทย ถ้าผู้ประสานงานกลางพิจารณาแล้วเห็นว่าเป็นการจาเป็นและบุคคลซึ่งถูกคุมขังนั้นสมัครใจ ให้แจ้งเจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจดาเนินการส่งตัวบุคคลนั้นไปยังประเทศผู้ร้องขอหรือรับตัวบุคคลนั้นจากประเทศผู้ร้องขอเข้ามาในประเทศไทย การส่งตัว การรับตัว และการคุมขังบุคคลตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง
ระยะเวลาที่บุคคลซึ่งถูกส่งตัวไปเพื่อช่วยเหลือในการดาเนินคดีชั้นเจ้าพนักงานหรือชั้นศาลในต่างประเทศและอยู่ภายใต้การคุมขังของประเทศผู้ร้องขอ ให้ถือว่าเป็นระยะเวลาที่ผู้นั้นถูกคุมขังในประเทศไทย
เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจมีอานาจคุมขังบุคคลซึ่งถูกคุมขังที่ถูกส่งตัวมาจากต่างประเทศเพื่อช่วยเหลือในการดาเนินคดีชั้นเจ้าพนักงานหรือชั้นศาลตลอดเวลาที่บุคคลนั้นอยู่ในประเทศไทยเมื่อบุคคลนั้นช่วยเหลือในการดาเนินคดีในชั้นเจ้าพนักงานหรือในชั้นศาลเสร็จแล้ว ให้แจ้งผู้ประสานงานกลางทราบ
เมื่อผู้ประสานงานกลางได้รับแจ้งจากเจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจตามความในมาตรา ๒๘ ให้ผู้ประสานงานกลางส่งตัวบุคคลนั้นกลับไปยังประเทศผู้ร้องขอทันที
ในกรณีที่ได้รับคาร้องขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศให้บุคคลซึ่งถูกควบคุมโดยประเทศผู้ร้องขอหรือประเทศที่สามเดินทางผ่านประเทศไทยเพื่อช่วยเหลือในการดาเนินคดีชั้นเจ้าพนักงานหรือชั้นศาลในประเทศผู้ร้องขอ หากผู้ประสานงานกลางเห็นว่าเป็นกรณีที่อาจให้ความช่วยเหลือได้ ให้แจ้งเจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจเพื่ออานวยความสะดวกในการเดินทางผ่าน ให้บุคคลตามวรรคหนึ่งเดินทางผ่านประเทศไทยภายในระยะเวลาที่ผู้ประสานงานกลางกาหนดเมื่อพ้นกาหนดเวลาดังกล่าว หากบุคคลนั้นมิได้เดินทางต่อไปยังประเทศผู้ร้องขอหรือประเทศที่สามให้ผู้ประสานงานกลางมีอานาจสั่งให้บุคคลนั้นเดินทางกลับไปยังประเทศที่บุคคลนั้นออกเดินทางมาในครั้งแรก ให้ประเทศผู้ร้องขอรับผิดชอบการควบคุมตัวบุคคลตามวรรคหนึ่งในระหว่างเดินทางผ่านประเทศไทย ทั้งนี้ เว้นแต่ประเทศผู้ร้องขอและผู้ประสานงานกลางตกลงกันเป็นอย่างอื่น
ในกรณีที่ได้รับคาร้องขอความช่วยเหลือต่างประเทศให้สืบหาตัวบุคคลซึ่งประเทศผู้ร้องขอต้องการตัวเกี่ยวกับการสืบสวน สอบสวน ฟ้องคดี หรือการดาเนินการอื่นทางอาญา โดยมีเหตุอันควรเชื่อว่าบุคคลดังกล่าวอยู่ในประเทศไทย ให้เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจดาเนินการสืบหาตัวบุคคลนั้น และแจ้งผลการดาเนินการให้ผู้ประสานงานกลางทราบ
ในกรณีที่ได้รับคาร้องขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศซึ่งมีอานาจที่จะเริ่มกระบวนการคดีทางอาญาคดีใดคดีหนึ่งแต่ประสงค์จะให้เริ่มกระบวนการคดีทางอาญาคดีนั้นในประเทศไทย และคดีดังกล่าวอยู่ในเขตอานาจของศาลไทย ให้ผู้ประสานงานกลางพิจารณาว่าสมควรจะเริ่มดาเนินกระบวนการคดีทางอาญาตามคาร้องขอหรือไม่ ถ้าเห็นสมควรให้แจ้งเจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจดาเนินการตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และให้เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจแจ้งผลการดาเนินการให้ผู้ประสานงานกลางทราบ
ในกรณีที่ได้รับคาร้องขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศให้อายัดหรือยึดทรัพย์สินใดตามคาสั่งอายัดหรือยึดทรัพย์สินซึ่งออกโดยเจ้าหน้าที่ซึ่งมีอานาจของประเทศผู้ร้องขอ เพื่อประโยชน์ในการริบทรัพย์สินหรือในการบังคับบุคคลใดให้ชาระเงินแทนการริบทรัพย์สิน และเป็นกรณีที่ศาลต่างประเทศยังไม่มีคาพิพากษาหรือคาสั่งให้อายัดหรือยึดทรัพย์สินนั้น ให้เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจยื่นคาขอต่อศาลที่ทรัพย์สินนั้นตั้งอยู่ในเขตศาลหรือต่อศาลที่บุคคลผู้มีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้นมีภูมิลาเนาอยู่ในเขตศาลหรือต่อศาลที่บุคคลซึ่งอาจต้องชาระเงินแทนการริบทรัพย์สินมีภูมิลาเนาอยู่ในเขตศาลหรือต่อศาลที่พบตัวบุคคลนั้นอยู่ในเขตศาลแล้วแต่กรณี เพื่อมีคาสั่งอายัดหรือยึดทรัพย์สินนั้นไว้ก่อน ในกรณีดังกล่าวหากเจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจอาจยื่นคาขอต่อศาลได้สองศาลหรือกว่านั้น เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจจะยื่นคาขอต่อศาลใดศาลหนึ่งก็ได้ ให้ศาลพิจารณาคาขอตามวรรคหนึ่งเป็นการด่วน ถ้าเป็นที่พอใจจากคาแถลงของเจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจหรือพยานหลักฐานที่เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจได้นามาสืบหรือที่ศาลได้เรียกมาสืบเองดังต่อไปนี้ ให้ศาลมีคาสั่งอายัดหรือยึดทรัพย์สินนั้นไว้ก่อนได้ (๑) ทรัพย์สินนั้นอาจถูกอายัด ยึด หรือริบ หรือบุคคลนั้นอาจถูกบังคับให้ชาระเงินแทนการริบทรัพย์สินได้ตามกฎหมายไทย (๒) ทรัพย์สินนั้นอาจถูกริบหรือบังคับคดีในการบังคับบุคคลใดให้ชาระเงินแทนการริบทรัพย์สินตามคาพิพากษาของศาลต่างประเทศ และ (๓) มีเหตุอันควรเชื่อได้ว่าอาจมีการจาหน่าย จ่าย โอน ปกปิด หรือซ่อนเร้นทรัพย์สินนั้นให้พ้นจากการริบทรัพย์สินหรือการบังคับให้ชาระเงินแทนการริบทรัพย์สิน หรืออาจมีการทาให้ทรัพย์สินไร้ประโยชน์หรือเสื่อมมูลค่าลงจนอาจทาให้การริบทรัพย์สินหรือการบังคับให้ชาระเงินแทนการริบทรัพย์สินนั้นไม่เป็นผล ถ้าศาลมีคาสั่งให้ยกคาขอ คาสั่งเช่นว่านี้ให้เป็นที่สุด แต่คาสั่งของศาลที่ให้อายัดหรือยึดทรัพย์สินไว้ก่อน ให้อุทธรณ์ไปยังศาลชั้นอุทธรณ์ได้ คาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลชั้นอุทธรณ์ให้เป็นที่สุด ผู้เป็นเจ้าของที่แท้จริงของทรัพย์สินที่ศาลมีคาสั่งอายัดหรือยึดตามวรรคสอง อาจยื่นคาขอโดยพลันเพื่อให้ศาลสั่งยกเลิกคาสั่งนั้น หากความปรากฏแก่ศาลว่าผู้นั้นมิได้รู้เห็นเป็นใจด้วยในการกระทาอันเป็นเหตุให้ต่างประเทศมีคาร้องขอตามวรรคหนึ่ง หรือมิได้กระทาการอันเป็นเหตุตามวรรคสอง ให้ศาลสั่งยกเลิกคาสั่งนั้นเสีย คาสั่งของศาลเช่นว่านี้ให้เป็นที่สุด แต่คาสั่งของศาลที่ให้ยกคาขอของผู้เป็นเจ้าของที่แท้จริงให้อุทธรณ์ไปยังศาลชั้นอุทธรณ์ได้ คาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลชั้นอุทธรณ์ให้เป็นที่สุด การที่ศาลมีคาสั่งยกคาขอหรือยกเลิกคาสั่งอายัดหรือยึดที่ได้ออกตามคาขอ ย่อมไม่ตัดสิทธิเจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจที่จะเสนอคาขอให้ศาลมีคาสั่งอายัดหรือยึดทรัพย์สินนั้นอีก หากมีพยานหลักฐานใหม่อันสาคัญซึ่งน่าจะทาให้ศาลมีคาสั่งอายัดหรือยึดทรัพย์สินนั้นได้
ในกรณีที่ได้รับคาร้องขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศให้อายัดหรือยึดทรัพย์สินตามคาสั่งก่อนมีคาพิพากษาของศาลต่างประเทศ หรือให้ริบทรัพย์สินหรือบังคับบุคคลใดให้ชาระเงินแทนการริบทรัพย์สินตามคาพิพากษาหรือคาสั่งที่ยังไม่ถึงที่สุดของศาลต่างประเทศ ให้เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจยื่นคาขอต่อศาลที่ทรัพย์สินนั้นตั้งอยู่ในเขตศาลหรือต่อศาลที่บุคคลผู้มีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในทรัพย์สินนั้นมีภูมิลาเนาอยู่ในเขตศาล หรือต่อศาลที่บุคคลซึ่งต้องชาระเงินแทนการริบทรัพย์สินมีภูมิลาเนาอยู่ในเขตศาลหรือต่อศาลที่พบตัวบุคคลนั้นอยู่ในเขตศาล แล้วแต่กรณี เพื่อมีคาสั่งอายัดหรือยึดทรัพย์สินนั้นหรือทรัพย์สินของบุคคลนั้นไว้ก่อน ในกรณีดังกล่าว หากเจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจอาจยื่นคาขอต่อศาลได้สองศาล หรือกว่านั้น เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจจะยื่นคาขอต่อศาลใดศาลหนึ่งก็ได้ ให้ศาลพิจารณาคาขอตามวรรคหนึ่งเป็นการด่วน ถ้าเป็นที่พอใจจากคาแถลงของเจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจหรือพยานหลักฐานที่เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจได้นามาสืบหรือที่ศาลได้เรียกมาสืบเองดังต่อไปนี้ ให้ศาลมีคาสั่งอายัดหรือยึดทรัพย์สินนั้นหรือทรัพย์สินของบุคคลนั้นไว้ก่อนได้ (๑) ทรัพย์สินนั้นอาจถูกอายัด ยึด หรือริบ หรือบุคคลนั้นอาจถูกบังคับให้ชาระเงินแทนการริบทรัพย์สินได้ตามกฎหมายไทย (๒) ศาลต่างประเทศมีเขตอานาจพิจารณาพิพากษาคดีที่มีคาพิพากษาหรือคาสั่งนั้น และ (๓) มีเหตุอันควรเชื่อได้ว่าอาจมีการจาหน่าย จ่าย โอน ปกปิด หรือซ่อนเร้นทรัพย์สินนั้นให้พ้นจากการบังคับตามคาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลต่างประเทศ หรืออาจมีการทาให้ทรัพย์สินไร้ประโยชน์หรือเสื่อมมูลค่าลงจนอาจทาให้การบังคับตามคาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลต่างประเทศไม่เป็นผล ถ้าศาลมีคาสั่งให้ยกคาขอ คาสั่งเช่นว่านี้ให้เป็นที่สุด แต่คาสั่งของศาลที่ให้อายัดหรือยึดทรัพย์สินไว้ก่อน ให้อุทธรณ์ไปยังศาลชั้นอุทธรณ์ได้ คาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลชั้นอุทธรณ์ให้เป็นที่สุด ผู้เป็นเจ้าของที่แท้จริงของทรัพย์สินที่ศาลมีคาสั่งอายัดหรือยึดหรือบุคคลซึ่งถูกอายัดหรือยึดทรัพย์สินตามวรรคสอง อาจยื่นคาขอโดยพลันเพื่อให้ศาลสั่งยกเลิกคาสั่งนั้น หากความปรากฏแก่ศาลว่าผู้นั้นมิได้รู้เห็นเป็นใจด้วยในการกระทาอันเป็นเหตุให้ต่างประเทศมีคาร้องขอตามวรรคหนึ่งหรือมิได้กระทาการอันเป็นเหตุตามวรรคสอง ให้ศาลสั่งยกเลิกคาสั่งนั้นเสีย คาสั่งของศาลเช่นว่านี้ให้เป็นที่สุด แต่คาสั่งของศาลที่ให้ยกคาขอของผู้เป็นเจ้าของที่แท้จริงหรือบุคคลซึ่งถูกอายัดหรือยึดทรัพย์สินนั้น ให้อุทธรณ์ไปยังศาลชั้นอุทธรณ์ได้ คาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลชั้นอุทธรณ์ให้เป็นที่สุด การที่ศาลมีคาสั่งยกคาขอหรือยกเลิกคาสั่งอายัดหรือยึดที่ได้ออกตามคาขอ ย่อมไม่ตัดสิทธิเจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจที่จะเสนอคาขอให้ศาลมีคาสั่งอายัดหรือยึดทรัพย์สินนั้นหรือทรัพย์สินของบุคคลนั้นอีก หากมีพยานหลักฐานใหม่อันสาคัญซึ่งน่าจะทาให้ศาลมีคาสั่งอายัดหรือยึดทรัพย์สินนั้นหรือทรัพย์สินของบุคคลนั้นได้
ในกรณีที่ได้รับคาร้องขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศให้ริบทรัพย์สินหรือบังคับบุคคลใดให้ชาระเงินแทนการริบทรัพย์สินตามคาพิพากษาหรือคาสั่งถึงที่สุดของศาลต่างประเทศ ให้เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจยื่นคาขอต่อศาลที่ทรัพย์สินนั้นตั้งอยู่ในเขตศาลหรือต่อศาลที่บุคคลผู้มีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในทรัพย์สินนั้นมีภูมิลาเนาอยู่ในเขตศาล หรือต่อศาลที่บุคคลซึ่งต้องชาระเงินแทนการริบทรัพย์สินมีภูมิลาเนาอยู่ในเขตศาลหรือต่อศาลที่พบตัวบุคคลนั้นอยู่ในเขตศาล แล้วแต่กรณี เพื่อมีคาพิพากษาริบทรัพย์สินหรือให้บุคคลนั้นชาระ31 เงินแทนการริบทรัพย์สินตามคาพิพากษาหรือคาสั่งถึงที่สุดของศาลต่างประเทศนั้น ในกรณีดังกล่าว หากเจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจอาจยื่นคาขอต่อศาลได้สองศาลหรือกว่านั้น เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจจะยื่นคาขอต่อศาลใดศาลหนึ่งก็ได้ ในการดาเนินการตามวรรคหนึ่ง หากจาเป็น ให้เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจทาการสอบสวนหรือจะมอบหมายให้พนักงานสอบสวนคนใดทาการสอบสวนแทนก็ได้ เมื่อได้รับคาขอ ให้ศาลหมายเรียกเจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจและบุคคลที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมายังศาลและเมื่อได้ฟังบุคคลเหล่านั้นแล้ว ถ้าเป็นที่พอใจดังต่อไปนี้ ให้ศาลพิพากษาริบทรัพย์สินหรือให้บุคคลนั้นชาระเงินแทนการริบทรัพย์สินตามที่กาหนดไว้ในคาพิพากษาหรือคาสั่งถึงที่สุดของศาลต่างประเทศนั้นได้ตามที่เห็นสมควร (๑) ทรัพย์สินนั้นอาจถูกริบหรือบุคคลนั้นอาจถูกบังคับให้ชาระเงินแทนการริบทรัพย์สินได้ตามกฎหมายไทย และ (๒) ศาลต่างประเทศมีเขตอานาจพิจารณาพิพากษาคดีที่มีคาพิพากษาหรือคาสั่งนั้น ในกรณีที่ปรากฏว่า ในการดาเนินการพิจารณาคดีนั้น ศาลต่างประเทศไม่ได้ให้โอกาสแก่จาเลยผู้ต้องหา หรือผู้เป็นเจ้าของที่แท้จริงของทรัพย์สินในการต่อสู้คดีหรือการพิสูจน์สิทธิของตน หรือการดาเนินกระบวนพิจารณาคดีนั้นขัดต่อหลักทั่วไปของกฎหมายวิธีพิจารณาความ ให้ศาลยกคาขอดังกล่าว
การอายัด ยึด หรือริบทรัพย์สิน และการบังคับชาระเงินแทนการริบทรัพย์สินตามความในส่วนนี้ ให้ศาลพิพากษาหรือมีคาสั่งได้แม้ว่าการกระทาความผิดอันเป็นเหตุให้มีการอายัด ยึดหรือริบทรัพย์สินหรือการบังคับชาระเงินแทนการริบทรัพย์สินนั้นจะมิได้เกิดขึ้นในราชอาณาจักร และให้ศาลพิพากษาริบทรัพย์สินหรือบังคับชาระเงินแทนการริบทรัพย์สินได้แม้ว่าผู้กระทาความผิดถึงแก่ความตายไปแล้ว หากความปรากฏแก่ศาลว่าคาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลต่างประเทศนั้นถึงที่สุดก่อนที่ผู้นั้นจะถึงแก่ความตาย
การสอบสวน การยื่นคาขอ การพิจารณา การพิพากษา การอุทธรณ์ และการมีคาสั่งเกี่ยวกับการอายัด ยึด หรือริบทรัพย์สิน และการบังคับชาระเงินแทนการริบทรัพย์สินตามที่กาหนดไว้ในคาพิพากษานั้น ให้นาบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและประมวลกฎหมายอาญาว่าด้วยการริบทรัพย์สินมาใช้บังคับโดยอนุโลม
ทรัพย์สินที่ศาลมีคาพิพากษาให้ริบและเงินที่ศาลมีคาพิพากษาให้ชาระแทนการริบทรัพย์สินตามความในส่วนนี้ให้ตกเป็นของแผ่นดิน แต่ศาลจะพิพากษาให้ทาให้ทรัพย์สินนั้นใช้ไม่ได้หรือทาลายทรัพย์สินนั้นเสียก็ได้ เว้นแต่กรณีที่มีสนธิสัญญาทวิภาคีระหว่างประเทศไทยกับประเทศผู้ร้องขอกาหนดไว้เป็นอย่างอื่น ก็ให้เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในสนธิสัญญานั้น แต่การจัดการกับทรัพย์สินหรือเงินดังกล่าวจะกระทามิได้หากจะเป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน เมื่อมีกรณีที่ต้องคืนทรัพย์สินที่ริบหรือเงินที่ศาลมีคาพิพากษาให้ชาระแทนการริบทรัพย์สินให้แก่ประเทศผู้ร้องขอตามที่กาหนดไว้ในสนธิสัญญาตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้ประสานงานกลางยื่นคาร้องต่อศาลเพื่อมีคาสั่งให้ส่งทรัพย์สินหรือเงินนั้นแก่ผู้ประสานงานกลางเพื่อคืนให้แก่ประเทศผู้ร้องขอ ทรัพย์สินที่ริบหรือเงินที่ศาลมีคาพิพากษาให้ชาระแทนการริบทรัพย์สินอันจะต้องคืนให้แก่ประเทศผู้ร้องขอนั้น เมื่อได้หักค่าใช้จ่ายที่ประเทศไทยได้ใช้ไปในการดาเนินการเกี่ยวกับการริบหรือการบังคับให้ชาระเงินแทนการริบทรัพย์สิน และค่าใช้จ่ายอันจาเป็นเพื่อคืนทรัพย์สินหรือเงินดังกล่าวให้แก่ประเทศผู้ร้องขอแล้ว ให้ผู้ประสานงานกลางคืนทรัพย์สินหรือเงินส่วนที่เหลือให้แก่ประเทศผู้ร้องขอ ทั้งนี้ เว้นแต่กรณีที่มีสนธิสัญญาตามวรรคหนึ่งกาหนดไว้เป็นอย่างอื่น ก็ให้เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในสนธิสัญญานั้น ดอกผลของทรัพย์สินหรือเงินตามวรรคสองที่เกิดขึ้นในระหว่างที่ยังมิได้คืนให้แก่ประเทศผู้ร้องขอให้ตกเป็นของแผ่นดิน
หน่วยงานของรัฐที่ประสงค์จะขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศให้เสนอเรื่องต่อผู้ประสานงานกลาง
ในกรณีที่ประเทศไทยร้องขอความช่วยเหลือในความผิดอันเป็นมูลเหตุแห่งการร้องขอความช่วยเหลือนั้นต้องระวางโทษถึงประหารชีวิตตามกฎหมายไทยแต่ไม่ถึงโทษประหารชีวิตตามกฎหมายของประเทศผู้รับคาร้องขอ และรัฐบาลจาเป็นต้องให้คารับรองว่าจะไม่มีการประหารชีวิตก็ให้มีการเจรจาตกลงเพื่อให้มีการรับรองดังกล่าวได้ ในกรณีนี้หากศาลพิพากษาลงโทษประหารชีวิตให้รัฐบาลดาเนินการตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายเพื่อให้มีการบังคับตามคาพิพากษาโดยวิธีจาคุกตลอดชีวิตแทนการประหารชีวิต ทั้งนี้ ห้ามมิให้บุคคลนั้นได้รับการลดหย่อนผ่อนโทษไม่ว่าด้วยเหตุใด ๆ เว้นแต่เป็นการพระราชทานอภัยโทษ
คาขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศและเอกสารทั้งปวงที่จะส่งไป ให้ทาตามแบบ หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่ผู้ประสานงานกลางกาหนด
ให้ผู้ประสานงานกลางพิจารณาว่าสมควรจะขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศหรือไม่ โดยพิจารณาถึงหลักเกณฑ์ รายละเอียด ข้อเท็จจริง และเอกสารประกอบ แล้วแจ้งให้หน่วยงานผู้ขอทราบ คาวินิจฉัยของผู้ประสานงานกลางเกี่ยวกับการขอความช่วยเหลือให้ถือเป็นยุติ เว้นแต่นายกรัฐมนตรีจะมีคาสั่งเป็นอย่างอื่น
หน่วยงานผู้ขอต้องปฏิบัติตามพันธกรณีที่ประเทศไทยมีอยู่ต่อประเทศผู้รับคาร้องขอในการใช้ข่าวสารหรือพยานหลักฐานตามวัตถุประสงค์ที่ระบุในคาขอ หน่วยงานผู้ขอต้องปฏิบัติตามพันธกรณีที่ประเทศไทยมีอยู่ต่อประเทศผู้รับคาร้องขอในการรักษาความลับของข่าวสารหรือพยานหลักฐานที่ขอรับความช่วยเหลือ เว้นแต่ข่าวสารหรือพยานหลักฐานนั้นจาเป็นต่อการพิจารณาคดีโดยเปิดเผยอันเป็นผลจากการสืบสวน การสอบสวน การฟ้องคดี หรือการดาเนินการอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาที่ระบุไว้ในคาขอ
บุคคลที่เข้ามาเบิกความเป็นพยานหรือให้ปากคาในประเทศไทยตามพระราชบัญญัตินี้ จะไม่ถูกส่งหมายเพื่อดาเนินคดีใด ๆ หรือถูกคุมขังหรือถูกจากัดเสรีภาพ โดยเหตุจากการกระทาที่เกิดขึ้นก่อนบุคคลนั้นออกจากประเทศผู้รับคาร้องขอ สิทธิในวรรคหนึ่งสิ้นสุดลงเมื่อบุคคลนั้นมีโอกาสที่จะออกจากประเทศไทยภายในระยะเวลาสิบห้าวันหลังจากที่ได้รับแจ้งจากหน่วยงานผู้ร้องขอแล้วว่าไม่จาเป็นต้องอยู่ในประเทศไทยต่อไปอีก แต่ยังคงอยู่ในประเทศไทยต่อไป หรือบุคคลนั้นได้กลับเข้ามาโดยสมัครใจหลังจากที่ได้ออกจากประเทศไทยแล้ว
การรับฟังพยานหลักฐานที่ได้มาจากต่างประเทศ ให้นาบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาใช้บังคับโดยอนุโลม
บรรดาค่าใช้จ่ายต่าง ๆ เกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือแก่ต่างประเทศ และการขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ อานันท์ ปันยารชุน นายกรัฐมนตรี
「1992년 국제형사사법공조법」
• 국가·지역: 태국 • 제 정 일: 1992년 3월 31일
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ เป็นปีที่ ๔๗ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยความร่วมมือระหว่างประเทศในเรื่องทางอาญา จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ทาหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้ 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서 현 왕조의 47번째 해인 1992년(불기2535년) 3월 31일에 하사하셨다. 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서는 다음과 같이 공고하도록 하셨다. 국제형사사법공조 관련 법률을 개정하는 것이 타당하므로, 국회 직무를 담당하는 국가입법 의회의 조언과 동의를 통하여 다 음과 같이 법을 제정한다.
이 법은 “1992년 국제형사사법 공조법”이라고 한다.
이 법은 관보에 게재한 날부터 90일이 경과한 날에 시행하도록 한다.
이 법에서 규정한 부분 또는 이 법을 위반하거나 저촉되는 모든 다른 법률과 규범, 규칙, 규정 및 고시 대신 이 법을 적용하도 록 한다.
이 법에서 사용하는 용어의 뜻 은 다음과 같다. “지원”이란 수사와 조사, 소송, 재산 몰수 집행 및 형사 사건과 연관된 기타 집행과 관련한 사 건에 대한 지원을 뜻한다. “요청국”이란 피요청국에 지원 을 요청한 국가를 뜻한다. “피요청국”이란 요청국의 지원 요청을 받는 국가를 뜻한다. “중앙 중재관”이란 이 법률에 따라 외국에 대한 지원을 제공 하거나 외국의 지원을 요청하는 것과 관련한 권한과 직무를 담 당하는 사람을 뜻한다. “유권 담당관”란 이 법에 따라 중앙 중재관이 송치하는 지원 요청에 따른 외국에 대한 지원 제공 이행 권한 및 직무 담당관 을 뜻한다.
총리와 검찰 총장이 이 법을 주 관하도록 하며, 아울러 이 법에 따른 집행을 위하여 본인의 직 무 권한과 관련한 부분에 대하 여 총리는 부령 제정권을 갖도 록 하고, 검찰 총장은 규칙 또 는 고시 제정권을 갖도록 한다. 그러한 부령이나 규칙 또는 고 시는 관보에 게재 완료하였을 때에 시행하도록 한다.
검찰 총장 또는 검찰 총장이 위 임하는 사람이 중앙 중재관이 되도록 한다.
중앙 중재관은 다음 각 항의 직 무 권한을 담당한다. (1) 요청국의 지원 요청을 접 수하고 유권 담당관에게 송치 한다. (2) 태국 정부 기관의 지원 요 청을 접수하고 피요청국에 송 치한다. (3) 지원 제공 또는 요청 여부 를 검토하고 결정한다. (4) 외국에 대한 지원 제공을 신속하게 완료하도록 하기 위 하여 유권 담당자의 이행을 추 적하고 촉구한다. (5) 이 법에 따른 집행을 위한 규칙 또는 고시를 제정한다. (6) 이 법률에 따른 지원 제공 또는 요청이 성사되도록 하기 위한 기타 이행을 한다.
국방부 대리인과 외무부 대리 인, 법무부 대리인, 대검찰청 대 리인 및 총리가 임명하는 4인 이하의 권위자를 위원으로 하 고, 위원회가 임명하는 바에 따 른 검찰 공무원 1인을 간사로 하여 구성되는, 주권이나 안보, 주요 공익 또는 국제 관계에 영 향을 미치거나 정치 범죄 또는 군 범죄와 관련하여 외국에 지 원을 제공하고 외국에 지원을 요청하는 것에 대하여 중앙 중 재관의 검토 및 결정에 참고할 의견을 제시하기 위한 하나의 위원회를 두도록 한다. 제10조에 따른 지원 요청이 있 거나 중앙 중재관이 제11조에 따라 이행을 완료한 때에, 중앙 중재관은 위원회가 실행 지침을 다르게 정한 것을 제외하고 해 당 사안을 즉시 위원회에 송치 하도록 한다. 중앙 중재관의 결정에 불일치하 는 위원회 의견이 있는 경우, 경우에 따라 제11조 다섯번째 단락 또는 제38조에 따른 지시 검토에 참조하기 위하여 해당 의견 및 결정을 총리에게 제출 하도록 한다. 중앙 중재관은 해당 의견과 결정을 총리에게 제출하도록 한다.
외국에 대한 지원 제공은 다음 각 항의 원칙 하에 있어야 한 다. (1) 국제 형사 사법 공조 조약 을 체결하지 아니하였다 하더 라도 태국이 요청국에 지원을 제공할 수도 있으나, 요청국이 태국이 요청하는 때에 동일한 방식의 지원을 제공할 것이라 는 표시를 하여야 한다. (2) 태국과 요청국 간에 국제 형사 사법 공조 조약을 체결하 였으며, 조약의 내용을 다르게 명시한 것을 제외하고, 그러한 지원의 원인이 되는 행위가 태 국 법률에 따른 어떠한 하나의 범죄이어야 한다. 이와 관련하 여 해당 지원은 이 법의 규정 을 따라야 한다. (3) 만약 태국의 주권이나 안 보 또는 기타 주요 공익에 영 향을 미치거나 정치 범죄 관련 지원 요청이라면, 태국은 그러 한 요청을 거부할 수도 있다. (4) 지원 제공은 군 범죄와 관 련이 없어야 한다.
태국과 국제 형사 사법 공조 조 약을 체결한 국가가 만약 이 장 에서 규정한 바에 따른 태국의 지원을 요청하고자 한다면, 요 청서를 작성하여 중앙 중재관에 게 송부하도록 하나, 태국과 그 러한 조약을 체결하지 아니한 국가는 외교적 수단을 통하여 요청서를 송부하도록 한다. 지원 요청서는 중앙 중재관이 정하는 서식과 원칙, 절차 및 방법에 따라 작성하도록 한다.
외국으로부터 지원 요청을 접수 한 때에는 중앙 중재관이 그러 한 요청이 이 법에 따라 지원을 제공할 원칙 하에 있는지에 대 한 여부 및 절차에 따른 이행인 지의 여부와 서류를 정확하게 구비하였는지 여부를 검토하고 결정할 수 있도록 한다. 만약 그러한 요청이 지원 제공 이 가능한 원칙 하에 있으며, 절차에 따라 이행되었고, 서류 를 정확하게 구비하였다면, 중 앙 중재관은 후속 조치를 하도 록 유권 담당관에게 해당 요청 을 송치하도록 한다. 만약 그러한 요청이 지원 제공 이 가능한 원칙 하에 있지 아니 하거나, 일부 필수 조건 하에서 지원 제공이 가능할 수도 있거 나, 절차에 따라 이행되지 아니 하였거나, 정확한 서류를 구비 하지 아니하였다면, 중앙 중재 관은 요청국에 이유와 함께 지 원 제공 거부 통보를 하거나, 필수 조건이나 장애에 대하여 고지하도록 한다. 만약 중앙 중재관이 그러한 요 청에 따른 이행이 태국에서 집 행 중인 형사 사건과 관련한 수 사나 조사, 소송 또는 기타 이 행에 대한 간섭이 될 것이라고 판단한다면, 중앙 중재관은 그 러한 요청에 따른 이행을 연기 하거나, 필수 조건을 규정하여 그러한 요청에 따라 이행할 수 도 있으며, 그 이후에 요청국에 고지하도록 한다. 지원 제공과 관련한 중앙 협력 과의 결정은 총리가 다르게 지 시하는 것을 제외하고 최종적인 것으로 보도록 한다.
중앙 중재관은 후속 조치를 하 도록 하기 위하여 외국의 지원 요청서를 다음 각 항의 유권 담 당자에게 송치하도록 한다. (1) 법정 밖에서의 절차인 증 인 심문 또는 증거 자료인 서 류나 물품 제공 요청과 서류 송부 요청, 수색 요청, 인물 수배 요청 및 증거 수집에 도 움이 되는 서류 또는 물품 압 류 또는 압수 요청은 경찰청장 이나 특별조사국장, 정부 부문 부패 방지 및 단속 위원회 사 무처장 또는 국가 부패 방지 및 단속 위원회 사무처장에게 송치하도록 한다. (2) 법정에서의 이행인 증인이 나 증거 서류 또는 증거 물품 의 탐색 요청과 재산 몰수 또 는 어떠한 사람에게 재산 몰수 대신 금전 지급을 강제하는데 도움이 되기 위한 재산 압수 또는 압류 요청 및 외국 법원 의 판결 또는 명령에 따른 재 산 압수나 압류 또는 몰수나 재산 몰수를 대신하여 금전 지 급을 강제하도록 하는 요청은 검사에게 송치하도록 한다. (3) 담당관 단계 또는 법원 단 계의 법적 조치 집행 지원을 위한 수감자 인도 또는 인수 요청은 교도국장에게 송치하도 록 한다. (4) 형사 소송 절차 개시 요청 은 경찰청장이나 특별수사국장 또는 검사에게 송치하도록 한 다. 첫번째 단락에 따른 요청 관련 부분에서의 이행을 위하여, 타 당하다고 판단하는 경우에는 중 앙 중재관이 외국의 지원 요청 을 기타 법률에 따른 담당자 또 는 담당관에게 송치할 수도 있 다.
중앙 중재관의 지원 요청을 접 수한 때에는 유권 담당관이 그 러한 요청에 따라 지원을 제공 하도록 한다. 이행이 완료된 때 에는 이행 결과를 비롯한 관련 서류 및 물품까지 중앙 중재관 에게 송부하도록 한다. 유권 담당관이 그러한 요청 이 행에 장애를 겪거나 이행이 불 가능한 경우, 중앙 중재관에게 장애에 대하여 알리도록 한다.
유권 담당관이 지원 요청에 따 라 이행을 완료하고 중앙 중재 관에게 결과를 알린 때에는 중 앙 중재관은 이행 결과를 비롯 한 관련 서류 및 물품을 요청국 에 송부하도록 한다.
외국으로부터 공조를 받는 경 우, 수사나 조사, 소송 또는 재 판에 도움이 되기 위하여 범죄 관련 자료 또는 어떠한 재산 관 련 자료를 송부하도록 한다. 만 약 중앙 중재관이 이 법에 따른 지원을 제공할 수 있는 자료이 고, 서둘러야 할 필요성이 있으 며, 정당한 이유가 있다고 판단 한다면, 중앙 중재관은 중앙 중 재관이 정하는 원칙과 절차 및 조건을 따르도록 하여 그러한 자료를 송부할 수 있다. 해당 국가가 동일한 방식의 지원을 제공할 것이라고 표시한 때에는 요청이 있는 경우에 대한 지원 제공 관련 규정을 이 조에 따른 자료 송부에 준용하도록 한다.
외국으로부터 수사 단계에서 태 국에 있는 증인 심문 또는 증거 수집 지원 요청을 접수한 경우, 유권 담당관은 그러한 요청에 따라 이행하도록 수사관에게 통 지하도록 한다. 수사관은 첫번째 단락의 요청에 따라 증인 심문 또는 증거 수집 권한을 갖도록 한다. 필요한 경 우에는 서류 또는 어떠한 물품 에 대한 압수 수색 권한을 갖도 록 한다. 이와 관련하여 「형사 소송법전」에서 규정한 원칙과 절차 및 조건을 따르도록 한다. 수사관이 증인 심문 또는 증거 수집을 이행 완료한 때에는 유 권 담당관이 후속 조치를 하도 록 이행 결과를 통지하거나 수 집한 자료를 인도하도록 한다.
만약 요청국과 태국 간의 국제 형사 사법 공조 조약이 어떠한 한 가지 서류의 정확성에 대한 인증이 필요하도록 규정하였다 면, 유권 담당관은 서류 보관 책 임자에게 해당 조약에서 규정하 였거나 중앙 중재관이 정한 서 식 및 절차에 따라 그 서류의 정확성을 인증하도록 지시하도 록 한다.
외국으로부터 태국 법원의 증거 수색 지원 요청을 접수한 경우, 유권 담당관이 그러한 요청에 따라 이행하도록 검사에게 통지 하도록 한다. 검사는 증인이 될 사람 또는 증 거 서류나 증거 물품을 관리 또 는 취급하는 사람의 거주지 또 는 주소지가 있는 관할 법원에 해당 증거 수색 요청서를 제출 할 권한을 갖도록 하며, 법원은 「형사소송법전」의 규정에 따 라 증인 심문 검토 절차를 집행 할 권한을 갖도록 한다. 증거 수색을 완료한 때에는 후 속 조치를 위하여 법원은 조서 의 기타 증거와 함께 증인의 증 언 기록을 유권 담당관에게 송 부하기 위하여 요청서를 제출한 검사에게 송부하도록 한다.
외국으로부터 태국 국가 기관의 관리 하에 있는 문서 또는 정보 를 입수하도록 하는 지원 요청 을 접수한 경우, 중앙 중재관이 그러한 문서 또는 정보를 관리 하는 국가 기관으로 통보하도록 하며, 해당 기관은 중앙 중재관 에게 그러한 문서를 전달하거나 정보를 통지한다.
제18조에 따라 외국이 요청한 문서 또는 정보가 대중에게 공 개하지 아니하여야 할 문서 또 는 정보이며, 해당 문서 또는 정보를 관리하는 기관이 요청에 따라 문서를 공개하는 것이 불 가하거나, 공개하지 아니하는 것이 마땅하다고 판단하거나, 조건부 공개가 가능할 수 있다 고 판단하는 경우, 해당 기관은 문서 또는 정보를 공개하는 데 장애가 되는 사정 또는 조건을 중앙 중재관에게 통지하도록 한 다.
이 절에서 규정한 바에 의거하 여 외국으로부터의 지원 요청에 따라 문서를 제공하는 경우, 그 러한 문서를 보관할 책임이 있 는 담당관은 중앙 중재관이 정 하는 서식 및 절차에 따라 해당 문서를 인증하도록 한다. 이와 관련하여 다르게 규정한 조약이 있다면 그 조약에서 규정한 바 를 따르도록 한다.
외국으로부터 법률 서류를 송부 하도록 하는 지원 요청을 접수 한 경우, 요청에 따른 이행 권 한이 있는 담당관은 법률 서류 를 송부하고 중앙 중재관에게 이행 결과를 통지하도록 한다. 만약 송부 요청이 접수된 법률 서류가 개인을 요청국의 담당관 또는 법원에 출두하도록 소환하 기 위한 서류라면, 유권 담당관 은 출두 기한이 만료되기 이전 적당한 기간에 미리 수신자에게 송부하도록 한다. 서류 송부 결과 통지는 중앙 중 재관이 정하는 서식과 절차를 따르도록 한다. 이와 관련하여 다르게 정한 조약이 있는 경우 그 조약에서 규정한 바를 따르 도록 한다.
법률에 따른 담당관의 명령 또 는 법원의 명령에 대한 불이행 과 관련한 부분에서 법률에 따 른 처벌 관련 규정은 요청국의 담당관 또는 법원에 출두하도록 하는 법률 서류를 수령한 요청 국의 국적자가 아닌 사람에게는 적용하지 아니하도록 한다.
외국으로부터 증거 자료 수집을 위하여 물품 수색과 압류, 압수 및 인도하도록 하는 지원 요청 을 접수한 경우, 만약 법률에 따라 물품 수색 영장을 발부할 사유나 압류 또는 압수 명령이 있다면, 이행 권한이 있는 담당 관은 법원에 그 물품에 대한 수 색 영장 발부 또는 압류나 압수 명령을 요청하도록 한다.
형사소송법전의 규정을 이 절의 내용에 따른 수색 영장 발급 또 는 압류나 압수 명령 및 수색과 압류 또는 압수에 준용하도록 하며, 수색과 압류 또는 압수의 사유가 되는 범죄 행위가 국내 에서 발생하지 아니하였다 하더 라도 집행 가능하도록 한다.
지원 요청에 따라 수색과 압류 또는 압수를 행하는 권한이 있 는 담당관은 그 물품 상태의 외 관과 속성 및 완전성 보존 보증 서를 작성하고 후속 조치를 위 하여 수색과 압류 또는 압수한 물품을 해당 보증서와 함께 중 앙 중재관에게 인도하여야 한 다. 해당 보증서는 중앙 중재관이 정하는 서식과 절차를 따르도록 한다.
외국으로부터 요청국에서 증인 신분의 수사에서 법원 단계의 증인으로 진술하거나 담당관에 게 협조하기 위하여 태국에 수 감된 사람을 인도하도록 하는 지원 요청을 접수하거나 태국에 서 동일한 방식의 지원을 위하 여 요청국에 수감된 사람에 대 한 인도를 요청하는 경우, 중앙 중재관이 검토하여 필요하다고 판단하였으며, 해당 수감자가 자원한다면, 해당자의 신병을 요청국에 인도하거나, 피요청국 으로부터 해당자를 태국으로 입 국하도록 하여 신병을 인수할 권한이 있는 담당자에게 통지하 도록 한다. 첫번째 단락에 따른 신병 인도 와 신병 인수 및 수감은 부령에 서 정하는 원칙과 절차 및 조건 을 따르도록 한다.
담당관 단계 또는 법원 단계 법 적 조치 집행에 협조하기 위하 여 외국에 수감자의 신병이 인 도되었으며 요청국에 수감된 기 간은 해당자가 태국에 수감된 기간으로 보도록 한다.
유권 담당관은 담당관 단계 또 는 법원 단계의 법적 조치 집행 에 협조하기 위하여 외국으로부 터 신병이 인도된 수감자를 해 당자가 태국에 체류하는 기간 동안 수감할 권한이 있다. 해당 자가 담당관 단계 또는 법원 단 계의 법적 조치 집행에 협조를 완료한 때에는 중앙 중재관에게 통지하도록 한다.
중앙 중재관이 제28조의 내용에 따른 유권 담당관으로부터 통지 를 받은 때에는 중앙 중재관은 즉시 해당자의 신병을 피요청국 으로 송환하도록 한다.
요청국의 담당관 단계 또는 법 원 단계의 법적 조치 집행에 협 조하기 위하여 요청국 또는 제3 국에 의하여 통제된 사람이 태 국을 통과하도록 하는 요청국의 지원 요청을 접수한 경우, 만약 중앙 중재관이 지원 제공이 가 능한 사안이라고 판단한다면 통 과에 대한 편의를 제공하기 위 하여 유권 담당관에게 통지하도 록 한다. 첫번째 단락에 따른 사람은 중 앙 중재관이 정하는 기한 내에 태국을 통과하도록 한다. 해당 기한이 만료한 때에 만약 해당 자가 요청국 또는 제3국으로 지 나가지 아니하였다면, 중앙 중 재관은 해당자가 처음 출발한 국가로 돌아가도록 명령할 권한 을 갖도록 한다. 요청국은 태국을 통과하는 기간 동안 첫번째 단락에 따른 사람 의 신병을 통제할 책임을 지도 록 한다. 이와 관련하여 요청국 및 중앙 중재관이 다르게 합의 한 것은 제외한다.
외국으로부터 요청국이 수사나 심문, 소송 또는 기타 형사 조 치와 관련하여 신병을 요하는 태국에 있다고 믿을 합당한 이 유가 있는 사람을 수배하도록 하는 지원 요청을 접수한 경우, 유권 담당관이 해당자의 신병에 대한 수배 조치를 하도록 하고, 조치 결과를 중앙 중재관에게 통보하도록 한다.
어떠한 형사 소송 절차를 개시 할 권한이 있는 외국으로부터 태국에서 그 형사 소송 절차를 개시하도록 하고자 하는 요청을 접수하였으며, 해당 사건이 태 국 법원의 관할권에 있는 경우, 중앙 중재관은 요청에 따라 형 사 소송 절차를 개시하는 것이 정당한지의 여부를 검토하도록 한다. 만약 정당하다고 판단한 다면, 「형사소송법전」의 규정 에 따라 이행 권한을 보유한 담 당관에게 통보하도록 하며, 유 권 담당관은 이행 결과를 중앙 중재관에게 알리도록 한다.
재산 몰수 또는 어떠한 사람에 게 재산 몰수를 대신하여 금전 지불을 강제하도록 하기 위하여 외국으로부터 요청국의 유권 담 당관에 의한 재산 압류 또는 압 수 명령에 따라 어떠한 재산에 대한 압류 또는 압수하도록 하 는 요청을 접수하였으며, 외국 법원이 아직 그 재산에 대하여 압류 또는 압수 명령을 하지 아 니한 경우, 유권 담당관은 해당 재산에 대한 압류 또는 압수 명 령을 위하여 경우에 따라 해당 재산이 위치한 관할권의 법원이 나 해당 재산의 소유권자의 주 소지가 가지고 있는 관할권의 법원 또는 재산 몰수 대신 금전 을 지불하여야 하는 사람의 주 소지가 있는 관할권의 법원에 요청서를 제출하도록 한다. 그 러한 경우, 만약 유권 담당관이 두 곳 이상의 법원에 요청서 제 출이 가능하다면, 유권 담당관 은 어떠한 곳이든 관계없이 한 곳의 법원에 요청서를 제출할 수도 있다. 법원은 첫번째 단락에 따른 요 청서를 긴급 사안으로 검토하도 록 한다. 만약 유권 담당관의 성명 또는 유권 담당관이 발견 하였거나 법원이 소환하여 스스 로 찾도록 한 증거가 다음 각 항을 충족하는 경우라면, 법원 이 그 재산에 대하여 우선 압류 또는 압수 명령을 하도록 할 수 있다. (1) 태국 법률에 따라 해당 재 산을 압류나 압수 또는 몰수하 거나 해당자에게 재산 몰수를 대신한 금전 지불을 강제 집행 할 수 있는 경우 (2) 외국 법원의 판결에 따라 해당 재산이 몰수되었거나 어 떠한 사람에게 재산 몰수를 대 신하여 금전을 지불하도록 강 제하는 집행을 당한 경우 (3) 재산 몰수 또는 재산 몰수 를 대신한 금전 지불 강제 집 행을 회피하고자 하는 해당 재 산에 대한 매각, 지불, 양도, 은닉 또는 은폐가 있거나, 재 산 몰수 또는 그러한 재산 몰 수를 대신한 금전 지불 강제 집행을 비효과적으로 만들 정 도로 재산을 무용하게 만들거 나 가치를 상실하도록 만든다 고 믿을 정당한 이유가 있는 경우 만약 법원이 요청을 취소하도록 명령한다면, 이와 같은 명령은 최종적인 것이 되도록 하나, 먼 저 재산을 압류 또는 압수하도 록 한 법원의 명령은 항소 법원 에 항소하도록 할 수 있다. 항 소 법원의 판결 또는 명령은 최 종적인 것이 되도록 한다. 두번째 단락에 따라 법원이 압 류 또는 압수를 명령한 재산의 실소유주는 법원이 해당 명령에 대한 취소 명령을 하도록 하기 위하여 즉시 요청서를 제출할 수도 있다. 만약 해당자가 외국 이 첫번째 단락에 따른 요청을 하도록 하는 이유가 되는 행위 의 공범자가 아니거나 두번째 단락에 따른 이유가 되는 행위 를 하지 아니하였다고 법원에 밝혀진다면, 법원은 해당 명령 에 대한 취소 명령을 하도록 한 다. 이러한 법원의 명령은 최종 적인 것이 되도록 하나, 실소유 주의 요청을 취소하도록 하는 법원의 명령은 항소 법원에 항 소할 수 있도록 한다. 항소 법 원의 판결 또는 명령은 최종적 인 것이 되도록 한다. 만약 법원이 해당 재산에 대한 압류 또는 압수를 명령하도록 할 만한 새로운 증거가 있다면, 요청 취소 또는 요청에 따라 재 산 압류 또는 압수를 취소하도 록 하는 법원의 명령은 법원이 해당 재산에 대한 압류 또는 압 수 명령을 하도록 요청서를 다 시 제출할 유권 담당권의 권리 를 박탈하지 아니한다.
외국 법원의 판결이 있기 전 명 령에 따라 재산을 압류 또는 압 수하도록 하거나, 아직 종국에 이르지 아니한 외국 법원의 판 결 또는 명령에 따라 재산 몰수 또는 어떠한 사람에 대하여 재 산 몰수를 대신하여 금전 지불 을 강제 집행하도록 하는 외국 으로부터 지원 요청을 접수한 경우, 유권 담당관은 해당 재산 또는 해당자의 재산에 대한 압 류 또는 압수 명령을 위하여 경 우에 따라 해당 재산이 위치한 관할 법원 또는 해당 재산의 소 유권이나 점유권을 가진 사람이 주소지를 둔 관할 법원 또는 해 당자를 발견한 관할 법원에 요 청서를 제출하도록 한다. 만약 유권 담당관이 두 곳 이상의 법 원에 요청서 제출이 가능하다 면, 유권 담당관은 어떠한 곳이 든 관계없이 한 곳의 법원에 요 청서를 제출할 수도 있다. 법원은 첫번째 단락에 따른 요 청서를 긴급 사안으로 검토하도 록 한다. 만약 다음 각 항의 경 우와 같이 유권 담당관의 성명 또는 유권 담당관이 발견하였거 나 법원이 소환하여 스스로 찾 도록 한 증거가 정당한 것이라 면, 법원이 그 재산에 대하여 우선 압류 또는 압수 명령을 하 도록 할 수 있다. (1) 태국 법률에 따라 해당 재 산을 압류나 압수 또는 몰수하 거나, 해당자에게 재산 몰수를 대신한 금전 지불을 강제 집행 할 수 있는 경우 (2) 관할권이 있는 외국 법원 이 해당 판결 또는 명령이 있 는 사건을 재판하는 경우 (3) 재산 몰수 또는 재산 몰수 를 대신한 금전 지불 강제 집 행을 회피하고자 하는 해당 재 산에 대한 매각, 지불, 양도, 은닉 또는 은폐가 있거나, 재 산 몰수 또는 그러한 재산 몰 수를 대신한 금전 지불 강제 집행을 비효과적으로 만들 정 도로 재산을 무용하게 만들거 나 가치를 상실하게 만든다고 믿을 정당한 이유가 있는 경우 만약 법원이 요청을 취소하도록 명령한다면, 이와 같은 명령은 최종적인 것이 되도록 하나, 먼 저 재산을 압류 또는 압수하도 록 한 법원의 명령은 항소 법원 에 항소하도록 할 수 있다. 항 소 법원의 판결 또는 명령은 최 종적인 것이 되도록 한다. 법원이 두번째 단락에 따라 압 류 또는 압수를 명령한 재산의 실소유주 또는 재산이 압류 또 는 압수된 사람은 법원이 해당 명령에 대한 취소 명령을 하도 록 하기 위하여 즉시 요청서를 제출할 수도 있다. 만약 해당자 가 외국이 첫번째 단락에 따른 요청을 하도록 하는 이유가 되 는 행위의 공범자가 아니거나 두번째 단락에 따른 이유가 되 는 행위를 하지 아니하였다고 법원에 밝혀진다면, 법원은 해 당 명령에 대한 취소 명령을 하 도록 한다. 이러한 법원의 명령 은 최종적인 것이 되도록 하나, 실소주유나 해당 재산이 압류 또는 압수된 사람의 요청을 취 소하도록 하는 법원의 명령은 항소 법원에 항소할 수 있도록 한다. 항소 법원의 판결 또는 명령은 최종적인 것이 되도록 한다. 만약 법원이 해당 재산 또는 해 당자의 재산에 대한 압류 또는 압수를 명령하도록 할 만한 새 로운 증거가 있다면, 요청 취소 또는 요청에 따라 재산 압류 또 는 압수를 취소하도록 하는 법 원의 명령은 법원이 다시 해당 재산에 대한 압류 또는 압수 명 령을 하도록 요청서를 제출할 유권 담당관의 권리를 박탈하지 아니한다.
외국으로부터 외국 법원의 종국 판결 또는 명령에 따라 재산을 몰수하거나, 재산 몰수를 대신 하여 금전을 지불하도록 하는 요청을 접수한 경우, 유권 담당 관은 해당 외국 법원의 종국 판 결 또는 명령에 따른 재산 몰수 나 해당자에게 재산 몰수를 대 신하여 금전을 지불하도록 하는 강제 집행을 위하여, 경우에 따 라 해당 재산이 위치한 관할 법 원 또는 해당 재산의 소유권이 나 점유권을 가진 사람이 주소 지를 둔 관할 법원 또는 해당자 를 발견한 관할 법원에 요청서 를 제출하도록 한다. 만약 유권 담당관이 두 곳 또는 그 이상의 법원에 요청서를 제출할 수 있 다면, 유권 담당관은 어떠한 곳 이라도 한 곳의 법원에 요청서 를 제출할 수도 있다. 첫번째 단락에 따른 집행에 있 어, 만약 필요하다면 유권 담당 관이 조사를 하거나 어떠한 수 사관이 대신 조사하도록 할 수 도 있다. 요청을 접수한 때에 법원은 유 권 담당관 및 모든 관련자를 법 원으로 출두하도록 하며, 해당 자들의 진술 청취를 완료한 때 에 만약 다음 각 항에 적합한 경우라면, 법원은 합당하다고 판단하는 바에 따라 재산 몰수 를 판결하거나, 해당 외국 법원 의 종국 판결 또는 명령에서 정 한 바에 따라 해당자가 재산 몰 수를 대신하여 금전을 지불하도 록 한다. (1) 태국 법률에 따라 해당 재 산을 몰수하거나, 해당자에게 재산 몰수를 대신한 금전 지불 을 강제 집행할 수 있는 경우 (2) 관할권을 가진 법원이 해 당 판결 또는 명령이 있는 사 건을 재판하는 경우 해당 사건의 재판 절차에서 외 국 법원이 피고나 피고인 또는 재산의 실소유주에게 변호 또는 자신의 권리 증명 기회를 제공 하지 아니하였거나, 해당 재판 절차가 소송법의 일반적인 원칙 에 위배된다고 드러나는 경우, 법원은 해당 요청을 취소하도록 한다.
이 절에 따른 재산 압류나 압수 또는 몰수 및 재산 몰수를 대신 하는 금전 납부를 강제하는 것 은 비록 재산 압류나 압수 또는 몰수를 초래하거나, 그러한 재 산 몰수를 대신한 금전 납부 강 제를 야기하는 원인이 되는 범 죄 행위가 국내에서 발생하지 아니하였다고 하더라도 법원이 판결 또는 명령을 할 수 있도록 하며, 비록 위법 행위자가 사망 하였다고 하더라도 만약 법원에 해당자가 사망하기 전, 해당 외 국 법원의 판결 또는 명령이 종 심에 이르렀다고 밝혀진다면, 법원이 재산 몰수 또는 재산 몰 수를 대신한 금전 납부 강제 판 결을 할 수 있도록 한다.
재산 압류나 압수 또는 몰수 관 련 조사와 신청서 제출, 검토, 판결, 상소 및 명령과 해당 판 결에서 규정한 바에 따른 재산 몰수를 대신한 금전 납부 강제 집행은 「형사소송법전」 및 재 산 몰수에 관한 「형법전」의 규정을 준용하도록 한다.
이 절에 따라 법원이 몰수하도 록 판결한 재산 및 법원이 재산 몰수를 대신하여 납부하도록 판 결한 금전은 국고로 귀속되도록 하나, 법원은 해당 재산을 사용 불가능하도록 하거나 해당 재산 을 파훼하도록 판결할 수도 있 다. 다만, 태국과 요청국 간의 쌍무협약이 다르게 규정해 둔 것이 있는 경우, 해당 협약에서 규정하는 바를 따르도록 하나, 만약 국민의 안녕질서 또는 미 풍양속을 저해한다면, 해당 재 산 또는 금전에 대한 처리는 집 행이 불가하다. 첫번째 단락에 따른 협약에서 규정한 바에 따라 몰수 재산이 나 법원이 재산 몰수를 대신하 여 납부하도록 판결한 금전을 요청국에 반환하여야 하는 경 우, 요청국에 반환하도록 하기 위하여 중앙 중재관은 법원에 해당 재산이나 금전을 중앙 중 재관에게 인도하도록 하는 명령 을 요청하도록 한다. 요청국에 반환하여야 하는 몰수 재산 또는 법원이 재산 몰수를 대신하여 납부하도록 판결한 금 전은 태국이 몰수 또는 재산 몰 수를 대신한 금전 납부 강제 관 련 이행에 지출한 비용 및 해당 재산 또는 금전을 요청국에 반 환하기 위하여 필요한 비용 공 제를 완료한 때에 중앙 중재관 이 남은 부분의 재산 또는 금전 을 요청국에 반환하도록 한다. 이와 관련하여 첫번째 단락에 따른 협약이 다르게 규정한 것 이 있는 경우에는 그 협약에서 규정한 바를 따르도록 한다. 요청국에 미반환한 기간 동안 발생한 두번째 단락에 따른 재 산 또는 금전의 수익은 국고에 귀속시키도록 한다.
외국으로부터의 지원을 요청하 고자 하는 국가 기관은 중앙 중 재관에게 사안을 제출하도록 한 다.
태국이 지원 요청을 하는 원인 이 되는 범죄 행위가 태국 법률 에 따라서는 사형에 처해질 수 있으나, 피요청국의 법률에 따 라서는 사형에 이르지 아니하며 정부가 사형을 하지 아니할 것 이라는 보장을 하여야 하는 필 요가 있는 경우, 그러한 보장을 하기 위한 타협을 하도록 한다. 이와 같은 경우, 만약 법원이 사형 선고를 한다면, 정부는 사 형을 대신하는 종신형으로 선고 에 따른 집행을 하기 위하여 법 률의 규정에 따라 이행하도록 한다. 이와 관련하여, 국왕 폐하 의 사면을 제외한 어떠한 이유 로도 해당자가 감형을 받지 아 니하도록 금지한다.
외국의 지원을 요청하는 요청서 및 송부할 모든 서류는 중앙 중 재관이 정하는 서식과 원칙, 절 차 및 조건을 따르도록 한다.
중앙 중재관은 원칙과 경위, 진 위 및 첨부 서류를 검토하여 외 국에 지원을 요청하는 것이 합 당한지의 여부를 숙고한 후, 요 청 기관에 통보하도록 한다. 지원 요청과 관련한 중앙 중재 관의 결정은 결판으로 보도록 한다. 다만, 장관이 다르게 명령 하는 것은 제외한다.
요청 기관은 요청서에 명시하는 목적에 따른 정보 또는 증거 이 용에서 태국이 피요청국에 대하 여 지고 있는 의무를 준수하여 야 한다. 요청 기관은 지원을 요청한 정 보 또는 증거의 비밀 유지에서 태국이 피요청국에 지고 있는 의무를 준수하여야 한다. 다만, 그러한 정보 또는 증거가 요청 서에서 명시한 형사 사건과 관 련한 조사나 수사, 소송 또는 기타 이행의 결과로 인하여 공 개적으로 재판에 필요한 것은 제외한다.
이 법에 따라 태국에 입국하여 증인으로 증언하거나 진술하는 사람은 해당자가 요청국을 출국 하기 전에 발생한 행위를 이유 로 하여 어떠한 법적 조치를 위 한 영장이 발부되거나, 수감되 거나, 자유가 제한되지 아니한 다. 첫번째 단락에 따른 권리는 요 청 기관으로부터 더 이상 태국 에 체류하여야 할 필요가 없다 는 통보를 받은 날부터 15일의 기간 내에 태국을 출국할 기회 가 있으나 계속 태국에 체류하 거나, 해당자가 태국을 출국한 이후 자진 재입국한 때에는 종 료된다.
외국으로부터 취득한 증거 청취 는 「형사소송법전」의 규정을 준용하도록 한다.
외국에 대한 지원 제공 및 외국 의 지원 요청과 관련한 모든 각 종 비용은 부령에서 정하는 원 칙과 절차 및 조건을 따르도록 한다. 부서 아난 빤야라춘 총리