「2008 년 제조물책임법」
• 국 가 ‧ 지 역: 태국 • 제 정 일: 2008 년 2 월 13 일
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๑ เป็นปีที่ ๖๓ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มี พระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยความรับผิดต่อ ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการ จ ากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระท าได้โดยอาศัย อ านาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้น ไว้โดยค าแนะน าและยินยอมของสภานิติบัญญัติ แห่งชาติ ดังต่อไปนี้ 푸미폰 아둔야뎃 국왕 폐하께서 재위 63년째 해인 2008년 2월 13일에 하사 하셨다. 푸미폰 아둔야뎃 폐하께서는 다음과 같 이 공포하게 하셨다. 제조물 책임 관련(안전하지 아니한 제조 물로 인하여 발생하는 피해에 대한 책임 관련 법률)을 갖추는 것이 마땅하다. 이 법은 「태국 헌법」의 제29조가 제 43조와 연계하여 법률의 규정에 따른 권한여 의거하여 행하도록 규정한 개인 의 권리 및 자유의 제한과 관련된 일부 조항을 포함하고 있다. 이에 폐하께서 의회의 조언과 승인을 받 아 다음과 같이 법률을 제정하도록 하셨 다.
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติความรับผิด ต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. ๒๕๕๑”
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นก าหนดหนึ่งปีนับ แต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ในกรณีที่มีกฎหมายใดบัญญัติเรื่องความรับผิดต่อ ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัยไว้ โดยเฉพาะ ซึ่งให้ความคุ้มครองผู้เสียหายมากกว่าที่ ก าหนดในพระราชบัญญัตินี้ ให้บังคับตามกฎหมายนั้น
ในพระราชบัญญัตินี้ “สินค้า” หมายความว่า สังหาริมทรัพย์ทุกชนิดที่ผลิต หรือน าเข้าเพื่อขาย รวมทั้งผลิตผลเกษตรกรรม และให้ หมายความรวมถึงกระแสไฟฟ้า ยกเว้นสินค้าตามที่ ก าหนดในกฎกระทรวง “ผลิตผลเกษตรกรรม” หมายความว่า ผลิตผลอันเกิด จากเกษตรกรรมต่าง ๆ เช่น การท านา ท าไร่ ท าสวน เลี้ยงสัตว์ เลี้ยงสัตว์น ้า เลี้ยงไหม เลี้ยงครั่ง เพาะเห็ด แต่ไม่รวมถึงผลิตผลที่เกิดจากธรรมชาติ “ผลิต” หมายความว่า ท า ผสม ปรุง แต่ง ประกอบ ประดิษฐ์ แปรสภาพ เปลี่ยนรูป ดัดแปลง คัดเลือก แบ่ง บรรจุ แช่เยือกแข็ง หรือฉายรังสี รวมถึงการกระท าใด ๆ ที่มีลักษณะท านองเดียวกัน “ผู้เสียหาย” หมายความว่า ผู้ได้รับความเสียหายอัน เกิดจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย “ความเสียหาย” หมายความว่า ความเสียหายที่เกิด จากสินค้าที่ไม่ปลอดภัยไม่ว่าจะเป็นความเสียหายต่อ ชีวิต ร่างกาย สุขภาพ อนามัย จิตใจ หรือทรัพย์สิน ทั้งนี้ ไม่รวมถึงความเสียหายต่อตัวสินค้าที่ไม่ปลอดภัยนั้น “ความเสียหายต่อจิตใจ” หมายความว่า ความเจ็บปวด ความทุกข์ทรมาน ความหวาดกลัว ความวิตกกังวล ความเศร้าโศกเสียใจ ความอับอาย หรือความเสียหาย ต่อจิตใจอย่างอื่นที่มีลักษณะท านองเดียวกัน “สินค้าที่ไม่ปลอดภัย” หมายความว่า สินค้าที่ก่อหรือ อาจก่อให้เกิดความเสียหายขึ้นได้ไม่ว่าจะเป็นเพราะ เหตุจากความบกพร่องในการผลิตหรือการออกแบบ หรือไม่ได้ก าหนดวิธีใช้ วิธีเก็บรักษา ค าเตือน หรือ ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า หรือก าหนดไว้แต่ไม่ถูกต้องหรือไม่ ชัดเจนตามสมควร ทั้งนี้ โดยค านึงถึงสภาพของสินค้า รวมทั้งลักษณะการใช้งานและการเก็บรักษาตามปกติ ธรรมดาของสินค้าอันพึงคาดหมายได้ “ขาย” หมายความว่า จ าหน่าย จ่าย แจก หรือ แลกเปลี่ยนเพื่อประโยชน์ทางการค้า และให้ หมายความรวมถึงให้เช่า ให้เช่าซื้อ จัดหา ตลอดจน เสนอ ชักชวน หรือน าออกแสดงเพื่อการดังกล่าว “น าเข้า” หมายความว่า น าหรือสั่งสินค้าเข้ามาใน ราชอาณาจักรเพื่อขาย “ผู้ประกอบการ” หมายความว่า
ผู้ประกอบการทุกคนต้องร่วมกันรับผิดต่อผู้เสียหายใน ความเสียหายที่เกิดจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย และสินค้า นั้นได้มีการขายให้แก่ผู้บริโภคแล้ว ไม่ว่าความเสียหาย นั้นจะเกิดจากการกระท าโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ของผู้ประกอบการหรือไม่ก็ตาม
เพื่อให้ผู้ประกอบการต้องรับผิดตามมาตรา ๕ ผู้เสียหายหรือผู้มีสิทธิฟ้องคดีแทนตามมาตรา ๑๐ ต้อง พิสูจน์ว่าผู้เสียหายได้รับความเสียหายจากสินค้าของ ผู้ประกอบการและการใช้หรือการเก็บรักษาสินค้านั้น เป็นไปตามปกติธรรมดา แต่ไม่ต้องพิสูจน์ว่าความ เสียหายเกิดจากการกระท าของผู้ประกอบการผู้ใด
ผู้ประกอบการไม่ต้องรับผิดต่อความเสียหายอันเกิด จากสินค้าที่ไม่ปลอดภัยหากพิสูจน์ได้ว่า
ผู้ผลิตตามค าสั่งของผู้ว่าจ้างให้ผลิตไม่ต้องรับผิดหาก พิสูจน์ได้ว่าความไม่ปลอดภัยของสินค้าเกิดจากการ ออกแบบของผู้ว่าจ้างให้ผลิตหรือจากการปฏิบัติตาม ค าสั่งของผู้ว่าจ้างให้ผลิต ทั้งผู้ผลิตไม่ได้คาดเห็นและไม่ ควรจะได้คาดเห็นถึงความไม่ปลอดภัย ผู้ผลิตส่วนประกอบของสินค้าไม่ต้องรับผิดหากพิสูจน์ ได้ว่า ความไม่ปลอดภัยของสินค้าเกิดจากการออกแบบ หรือการประกอบหรือการก าหนดวิธีใช้ วิธีเก็บรักษา ค า เตือน หรือการให้ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าของผู้ผลิตสินค้า นั้น
ข้อตกลงระหว่างผู้บริโภคกับผู้ประกอบการที่ได้ท าไว้ ล่วงหน้าก่อนเกิดความเสียหาย และประกาศหรือค า แจ้งความของผู้ประกอบการเพื่อยกเว้นหรือจ ากัดความ รับผิดของผู้ประกอบการต่อความเสียหายอันเกิดจาก สินค้าที่ไม่ปลอดภัย จะน ามาอ้างเป็นข้อยกเว้นหรือ จ ากัดความรับผิดไม่ได้ เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี้ ผู้บริโภคมีความหมาย เช่นเดียวกับนิยามค าว่า “ผู้บริโภค” ตามกฎหมายว่า ด้วยการคุ้มครองผู้บริโภค
ให้คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค สมาคม และมูลนิธิ ซึ่งคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคให้การรับรองตาม กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้บริโภค มีอ านาจฟ้องคดี เรียกค่าเสียหายแทนผู้เสียหายได้ โดยให้น าบทบัญญัติ เกี่ยวกับการฟ้องและด าเนินคดีแทนตามกฎหมาย ดังกล่าวมาใช้บังคับโดยอนุโลม การฟ้องและด าเนินคดีแทนผู้เสียหายตามวรรคหนึ่ง ให้ ได้รับยกเว้นค่าฤชาธรรมเนียมทั้งปวง แต่ไม่รวมถึง ความรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมในชั้นที่สุด
นอกจากค่าสินไหมทดแทนเพื่อละเมิดตามที่ก าหนดไว้ ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ศาลมีอ านาจ ก าหนดค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายตาม หลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ด้วย
สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายอันเกิดจากสินค้าที่ไม่ ปลอดภัยตามพระราชบัญญัตินี้เป็นอันขาดอายุความ เมื่อพ้นสามปีนับแต่วันที่ผู้เสียหายรู้ถึงความเสียหาย และรู้ตัวผู้ประกอบการที่ต้องรับผิด หรือเมื่อพ้นสิบปีนับ แต่วันที่มีการขายสินค้านั้น ในกรณีที่ความเสียหายเกิดขึ้นต่อชีวิต ร่างกาย สุขภาพ หรืออนามัย โดยผลของสารที่สะสมอยู่ในร่างกายของ ผู้เสียหายหรือเป็นกรณีที่ต้องใช้เวลาในการแสดง อาการ ผู้เสียหายหรือผู้มีสิทธิฟ้องคดีแทนตามมาตรา ๑๐ ต้องใช้สิทธิเรียกร้องภายในสามปีนับแต่วันที่รู้ถึง ความเสียหายและรู้ตัวผู้ประกอบการที่ต้องรับผิด แต่ไม่ เกินสิบปีนับแต่วันที่รู้ถึงความเสียหาย
ถ้ามีการเจรจาเกี่ยวกับค่าเสียหายที่พึงจ่ายระหว่าง ผู้ประกอบการและผู้เสียหายหรือผู้มีสิทธิฟ้องคดีแทน ตามมาตรา ๑๐ ให้อายุความสะดุดหยุดอยู่ไม่นับใน ระหว่างนั้นจนกว่าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้บอกเลิกการเจรจา
สินค้าใดที่ได้ขายแก่ผู้บริโภคก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ มีผลใช้บังคับไม่อยู่ภายใต้บังคับของพระราชบัญญัตินี้
ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และ ให้มีอ านาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรี
「2008 년 제조물책임법」
• 국 가 ‧ 지 역: 태국 • 제 정 일: 2008 년 2 월 13 일
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๑ เป็นปีที่ ๖๓ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มี พระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยความรับผิดต่อ ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการ จ ากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระท าได้โดยอาศัย อ านาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้น ไว้โดยค าแนะน าและยินยอมของสภานิติบัญญัติ แห่งชาติ ดังต่อไปนี้ 푸미폰 아둔야뎃 국왕 폐하께서 재위 63년째 해인 2008년 2월 13일에 하사 하셨다. 푸미폰 아둔야뎃 폐하께서는 다음과 같 이 공포하게 하셨다. 제조물 책임 관련(안전하지 아니한 제조 물로 인하여 발생하는 피해에 대한 책임 관련 법률)을 갖추는 것이 마땅하다. 이 법은 「태국 헌법」의 제29조가 제 43조와 연계하여 법률의 규정에 따른 권한여 의거하여 행하도록 규정한 개인 의 권리 및 자유의 제한과 관련된 일부 조항을 포함하고 있다. 이에 폐하께서 의회의 조언과 승인을 받 아 다음과 같이 법률을 제정하도록 하셨 다.
이 법은 “「2008년 제조물책임법」”* 이라고 한다
* (역자주): 태국어(원어) 법률 제명은 「2008 년 안전하지 아니한 제조물로 인하여 발생하는 피해에 대한 책임에 관한 법률」으로 직역되나, 대한민국 법률과의 비교·이해를 돕기 위하여 법률 출처의 영문 번역본 제명(「The Product Liability Act B.E. 2551(2008)」을 참고하여 의역함.
이 법은 관보에 게재한 날부터 1년이 지 난 날에 시행한다.
안전하지 아니한 제조물로 인하여 발생 한 피해에 대한 책임에 관한 피해자 보 호 관련 규정이 더 많이 포함된 특정 법 령이 있는 경우에는 해당 법령을 적용한 다.
이 법에서 사용하는 용어의 뜻은 다음과 같다. “제조물”이란 판매를 목적으로 제조되거 나 수입된 농산물 및 전력을 포함한 모 든 종류의 동산을 말한다. 다만, 부령에 서 규정하는 바에 따른 제조물은 제외한 다. “농산물”이란 벼농사·밭농사·원예농업·목 축·수산양식·양잠·곤충양식·버섯양식과 같은 각종 농업 활동으로 인하여 발생하 는 산물을 말하되, 자연산물은 포함하지 아니한다. “제조”란 생산·혼합·조리·장식·조립·제조· 가공·변형·개량·선별·소분·냉동 또는 방 사선 처리 및 이와 유사한 형태로 행하 는 것을 포함하여 말한다. “피해자”란 안전하지 아니한 제조물로 인하여 피해를 입은 자를 말한다. “피해”란 생명·신체·정신 또는 재산상의 피해를 불문하고 안전하지 아니한 제조 물로 인하여 발생한 피해를 말한다. 이 와 관련하여 안전하지 아니한 제조물에 대하여 발생한 피해는 포함하지 아니한 다. “정신적 피해”란 고통·괴로움·두려움·불 안감·슬픔·수치심 또는 이와 유사한 성 격의 정신적 피해를 말한다. “안전하지 아니한 제조물”이란 생산·제조 상 결함이 있거나, 제조물과 관련된 사 용법·보관법·경고·정보가 없거나, 해당 사항이 있으나 부정확하거나 불명확하여 피해를 유발하거나 유발할 우려가 있는 제조물을 말한다. 이와 관련하여 제조물 의 예측 가능한 정상적 사용 및 보관의 형태를 포함하는 제조물의 상태를 고려 한다. “판매”란 상업적 이익을 위한 유통·분배· 배포 또는 교환을 말하며, 임대·임대구매 ·공급·제안 및 권유 또는 이를 목적으로 하는 전시를 포함하여 말한다. “수입”이란 판매를 목적으로 제조물을 수입하거나 주문하여 국내로 들여오는 것을 말한다. “사업자”란 다음 각 항의 어느 하나에 해당하는 자를 말한다.
이미 소비자에게 판매된 안전하지 아니 한 제조물로 인하여 발생한 피해 관련 피해자에 대해서는 모든 사업자가 공동 으로 책임져야 하며, 그러한 피해가 사 업자의 고의 또는 과실인지의 여부는 불 문한다.
제5조에 따라 사업자가 책임지도록 하기 위해서는 피해자 또는 제10조에 따라 대신 소송을 제기할 권리가 있는 사람이 사업자의 제조물로 인하여 피해를 보았 으며 해당 제조물을 정상적으로 사용하 거나 보관하였다는 사실을 입증하여야 한다. 다만, 피해가 특정 사업자의 행위 로 인하여 발생하였다는 사실을 입증할 필요는 없다.
사업자가 안전하지 아니한 제조물에서 발생한 피해와 관련하여 다음 각 항의 어느 하나에 해당하는 사실을 입증할 수 있는 경우에는 이에 대하여 책임질 필요 가 없다.
제조업자가 제조물의 안전하지 아니한 상태가 제조업종 고용주의 설계 또는 주 문에 따라 이를 수행함으로써 발생하였 다는 사실을 입증할 수 있으면 제조업종 고용주의 주문을 따른 제조업자와 안전 하지 아니한 상태를 예측하지 못하였거 나 예측할 수 없는 제조업자는 이에 대 하여 책임질 필요가 없다. 제조물의 안전하지 아니한 상태가 설계· 조립, 해당 제조물 제조업자의 제조물 관련 사용법·보관법·경고 또는 정보 제 공으로 인하여 발생하였다는 사실을 입 증할 수 있는 제조물의 부품 제조업자는 이에 대하여 책임질 필요가 없다.
안전하지 아니한 제조물로 인한 피해에 대하여 피해 발생 전 소비자와 사업자 사이에 사전 체결한 합의 및 사업자의 책임을 면제하거나 제한하기 위한 사업 자의 고지나 발표는 책임 면제 또는 제 한의 구실이 되지 아니한다. 이 조의 목적상 편의를 위하여 소비자란 소비자 보호 관련 법률에 따른 “소비자” 에 대한 정의와 같다.
소비자보호위원회 및 소비자 보호 관련 법률에 따라 소비자보호위원회가 인증한 협회 및 재단은 해당 법률에 따른 대리 소송 제기 및 법적조치 집행과 관련한 조항을 준용하여 피해자 대신 소송을 제 기하고 법적 절차를 진행할 권한을 갖는 다. 첫 번째 단락에 따른 피해자 대리 소송 제기 및 법적 절차 진행에 대해서는 모 든 수수료가 면제되나, 최종 단계의 수 수료에 관한 책임은 포함하지 아니한다.
법원은 「민상법전」에서 규정한 바에 따른 침해에 대한 배상금 이외에 다음 각 항의 어느 하나에 해당하는 원칙에 따라 피해에 대한 배상금을 결정할 권한 을 갖는다.
이 법에 따른 안전하지 아니한 제조물로 인하여 발생한 피해에 대한 배상금 청구 권은 피해자가 피해 사실을 인지하고 이 와 관련한 책임이 있는 사업자를 인지한 날부터 3년이 지난 때 또는 해당 제조물 의 판매일부터 10년이 지난 때에 소멸 한다. 피해자의 신체에 누적된 물질로 인하여 생명·신체 또는 위생에 발생한 피해이거 나 증상의 발현 시까지 시간이 소요되는 경우에는 피해자 또는 제10조에 따른 소송대리인이 피해 사실을 인지하고 이 와 관련한 책임을 져야 하는 사업자를 알게 된 날부터 3년 이내에 청구권을 행 사하여야 하나, 피해 사실을 인지한 날 부터 10년을 초과하지 아니한다.
사업자와 피해자 또는 제10조에 따른 소송대리인 사이에 배상이 필요한 피해 액 관련 협상이 있으면 어느 일방이 협 상의 종료를 선언할 때까지는 시효를 중 단하고 해당 기간은 산입하지 아니한다.
이 법의 시행일 이전에 소비자에게 판매 된 제조물에 대해서는 이 법이 적용되지 아니한다.
총리가 이 법에 따른 집행을 주관하며, 이 법에 따른 집행을 위한 부령 제정권 을 갖는다. 해당 부령은 관보에 게재한 때에 발효된 다. 부서 대장 쑤라윳 쭐라논 총리