「2019년 업무상 질병 및 환경성 질환 관리법」
• 국 가 ‧ 지 역: 태국 • 제 정 일: 2019년 5월 19일
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิรา ลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นปีที่ ๔ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิรา ลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยการควบคุมโรค จากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการ จ ากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๖ ประกอบ กับมาตรา ๓๒ มาตรา ๓๓ มาตรา ๓๗ และมาตรา ๔๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระท า ได้โดยอาศัยอ านาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เหตุผลและความจ าเป็นในการจ ากัดสิทธิและเสรีภาพของ บุคคลตามพระราชบัญญัตินี้ เพื่อก าหนดกลไกการเฝ้า ระวัง การป้องกัน และการควบคุมโรคจากการประกอบ อาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม โดยใช้ระบบการแจ้งข้อมูล ที่จ าเป็นเกี่ยวกับการเฝ้าระวัง การป้องกัน และการควบคุม โรคจากการประกอบอาชีพแก่ลูกจ้าง หรือโรคจาก สิ่งแวดล้อมแก่ประชาชนที่ได้รับหรืออาจได้รับมลพิษ ให้ม ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกัน โรค และก าหนดให้บุคคลที่เกี่ยวข้องมีหน้าที่แจ้งหรือ รายงานเกี่ยวกับการพบหรือมีเหตุสงสัยว่าเกิดโรคจากการ ประกอบอาชีพหรือโรคจากสิ่งแวดล้อมต่อพนักงาน เจ้าหน้าที่หรือกรมควบคุมโรค เพื่อให้สามารถด าเนินการ กับสถานการณ์การเกิดโรคดังกล่าวได้ทันท่วงที ซึ่งการตรา พระราชบัญญัตินี้สอดคล้องกับเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ใน มาตรา ๒๖ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยแล้ว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้ โดยค าแนะน าและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติท า หน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้ 마하와치라롱껀 버딘트라텝파야와랑꾼 폐하께서 재위 4번째 해인 2019년(불기 2562년) 5월 19일에 하사하셨다. 마하와치라롱껀 버딘트라텝파야와랑꾼 폐하께서는 다음과 같이 공포하게 하셨 다. 업무상 질병 및 환경성 질환 관리 관련 법률을 갖추는 것이 마땅하다. 이 법률은 개인의 권리와 자유를 제한하 는 것과 관련한 일부 조항을 포함한다. 즉, 태국 헌법의 제26조가 제32조와 제 33조, 제37조 및 제40조와 연계하여 법 률에서 규정하는 권한에 따라 이행하도 록 규정한다. 이 법에 따라 개인의 권리와 자유를 제 한하는 이유와 필요성은 적시에 업무상 질병 및 환경성 질환 발생 상황에 대처 할 수 있도록 하기 위하여 근로자에게는 업무상 질병 또는 오염에 노출되거나 노 출되었을 수 있는 국민에게는 환경성 질 환 감시와 예방 및 관리 관련 필수 정보 알림 시스템을 활용하여 건강 지원 및 질환 예방 관련 기본 지식을 제공하고, 관계자에게는 담당관 또는 질병관리국에 업무상 질병 또는 환경성 질환 발생 발 견 또는 발생 의심 사유와 관련한 신고 또는 보고 의무를 지도록 규정하여 업무 상 질병 및 환경성 질환에 대한 감시와 예방 및 관리 메커니즘을 규정하기 위한 것으로, 이 법률의 제정은 태국 헌법의 제26조에서 규정하는 조건에 부합한다. 이에 폐하께서 의회 역할을 수행하는 입 법부의 조언과 동의를 통하여 다음과 같 이 이 법을 제정하게 하셨다.
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติควบคุมโรค จากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๖๒”
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นก าหนดหนึ่งร้อย ยี่สิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้น ไป
พระราชบัญญัตินี้มิให้ใช้บังคับแก
ในพระราชบัญญัตินี้ “โรคจากการประกอบอาชีพ” หมายความว่า โรคหรือ อาการผิดปกติที่เกิดขึ้นจากหรือเป็นผลเนื่องมาจากการ ท างานหรือการประกอบอาชีพ “โรคจากสิ่งแวดล้อม” หมายความว่า โรคหรืออาการ ผิดปกติที่เกิดขึ้นจากหรือเป็นผลเนื่องมาจากมลพิษ “มลพิษ” หมายความว่า ของเสีย วัตถุอันตราย สิ่ง ปนเปื้อน และมลสารอื่น ๆ รวมทั้งกากตะกอน หรือสิ่ง ตกค้างจากสิ่งเหล่านั้น ที่ถูกปล่อยทิ้งจากแหล่งก าเนิด มลพิษ หรือที่มีอยู่ในสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติซึ่ง ก่อให้เกิดหรืออาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพ สิ่งแวดล้อม หรือภาวะที่เป็นพิษภัยอันตรายต่อสุขภาพ อนามัยของประชาชนได้ และให้หมายความรวมถึงรังสี ความร้อน แสง เสียง กลิ่น ความสั่นสะเทือน หรือเหตุ อื่น ๆ ที่เกิดหรือถูกปล่อยออกจากแหล่งก าเนิดมลพิษ ด้วย “แหล่งก าเนิดมลพิษ” หมายความว่า โรงงาน อุตสาหกรรม อาคาร สิ่งก่อสร้าง ยานพาหนะ และ สถานที่ประกอบกิจการใด ๆ ซึ่งเป็นแหล่งที่มาของ มลพิษ “การเฝ้าระวัง” หมายความว่า การสังเกต การเก็บ รวบรวม และการวิเคราะห์ข้อมูล ตลอดจนการรายงาน และการติดตามผลของโรคจากการประกอบอาชีพและ โรคจากสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่องด้วยกระบวนการที่ เป็นระบบ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและการควบคุม โรค “การสอบสวนโรค” หมายความว่า กระบวนการเพื่อหา สาเหตุและแหล่งที่เกิดโรคจากการประกอบอาชีพและ โรคจากสิ่งแวดล้อม เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและ การควบคุมโรค “อาชีวเวชกรรม” หมายความว่า กระบวนการที่ ประกอบด้วยการบ่งชี้และประเมินความเสี่ยงของการ เกิดโรคจากการประกอบอาชีพ การตรวจสุขภาพตาม ปัจจัยเสี่ยง การตรวจสุขภาพให้เหมาะสมกับงาน การ ตรวจสุขภาพก่อนกลับเข้าท างาน การเฝ้าระวัง การ ป้องกัน และการควบคุมโรค รวมทั้งการวินิจฉัยสาเหตุ ของโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสมรรถภาพ หรือสุขภาพของผู้ซึ่งเป็นโรคจากการประกอบอาชีพ “เวชกรรมสิ่งแวดล้อม” หมายความว่า กระบวนการที่ ประกอบด้วยการบ่งชี้และประเมินความเสี่ยงของการ เกิดโรคจากสิ่งแวดล้อม การเฝ้าระวัง การป้องกัน และ การควบคุมโรค รวมทั้งการวินิจฉัยสาเหตุของโรค การ รักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสมรรถภาพหรือสุขภาพ ของผู้ซึ่งเป็นโรคจากสิ่งแวดล้อม “นายจ้าง” หมายความว่า นายจ้างตามกฎหมายว่าด้วย การคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้วยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างาน และให้ หมายความรวมถึงผู้จ้างงานตามกฎหมายว่าด้วยการ คุ้มครองผู้รับงานไปท าที่บ้าน “ลูกจ้าง” หมายความว่า ลูกจ้างตามกฎหมายว่าด้วย การคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้วยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างาน และให้ หมายความรวมถึงผู้รับงานไปท าที่บ้านตามกฎหมายว่า ด้วยการคุ้มครองผู้รับงานไปท าที่บ้าน “แรงงานนอกระบบ” หมายความว่า บุคคลที่มีงานท า แต่ไม่รวมถึงบุคคลซึ่งเป็นนายจ้างและลูกจ้างตาม กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้วย ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การท างาน และผู้รับงานไปท าที่บ้านตามกฎหมายว่า ด้วยการคุ้มครองผู้รับงานไปท าที่บ้าน “หน่วยบริการ” หมายความว่า สถานบริการสาธารณสุข หน่วยงานหรือหน่วยบริการด้านสุขภาพที่ด าเนินการ ภายในสถานประกอบกิจการ หรือองค์กรที่ให้บริการ ด้านอาชีวเวชกรรมหรือเวชกรรมสิ่งแวดล้อม “สถานบริการสาธารณสุข” หมายความว่า สถานบริการ สาธารณสุขของรัฐ หรือเอกชน สภากาชาดไทย และ หน่วยบริการการประกอบโรคศิลปะสาขาต่าง ๆ “หน่วยปฏิบัติการ” หมายความว่า หน่วยปฏิบัติการ ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจาก สิ่งแวดล้อม “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการควบคุม โรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรี แต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตาม พระราชบัญญัตินี้
ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตาม พระราชบัญญัตินี้ และให้มีอ านาจแต่งตั้งพนักงาน เจ้าหน้าที่ กับออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศนั้น เมื่อได้ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
ในกรณีที่มีกฎหมายว่าด้วยการใดบัญญัติเกี่ยวกับ หลักเกณฑ์หรือมาตรฐานการเฝ้าระวัง การป้องกัน หรือ การควบคุมโรคในเรื่องใดไว้โดยเฉพาะแล้ว ให้บังคับ ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วยการนั้น เว้นแต่ กรณีมีเหตุจ าเป็น ให้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการมีอ านาจประกาศก าหนดหลักเกณฑ์หรือ มาตรฐานการเฝ้าระวัง การป้องกัน และการควบคุมโรค จากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อมในเรื่อง นั้นได้
เพื่อประโยชน์ในการเฝ้าระวัง การป้องกัน และการ ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจาก สิ่งแวดล้อม ให้รัฐมนตรีโดยค าแนะน าของ คณะกรรมการมีอ านาจประกาศก าหนด ดังต่อไปนี้
ให้นายจ้าง เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งก าเนิด มลพิษ แจ้งข้อมูลที่จ าเป็นเกี่ยวกับการเฝ้าระวัง การ ป้องกัน และการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพแก่ ลูกจ้าง หรือประชาชนที่ได้รับหรืออาจได้รับมลพิษ ตาม หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศ ก าหนดในมาตรา ๗ (๒) หรือ (๓) แล้วแต่กรณ
บรรดาข้อมูลส่วนบุคคลจากการเฝ้าระวัง การสอบสวน โรค การแจ้ง หรือการรายงานตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ ถือเป็นความลับ ห้ามมิให้ผู้ซึ่งมีหน้าที่ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ เปิดเผยข้อมูลนั้นแก่บุคคลซึ่งไม่มีหน้าที่ปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้ เว้นแต่มีความจ าเป็นเพื่อประโยชน์ สาธารณะ ให้เปิดเผยข้อมูลดังกล่าวได้ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศก าหนดโดย ค าแนะน าของคณะกรรมการ
ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการ ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจาก สิ่งแวดล้อม” ประกอบด้วย
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีคุณสมบัติและไม่ม ลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ ก. คุณสมบัติ (๑) มีสัญชาติไทย (๒) มีอายุไม่ต ่ากว่าสามสิบห้าปี ข. ลักษณะต้องห้าม (๑) เป็นบุคคลล้มละลายหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลาย ทุจริต (๒) เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ ความสามารถ (๓) ติดยาเสพติดให้โทษ (๔) เคยได้รับโทษจ าคุกโดยค าพิพากษาถึงที่สุดให้ จ าคุก เว้นแต่เป็นโทษส าหรับความผิดที่ได้กระท าโดย ประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๕) เคยต้องค าพิพากษาหรือค าสั่งของศาลให้ทรัพย์สิน ตกเป็นของแผ่นดินเพราะร ่ารวยผิดปกติหรือมีทรัพย์สิน เพิ่มขึ้นผิดปกติ (๖) เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากหน่วยงาน ของรัฐหรือเลิกจ้างจากหน่วยงานของเอกชน เพราะ ทุจริตต่อหน้าที่ ประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง หรือถือว่า กระท าการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ (๗) เป็นผู้ประกอบการหรือผู้มีส่วนได้เสียในกิจการที่ อาจก่อให้เกิดโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจาก สิ่งแวดล้อม
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการด ารงต าแหน่งคราวละ สี่ปีนับแต่วันที่ได้รับการแต่งตั้ง ผู้ซึ่งพ้นจากต าแหน่ง แล้วอาจได้รับการแต่งตั้งอีกได้แต่จะด ารงต าแหน่ง ติดต่อกันเกินสองวาระไม่ได้ ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากต าแหน่งก่อน วาระ ให้รัฐมนตรีแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้าน เดียวกันแทน และให้ผู้ได้รับแต่งตั้งให้ด ารงต าแหน่ง แทนอยู่ในต าแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งตนแทน เว้นแต่วาระของกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิจะเหลืออยู่ไม่ถึงเก้าสิบวัน รัฐมนตรีจะไม่ ด าเนินการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทนก็ได้ และ ในการนี้ ให้คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการเท่าที่ เหลืออยู่ เมื่อครบก าหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังมิได้ แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่ ให้กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากต าแหน่งตามวาระนั้นอยู่ใน ต าแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไป จนกว่ากรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับแต่งตั้งใหม่เข้ารับหน้าท
นอกจากการพ้นจากต าแหน่งตามวาระ กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากต าแหน่งเมื่อ
คณะกรรมการมีหน้าที่และอ านาจ ดังต่อไปนี้
การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ านวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเป็น องค์ประชุม ในการประชุมคณะกรรมการ ถ้าประธานกรรมการไม่มา ประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้ที่ประชุมเลือก กรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้า คะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในที่ประชุมออกเสียง เพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด
คณะกรรมการจะแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณา หรือปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่คณะกรรมการ มอบหมายก็ได้ การประชุมคณะอนุกรรมการ ให้น าความในมาตรา ๑๕ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ มีอ านาจให้บุคคล ที่เกี่ยวข้องมาให้ข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็น หรือ ให้จัดส่งข้อมูลหรือเอกสารหรือหลักฐานใด ๆ ที่จ าเป็น หรือเกี่ยวข้อง หรือข้อคิดเห็นมาเพื่อใช้ประกอบการ พิจารณาได้
ให้กรมควบคุมโรคเป็นส านักงานเลขานุการของ คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการโดยให้มีหน้าที่และ อ านาจ ดังต่อไปนี้
ในแต่ละจังหวัด ให้มีคณะกรรมการควบคุมโรคจากการ ประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อมจังหวัด ประกอบด้วย
ให้มีคณะกรรมการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพ และโรคจากสิ่งแวดล้อมกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย
คณะกรรมการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและ โรคจากสิ่งแวดล้อมจังหวัดและคณะกรรมการควบคุม โรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานคร มีหน้าที่และอ านาจในเขตจังหวัดหรือ ในเขตกรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณี ดังต่อไปนี้
การแต่งตั้ง วาระการด ารงต าแหน่ง และการพ้นจาก ต าแหน่งของกรรมการตามมาตรา ๑๙ (๓) (๔) (๕) และ (๖) และกรรมการตามมาตรา ๒๐ (๓) (๔) (๕) และ (๖) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ คณะกรรมการประกาศก าหนด
คณะกรรมการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและ โรคจากสิ่งแวดล้อมจังหวัดหรือคณะกรรมการควบคุม โรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานคร จะแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อ พิจารณาหรือปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่ คณะกรรมการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและ โรคจากสิ่งแวดล้อมจังหวัดหรือคณะกรรมการควบคุม โรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานครมอบหมายก็ได้ การประชุมคณะกรรมการควบคุมโรคจากการประกอบ อาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อมจังหวัด คณะกรรมการ ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจาก สิ่งแวดล้อมกรุงเทพมหานคร และคณะอนุกรรมการ ตามวรรคหนึ่ง ให้น าความในมาตรา ๑๕ มาใช้บังคับ โดยอนุโลม
เพื่อประโยชน์ในการด าเนินการเกี่ยวกับอาชีวเวชกรรม และเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ให้รัฐมนตรีโดยค าแนะน าของ คณะกรรมการมีอ านาจออกกฎกระทรวง ดังต่อไปนี้
การให้บริการอาชีวเวชกรรมหรือเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ต้องด าเนินการโดยหน่วยบริการที่ได้ขึ้นทะเบียนกับกรม ควบคุมโรค หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ ซึ่งต้องมี คุณสมบัติตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่รัฐมนตรี ประกาศก าหนดโดยค าแนะน าของคณะกรรมการ หน่วยบริการตามวรรคหนึ่ง ต้องให้บริการทางอาชีวเวช กรรมหรือเวชกรรมสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐานที่ก าหนด ในมาตรา ๒๔ การขอขึ้นทะเบียน การขึ้นทะเบียน อายุและการต่ออายุ การขึ้นทะเบียน การออกใบแทน การขึ้นทะเบียน การ เพิกถอนทะเบียน และการประเมินคุณภาพการ ให้บริการของหน่วยบริการที่ได้ขึ้นทะเบียน ให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ก าหนดใน กฎกระทรวง
เพื่อประโยชน์ในการเฝ้าระวังโรคจากการประกอบ อาชีพ ให้นายจ้างจัดให้มีการตรวจสุขภาพลูกจ้างตาม กฎหมายว่าด้วยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการท างาน โดยหน่วยบริการที่ได้ขึ้น ทะเบียนตามมาตรา ๒๕
เพื่อประโยชน์ในการเฝ้าระวังโรคจากการประกอบ อาชีพของแรงงานนอกระบบ ให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิ ได้รับการตรวจสุขภาพ โดยหน่วยบริการที่ได้ขึ้น ทะเบียนตามมาตรา ๒๕ การตรวจสุขภาพตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ก าหนดในกฎกระทรวง
เพื่อประโยชน์ในการเฝ้าระวังโรคจากสิ่งแวดล้อม ให้ เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งก าเนิดมลพิษจัดให้มีการ เฝ้าระวังสุขภาพของประชาชนที่ได้รับหรืออาจได้รับ มลพิษ โดยหน่วยบริการที่ได้ขึ้นทะเบียนตามมาตรา ๒๕ ประเภท ขนาด และลักษณะของแหล่งก าเนิดมลพิษ และประเภทหรือกลุ่มของประชาชนที่ได้รับหรืออาจ ได้รับมลพิษตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่ คณะกรรมการประกาศก าหนด
เพื่อประโยชน์ในการเฝ้าระวังโรคจากการประกอบ อาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม ให้หน่วยบริการที่ได้ขึ้น ทะเบียนที่ด าเนินการตามมาตรา ๒๖ มาตรา ๒๗ หรือ มาตรา ๒๘ แจ้งข้อมูลการตรวจสุขภาพของลูกจ้างหรือ แรงงานนอกระบบ หรือการเฝ้าระวังสุขภาพของ ประชาชนที่ได้รับหรืออาจได้รับมลพิษ แล้วแต่กรณี ต่อ พนักงานเจ้าหน้าที่ เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ได้รับแจ้งข้อมูลตามวรรคหนึ่ง แล้ว ให้รายงานต่อกรมควบคุมโรคและคณะกรรมการ ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจาก สิ่งแวดล้อมจังหวัดหรือคณะกรรมการควบคุมโรคจาก การประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณี การด าเนินการตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศ ก าหนดโดยค าแนะน าของคณะกรรมการ เพื่อประโยชน์ในการเฝ้าระวังโรคจากการประกอบ อาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม ให้หน่วยงานของรัฐหรือ หน่วยงานของเอกชนสามารถขอข้อมูลตามวรรคหนึ่ง ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ก าหนดไว้ใน มาตรา ๙ ได้
ในกรณีที่บุคคลดังต่อไปนี้พบผู้ซึ่งเป็นหรือมีเหตุอันควร สงสัยว่าเป็นโรคจากการประกอบอาชีพหรือโรคจาก สิ่งแวดล้อม ให้แจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าท
ในกรณีที่พนักงานเจ้าหน้าที่พบผู้ซึ่งเป็นหรือมีเหตุอัน ควรสงสัยว่าเป็นโรคจากการประกอบอาชีพหรือโรคจาก สิ่งแวดล้อม หรือได้รับแจ้งตามมาตรา ๓๐ ให้พนักงาน เจ้าหน้าที่รายงานต่อกรมควบคุมโรค และ คณะกรรมการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและ โรคจากสิ่งแวดล้อมจังหวัดหรือคณะกรรมการควบคุม โรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานคร การรายงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง ให้ เป็นไปตามที่รัฐมนตรีประกาศก าหนดโดยค าแนะน า ของคณะกรรมการ
ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและ โรคจากสิ่งแวดล้อมจังหวัด หรือผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานครโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจาก สิ่งแวดล้อมกรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณี จัดตั้งหน่วย ปฏิบัติการอย่างน้อยหนึ่งหน่วยขึ้นในทุกจังหวัดและ กรุงเทพมหานคร เพื่อท าหน้าที่ในการสอบสวนโรค การ เฝ้าระวัง การป้องกัน และการควบคุมโรคจากการ ประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ หลักเกณฑ์การจัดตั้งหน่วยปฏิบัติการให้เป็นไปตามที่ รัฐมนตรีประกาศก าหนดโดยค าแนะน าของ คณะกรรมการ หน่วยปฏิบัติการตามวรรคหนึ่ง อย่างน้อยต้อง ประกอบด้วยพนักงานเจ้าหน้าที่หนึ่งคน เจ้าหน้าที่ทาง การแพทย์และการสาธารณสุขสองคน และอาจแต่งตั้ง พนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องหรือ เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานภาคเอกชนตามจ านวนที่ผู้ว่า ราชการจังหวัดหรือผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เห็นสมควรเป็นหน่วยปฏิบัติการร่วมด้วยก็ได้
ในกรณีที่พบลูกจ้างซึ่งเป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่า เป็นโรคจากการประกอบอาชีพ หรือพบประชาชนที่ ได้รับหรืออาจได้รับมลพิษตามมาตรา ๒๘ วรรคสอง ซึ่ง เป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคจากสิ่งแวดล้อม ในเขตพื้นที่ใด ให้พนักงานเจ้าหน้าที่หรือหน่วย ปฏิบัติการในพื้นที่นั้นท าการสอบสวนโรค โดยพนักงาน เจ้าหน้าที่อาจสั่งให้นายจ้าง เจ้าของหรือผู้ครอบครอง แหล่งก าเนิดมลพิษน าลูกจ้างหรือประชาชนที่ได้รับหรือ อาจได้รับมลพิษ แล้วแต่กรณี เข้ารับการตรวจ วินิจฉัยโรค รักษาพยาบาล หรือฟื้นฟูสมรรถภาพ เมื่อได้ด าเนินการตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้พนักงาน เจ้าหน้าที่จัดท ารายงานการสอบสวนโรคเสนอต่อ คณะกรรมการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและ โรคจากสิ่งแวดล้อมจังหวัดหรือคณะกรรมการควบคุม โรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณี เพื่อรายงานการ ด าเนินการให้กรมควบคุมโรคทราบ การสอบสวนโรค การออกค าสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่ และการรายงานตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศ ก าหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
ในกรณีที่พนักงานเจ้าหน้าที่พบว่านายจ้าง เจ้าของหรือ ผู้ครอบครองแหล่งก าเนิดมลพิษ ไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๓๓ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอ านาจออกค าสั่งเป็น หนังสือให้ผู้นั้นด าเนินการให้เป็นไปตามที่ก าหนดไว้ใน พระราชบัญญัตินี้ ในกรณีที่นายจ้าง เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งก าเนิด มลพิษละเลยไม่ด าเนินการตามค าสั่งภายในเวลาที่ ก าหนด ให้อธิบดีกรมควบคุมโรคหรือผู้ซึ่งอธิบดีกรม ควบคุมโรคมอบหมายสั่งให้พนักงานเจ้าหน้าที่เข้า ด าเนินการได้ โดยให้นายจ้าง เจ้าของหรือผู้ครอบครอง แหล่งก าเนิดมลพิษชดใช้ค่าใช้จ่ายในการด าเนินการนั้น ตามจ านวนที่จ่ายจริง ทั้งนี้ ตามระเบียบที่กระทรวง สาธารณสุขก าหนด การด าเนินการออกค าสั่งตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศ ก าหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคจากการ ประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม ซึ่งหากปล่อยไว้ อาจเกิดหรือก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงต่อชีวิต ร่างกาย หรือสุขภาพอนามัยของประชาชนในเขตพื้นที่ ให้อธิบดีกรมควบคุมโรคหรือผู้ซึ่งอธิบดีกรมควบคุมโรค มอบหมายโดยค าแนะน าของคณะกรรมการควบคุมโรค จากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อมจังหวัด หรือคณะกรรมการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพ และโรคจากสิ่งแวดล้อมกรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณี มีอ านาจประกาศเขตพื้นที่ที่จ าเป็นต้องเฝ้าระวัง ป้องกัน หรือควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพหรือโรค จากสิ่งแวดล้อม รวมทั้งประกาศยกเลิกเมื่อมีเหตุอัน สมควรหรือสภาวการณ์ของโรคนั้นสงบลง การประกาศก าหนดเขตพื้นที่ตามวรรคหนึ่ง ให้ก าหนด หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการเฝ้าระวัง การป้องกัน หรือการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพ หรือโรคจากสิ่งแวดล้อมที่ก่อหรืออาจก่อให้เกิดความ เสียหายอย่างรวดเร็วหรือกว้างขวาง เพื่อให้พนักงาน เจ้าหน้าที่ด าเนินการส าหรับเขตพื้นที่นั้นเป็นการเฉพาะ หรือก าหนดมาตรการอื่นใดที่เหมาะสมแก่สภาพของ พื้นที่นั้นเป็นการเฉพาะก็ได้
เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ พนักงานเจ้าหน้าที่มีอ านาจ ดังต่อไปนี้
ในการปฏิบัติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตร ประจ าตัวต่อบุคคลที่เกี่ยวข้อง บัตรประจ าตัวตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามแบบท รัฐมนตรีประกาศก าหนด
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงาน เจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
นายจ้าง เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งก าเนิดมลพิษ ผู้ใด ไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๘ ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน ห้าหมื่นบาท
ผู้ใดไม่มาให้ถ้อยค าหรือไม่ส่งข้อมูล เอกสาร หรือ หลักฐานใด ๆ ต่อคณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการ ตามมาตรา ๑๗ หรือต่อคณะกรรมการควบคุมโรคจาก การประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อมจังหวัดหรือ คณะกรรมการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและ โรคจากสิ่งแวดล้อมกรุงเทพมหานครตามมาตรา ๒๑ (๖) หรือตามที่พนักงานเจ้าหน้าที่มีหนังสือเรียกตาม มาตรา ๓๖ (๒) โดยไม่มีเหตุอันสมควร ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
ผู้ใดให้บริการอาชีวเวชกรรมหรือเวชกรรมสิ่งแวดล้อม โดยไม่ได้ขึ้นทะเบียนตามมาตรา ๒๕ ต้องระวางโทษ จ าคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือทั้ง จ าทั้งปรับ
ผู้ให้บริการอาชีวเวชกรรมหรือเวชกรรมสิ่งแวดล้อมที่ได้ ขึ้นทะเบียนตามมาตรา ๒๕ ผู้ใด ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติ ตามกฎกระทรวงที่ออกตามความในมาตรา ๒๔ ต้อง ระวางโทษจ าคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสน บาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ
นายจ้างที่จัดให้มีการตรวจสุขภาพลูกจ้างตามมาตรา ๒๖ แต่หน่วยบริการนั้นไม่ได้ขึ้นทะเบียนตามมาตรา ๒๕ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท
เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งก าเนิดมลพิษที่ไม่จัดให้มี การเฝ้าระวังสุขภาพของประชาชนที่ได้รับหรืออาจได้รับ มลพิษตามมาตรา ๒๘ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้า หมื่นบาท
นายจ้างหรือผู้รับผิดชอบในสถานพยาบาลผู้ใดไม่ ปฏิบัติตามมาตรา ๓๐ วรรคหนึ่ง หรือไม่ปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์และวิธีการแจ้งตามมาตรา ๓๐ วรรคสอง โดยไม่มีเหตุอันสมควร ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสอง หมื่นบาท
นายจ้าง เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งก าเนิดมลพิษ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามค าสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม มาตรา ๓๓ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
ผู้ใดขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ ตามมาตรา ๓๕ วรรคสอง ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน หนึ่งแสนบาท
ในกรณีที่ผู้กระท าความผิดตามพระราชบัญญัตินี้เป็น นิติบุคคล ถ้าการกระท าความผิดของนิติบุคคลนั้นเกิด จากการสั่งการ หรือการกระท าของบุคคลใด หรือเกิด จากการไม่สั่งการหรือไม่กระท าการอันเป็นหน้าที่ที่ต้อง กระท าของกรรมการ หรือผู้จัดการ หรือบุคคลใดซึ่ง รับผิดชอบในการด าเนินงานของนิติบุคคลนั้น ผู้นั้นต้อง รับโทษตามที่บัญญัติไว้สาหรับความผิดนั้น ๆ ด้วย
บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ที่มีโทษปรับ สถานเดียวหรือมีโทษจ าคุกไม่เกินหนึ่งปี ให้อธิบดีกรม ควบคุมโรคหรือผู้ซึ่งอธิบดีกรมควบคุมโรคมอบหมายมี อ านาจเปรียบเทียบได้ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา และเมื่อผู้กระท าผิดได้ ช าระเงินค่าปรับตามจ านวนที่เปรียบเทียบภายใน สามสิบวันนับแต่วันที่มีการเปรียบเทียบแล้ว ให้ถือว่า คดีเลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญา ถ้าผู้กระท าความผิดไม่ยินยอมให้เปรียบเทียบหรือ ยินยอมแต่ไม่ช าระเงิน ให้ด าเนินคดีต่อไป
ในวาระเริ่มแรก ให้คณะกรรมการควบคุมโรคจากการ ประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อมประกอบด้วย ประธานกรรมการและกรรมการตามมาตรา ๑๐ (๑) และ (๒) และให้อธิบดีกรมควบคุมโรคเป็นกรรมการ และเลขานุการ ปฏิบัติหน้าที่คณะกรรมการควบคุมโรค จากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อมไปพลาง ก่อนจนกว่าจะมีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตาม มาตรา ๑๐ (๓) ซึ่งต้องไม่เกินเก้าสิบวันนับแต่วันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ทั้งนี้ ให้รองอธิบดีกรม ควบคุมโรคซึ่งรับผิดชอบงานด้านโรคจากการประกอบ อาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม และผู้อ านวยการส านัก โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม เป็น ผู้ช่วยเลขานุการ
ในวาระเริ่มแรก ให้คณะกรรมการควบคุมโรคจากการ ประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อมจังหวัด ประกอบด้วยประธานกรรมการและกรรมการตาม มาตรา ๑๙ (๑) และ (๒) และให้นายแพทย์สาธารณสุข จังหวัดเป็นกรรมการและเลขานุการ ปฏิบัติหน้าที่ คณะกรรมการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและ โรคจากสิ่งแวดล้อมจังหวัดไปพลางก่อนจนกว่าจะมีการ แต่งตั้งกรรมการตามมาตรา ๑๙ (๓) (๔) (๕) และ (๖) ซึ่งต้องไม่เกินหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ทั้งนี้ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด แต่งตั้งข้าราชการส านักงานสาธารณสุขจังหวัดที่ รับผิดชอบงานด้านโรคจากการประกอบอาชีพและโรค จากสิ่งแวดล้อมจ านวนสองคนเป็นผู้ช่วยเลขานุการ
ในวาระเ ิ ร่มแรก ให้คณะกรรมการควบคุมโรคจากการ ประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานครประกอบด้วยประธานกรรมการและ กรรมการตามมาตรา ๒๐ (๑) และ (๒) และให้ ผู้อ านวยการส านักอนามัย กรุงเทพมหานคร เป็น กรรมการและเลขานุการ ปฏิบัติหน้าที่คณะกรรมการ ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจาก สิ่งแวดล้อมกรุงเทพมหานครไปพลางก่อนจนกว่าจะมี การแต่งตั้งกรรมการตามมาตรา ๒๐ (๓) (๔) (๕) และ (๖) ซึ่งต้องไม่เกินหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ทั้งนี้ ให้ผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานครแต่งตั้งข้าราชการกรุงเทพมหานครที่ รับผิดชอบงานด้านโรคจากการประกอบอาชีพและโรค จากสิ่งแวดล้อมจานวนสองคนเป็นผู้ช่วยเลขานุการ
บรรดากฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศเพื่อ ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ให้ด าเนินการให้แล้ว เสร็จภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ หากไม่สามารถด าเนินการได้ ให้รัฐมนตรีรายงาน เหตุผลที่ไม่อาจด าเนินการได้ต่อคณะรัฐมนตรี ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
「2019년 업무상 질병 및 환경성 질환 관리법」
• 국 가 ‧ 지 역: 태국 • 제 정 일: 2019년 5월 19일
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิรา ลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นปีที่ ๔ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิรา ลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยการควบคุมโรค จากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการ จ ากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๖ ประกอบ กับมาตรา ๓๒ มาตรา ๓๓ มาตรา ๓๗ และมาตรา ๔๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระท า ได้โดยอาศัยอ านาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เหตุผลและความจ าเป็นในการจ ากัดสิทธิและเสรีภาพของ บุคคลตามพระราชบัญญัตินี้ เพื่อก าหนดกลไกการเฝ้า ระวัง การป้องกัน และการควบคุมโรคจากการประกอบ อาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม โดยใช้ระบบการแจ้งข้อมูล ที่จ าเป็นเกี่ยวกับการเฝ้าระวัง การป้องกัน และการควบคุม โรคจากการประกอบอาชีพแก่ลูกจ้าง หรือโรคจาก สิ่งแวดล้อมแก่ประชาชนที่ได้รับหรืออาจได้รับมลพิษ ให้ม ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกัน โรค และก าหนดให้บุคคลที่เกี่ยวข้องมีหน้าที่แจ้งหรือ รายงานเกี่ยวกับการพบหรือมีเหตุสงสัยว่าเกิดโรคจากการ ประกอบอาชีพหรือโรคจากสิ่งแวดล้อมต่อพนักงาน เจ้าหน้าที่หรือกรมควบคุมโรค เพื่อให้สามารถด าเนินการ กับสถานการณ์การเกิดโรคดังกล่าวได้ทันท่วงที ซึ่งการตรา พระราชบัญญัตินี้สอดคล้องกับเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ใน มาตรา ๒๖ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยแล้ว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้ โดยค าแนะน าและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติท า หน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้ 마하와치라롱껀 버딘트라텝파야와랑꾼 폐하께서 재위 4번째 해인 2019년(불기 2562년) 5월 19일에 하사하셨다. 마하와치라롱껀 버딘트라텝파야와랑꾼 폐하께서는 다음과 같이 공포하게 하셨 다. 업무상 질병 및 환경성 질환 관리 관련 법률을 갖추는 것이 마땅하다. 이 법률은 개인의 권리와 자유를 제한하 는 것과 관련한 일부 조항을 포함한다. 즉, 태국 헌법의 제26조가 제32조와 제 33조, 제37조 및 제40조와 연계하여 법 률에서 규정하는 권한에 따라 이행하도 록 규정한다. 이 법에 따라 개인의 권리와 자유를 제 한하는 이유와 필요성은 적시에 업무상 질병 및 환경성 질환 발생 상황에 대처 할 수 있도록 하기 위하여 근로자에게는 업무상 질병 또는 오염에 노출되거나 노 출되었을 수 있는 국민에게는 환경성 질 환 감시와 예방 및 관리 관련 필수 정보 알림 시스템을 활용하여 건강 지원 및 질환 예방 관련 기본 지식을 제공하고, 관계자에게는 담당관 또는 질병관리국에 업무상 질병 또는 환경성 질환 발생 발 견 또는 발생 의심 사유와 관련한 신고 또는 보고 의무를 지도록 규정하여 업무 상 질병 및 환경성 질환에 대한 감시와 예방 및 관리 메커니즘을 규정하기 위한 것으로, 이 법률의 제정은 태국 헌법의 제26조에서 규정하는 조건에 부합한다. 이에 폐하께서 의회 역할을 수행하는 입 법부의 조언과 동의를 통하여 다음과 같 이 이 법을 제정하게 하셨다.
이 법은 “2019년 업무상 질병 및 환경 성 질환 관리법”이라고 한다.
이 법은 관보에 게재한 날부터 120일 이 지난 때에 시행한다.
다음 각항에 대해서는 이 법을 적용하 지 아니한다.
이 법에서 사용하는 용어의 뜻은 다음과 같다. “업무상 질병”이란 근로 또는 직업으로 인하여 발생하거나 이에서 기인한 결 과인 질환 또는 이상 증상을 말한다. “환경성 질환”이란 오염으로 인하여 발 생하거나 이에서 기인한 결과인 질환 또는 이상 증상을 말한다. “오염”이란 오염원으로부터 배출되거나 자연환경에 존재하는, 환경질 또는 국 민 건강에 위험이 될 상황에 영향을 주거나 줄 수 있는, 폐기물과 유해 물 질, 오염물 및 기타 오염물질과 아울러 찌꺼기 또는 그러한 물질의 잔여물을 말하여, 오염원에서 발생하거나 배출되 는 방사능이나 열, 빛, 소리, 냄새, 진 동 또는 기타 원인을 포함하여 말한다. “오염원”이란 오염의 근원지가 되는 공 장과 건축물, 구조물, 차량 및 기타 사 업장을 말한다. “감시”란 업무상 질병 및 환경성 질환 에 대한 체계적이고 지속적인 관찰, 수 집 및 정보 분석에서 보고 및 모니터 링까지를 말한다. “역학 조사”란 질환 예방 및 관리를 위 하여 업무상 질병 및 환경성 질환의 원인과 발원지를 탐구하기 위한 과정 을 말한다. “직업의학”이란 업무상 질병 발생의 위 험성 제시 및 평가와 위험 요인에 따 른 건강 검진, 업무에 적합한 건강 검진, 업무 복귀 전 건강 검진, 질환 감 시와 예방 및 관리와 아울러 질환의 원인 연구와 업무상 질병자의 치료 및 재활 또는 건강 회복으로 이루어지는 과정을 말한다. “환경의학”이란 환경성 질환 발생의 위 험성 제시 및 평가와 위험 요인에 따 른 건강 검진, 업무에 적합한 건강 검 진, 업무 복귀 전 건강 검진, 질환 감 시와 예방 및 관리와 아울러 질환의 원인 연구와 환경성 질환자의 치료 및 재활 또는 건강 회복으로 이루어지는 과정을 말한다. “사용자”란 근로 보호 관련 법률과 직 업 안전 보건 환경 관련 법률에 따른 사용자를 말하여, 재택근로자 보호 관 련 법률에 따른 사용자를 포함하여 말 한다. “근로자”란 근로 보호 관련 법률과 직 업 안전 보건 환경 관련 법률에 따른 근로자를 말하여, 재택 근로자 보호 관 련 법률에 따른 재택 근로자를 포함하 여 말한다. “비공식근로자”란 일거리가 있는 사람 을 말하나, 근로 보호 관련 법률, 직업 안전·보건·환경 관련 법률에 따른 사용 자 및 근로자와 재택 근로자 보호 관 련 법률에 따른 재택 근로자는 포함하 지 아니한다. “서비스단위”란 공중보건시설이나 사업 장 내에서 운영되는 건강분야부서나 서비스단위 또는 직업의학이나 환경의 학 분야의 서비스를 제공하는 기관을 말한다. “공중보건시설”이란 공공 또는 민간 보 건 시설과 태국 적십자사 및 치유 서비스단위를 말한다. “실무단”이란 업무상 질병 및 환경성 질환 관리 실무단을 말한다. “위원회”란 직업상 질환 및 환경성 질 환 관리 위원회를 말한다. “담당관”이란 장관이 이 법에 따라 집 행하도록 임명하는 사람을 말한다. “장관”이란 이 법의 주무 장관을 말한 다.
보건부 장관이 이 법을 주관하며, 이 법에 따른 집행을 위하여 담당관을 임 명하고, 부령과 규칙 및 고시를 제정하 는 권한을 갖는다. 부령과 규칙 및 고시는 관보에 게재한 때에 효력을 발생한다.
특정 사안의 질병 감시나 예방 또는 관리 원칙이나 기준에 관한 규정 관련 법률이 있는 경우에는 그에 관한 법률 의 규정을 적용하나, 불가피한 경우에 는 위원회의 승인을 통하여 장관이 해 당 사안의 업무상 질병 또는 환경성 질환에 대한 감시와 예방 및 관리 원 칙 또는 기준을 규정하여 고시하는 권 한을 갖는다.
업무상 질병 및 환경성 질환에 대한 감시와 예방 및 관리를 위하여 위원회 의 권고를 통하여 장관이 다음 각항에 대하여 규정하여 고시하는 권한을 갖 는다.
오염원의 사용자나 소유자 또는 점유 자는 제7조제(2)항 또는 제(3)항에 장 관이 고시하는 원칙과 방법 및 조건에 따라 근로자 또는 오염에 노출되거나 오염될 수 있는 국민에게 질환의 감시 와 예방 및 관리와 관련하여 필요한 정보를 고지하여야 한다.
이 법에 따른 감시나 역학 조사, 신고 또는 보고에 의한 모든 개인 정보는 비밀로 유지되어야 한다. 이 법에 따른 수행 의무가 있는 사람 은 이 법에 따른 집행 의무가 없는 사 람에게 그러한 정보를 공개하지 아니 하여야 한다. 다만, 공익을 위한 필요 성이 있는 경우에는 위원회의 조언을 통하여 장관이 고시하는 원칙과 방법 및 조건에 따라 해당 정보를 공개한다.
다음 각항으로 구성되는 “업무상 질병 및 환경성 질환 감독 위원회”라는 명칭 의 위원회를 두도록 한다.
전문위원은 다음 각항의 자격을 갖추어야 하며, 금지사항에는 해당하지 아 니하여야 한다. ㄱ. 자격 (1) 태국 국적자 (2) 만 35세 이상 ㄴ. 금지사항 (1) 파산자이거나 부정 파산 이력자 (2) 금치산자 또는 한정치산자 (3) 마약중독자 (4) 과실범 또는 경범죄에 대한 처벌 을 제외하고, 최종 판결에 의하여 금고 형에 처한 전력이 있는 사람 (5) 비정상적인 부 또는 비정상적인 재산 증가로 인하여 국고로 재산을 귀 속시키도록 하는 법원의 판결 또는 명 령을 받은 전력이 있는 사람 (6) 직무에 대한 부정이나 심각한 악 행 또는 공직에서 부패 행위 및 불법 행위를 한 것으로 간주하여 정부 또는 민간 기관에서 해임이나 해직 또는 해 고된 전력이 있는 사람 (7) 업무상 질병 및 환경성 질환을 유 발할 수 있는 사업을 운영하거나 이해 관계에 있는 사람
전문위원의 임기는 임명일부터 4년이 다. 이임한 사람은 재임명될 수 있으 나, 2회를 초과하여 연임하는 것은 불 가하다. 전문위원이 임기 만료 전 이임하는 경 우, 장관은 같은 분야에서 전문위원을 임명하여야 하며, 임명된 사람은 본인 이 대리하는 전문위원의 남은 임기 동 안 재임한다. 다만, 전문위원의 임기가 90일 미만 남은 경우에는 장관이 전문 위원 보궐 임명을 실시하지 아니할 수 있으며, 이러한 경우에는 남은 위원만 으로 위원회를 구성한다. 첫 번째 단락에 따른 임기가 만료된 때에 아직 새로운 전문위원이 임명되 지 아니하였거나, 새로 임명된 전문위 원이 취임할 때까지 해당 임기에 따라 이임하는 전문위원이 계속 직무를 수 행하기 위하여 재임한다.
첫 번째 단락에 따른 임기에 의한 이 임 이외에 전문위원은 다음 각항의 어 느 하나에 해당하는 때에 이임한다.
위원회는 다음 각항의 직무와 권한을 맡는다.
위원회의 회의에는 전체 재적 위원의 과반이 참석하여야 회의체가 성립된다. 위원회 회의에 위원장이 불참하거나 직무 수행이 불가능하다면, 회의에서 위원 1인을 회의의 의장으로 선출한다. 회의의 결정은 다수결을 따른다. 이사 1인은 1개의 투표권을 갖는다. 득표수 가 같다면 회의의 의장이 결정 투표로 1개의 표를 추가 행사한다.
위원회는 위원회가 위임하는 바에 따 른 특정 검토 또는 수행을 위한 소위 원회를 임명할 수 있다. 소위원회 회의는 제15조의 내용을 준 용한다.
이 법에 따른 직무를 수행하는 경우, 위원회 및 소위원회는 검토하는 데 참 고하기 위하여 관계자를 소환하여 사 실관계나 의견 제시 또는 필요하거나 관련된 정보 또는 서류를 제출하도록 할 수 있는 권한을 갖는다.
질병관리국이 다음 각항의 직무 및 권 한을 맡아 위원회 및 소위원회의 사무 처가 된다.
각 짱왓(도)에 다음 각항으로 구성되 는 업무상 질병 및 환경성 질환 관리 위원회를 둔다.
방콕시에 다음 각항으로 구성되는 업무상 질병 및 환경성 질환 관리 위원 회를 둔다.
짱왓(도) 업무상 질병 및 환경성 질환 관리 위원회와 방콕시 업무상 질병 및 환경성 질환 관리 위원회는 짱왓(도) 또는 방콕시 지역에서 다음 각항의 직 무 및 권한을 맡는다.
제19조제(3)항, 제(4)항, 제(5)항, 제 (6)항에 따른 위원 및 제20조제(3)항, 제(4)항, 제(5)항, 제(6)항에 따른 위 원의 임명과 임기 및 이임은 위원회가 고시하는 원칙과 절차 및 조건을 따른다.
짱왓(도) 업무상 질병 및 환경성 질환 관리 위원회 또는 방콕시 업무상 질병 및 환경성 질환 관리 위원회는 짱왓 (도) 업무상 질병 및 환경성 질환 관 리 위원회 또는 방콕시 업무상 질병 및 환경성 질환 관리 위원회가 위임하 는 바에 따른 한 가지 검토 또는 직무 수행을 위한 소위원회를 임명할 수 있 다. 첫 번째 단락에 따른 짱왓(도) 업무상 질병 및 환경성 질환 관리 위원회와 방콕시 업무상 질병 및 환경성 질환 관리 위원회 및 소위원회는 제15조의 내용을 준용한다.
직업의학 및 환경의학과 관련 조치의 편의를 위하여 장관은, 위원회의 조언 을 받아, 다음 각항에 해당하는 부령 제정권을 갖는다.
직업의학 또는 환경의학 서비스는 위 원회의 조언을 받아 장관이 고시하는 원칙과 조건에 따른 자격을 갖춘 질병 관리국 등록 서비스단위 또는 기타 국 가 기관을 통하여 제공하여야 한다. 첫 번째 단락에 따른 서비스단위는 제 24조에서 규정하는 기준에 의거하여 직업의학 또는 환경의학 서비스를 제 공하여야 한다. 등록 신청과 등록, 등록 유효 기간 및 유효 기간 연장, 대체 증서 발급과 등 록, 등록 취소 및 등록 서비스단위의 품질 평가는 부령에서 정하는 원칙과 절차 및 조건에 따른다.
업무상 질병 감시의 편의를 위하여 사 용자는 직업안전보건환경 관련 법률에 의거한 제25조에 따른 등록 서비스단 위를 통하여 직원의 건강 검진을 실시 하여야 한다.
비공식근로자의 업무상 질병 감시의 편의를 위하여 해당자는 제25조에 따 른 등록 서비스단위를 통한 건강 검진 수검권을 갖는다. 첫 번째 단락에 따른 건강 검진은 부 령에서 정하는 원칙과 절차 및 조건에 따른다.
환경성 질환 감시의 편의를 위하여 오 염원 소유자 또는 점유자는 제25조에 따른 등록 서비스단위를 통하여 오염 에 노출되었거나 노출 가능성이 잇는 국민의 건강을 감시하여야 한다. 첫 번째 단락에 따른 오염원의 종류와 규모 및 형태와 오염에 노출되었거나 노출될 수 있는 국민의 유형이나 집단 은 위원회가 고시하는 바에 따른다.
업무상 질병 및 환경성 질환 감시의 편의를 위하여 제26조나 제27조 또는 제28조에 따라 조치하는 서비스단위는 직원이나 비공식근로자의 건강 검진 또는 오염에 노출되었거나 노출 가능 성이 있는 국민의 건강 감시 자료를 담당관에게 통보하여야 한다. 담당관이 첫 번째 단락에 따른 자료를 통보받은 때에는 질병관리국과 짱왓 (도) 업무상 질병 및 환경성 질환 관 리 위원회 또는 방콕시 업무상 질병 및 환경성 질환 관리 위원회에 보고하 여야 한다. 첫 번째 단락과 두 번째 단락에 따른 조치는 위원회의 조언을 받아 장관이 고시하는 원칙과 절차 및 조건에 따른 다. 업무상 질병 및 환경성 질환 감시의 편의를 위하여, 국가 기관 또는 민간 기관은 제9조에서 규정하는 원칙과 절 차 및 조건에 의거하여 첫 번째 단락 에 따른 자료를 요청할 수 있다.
다음 각항의 어느 하나에 해당하는 사 람이 업무상 질병이자 또는 환경성 질 환자나, 해당 질환자로 의심되는 합리 적인 이유가 있는 사람을 발견하는 경 우에는 담당관에게 신고하여야 한다.
담당관이 업무상 질병이자 또는 환경 성 질환자나 질환 의심자를 발견하거 나 제30조에 따라 신고를 접수한 경우 에는 질병관리국과 짱왓(도) 업무상 질병 및 환경성 질환 관리 위원회 또 는 방콕시 업무상 질병 및 환경성 질 환 관리 위원회에 보고하여야 한다. 첫 번째 단락에 의거한 담당관의 보고 는 위원회의 조언을 받아 장관이 고시 하는 바에 따른다.
경우에 따라 짱왓(도) 업무상 질병 및 환경성 질환 관리 위원회의 승인을 받 은 도지사 또는 방콕시 업무상 질병 및 환경성 질환 관리 위원회의 승인을 받은 방콕시장은 업무상 질병 및 환경 성 질환에 대한 역학 조사와 감시, 예 방 및 관리 관련 직무 수행을 위한 실 무단을 모든 짱왓(도)과 방콕시에 하 나 이상 설치하여야 하며, 이와 관련하 여 위원회의 조언을 받아 장관이 고시 하는 바에 따른다. 첫 번째 단락에 따른 실무단은 최소한 담당관 1인과 의료 및 공중 보건 담당 자 2인으로 구성되어야 하며, 도지사 또는 방콕시장이 적당하다고 보는 인 원에 맞추어 관련 법률에 따른 담당관 또는 민간 기관 담당자를 함께 실무단 으로 위촉할 수 있다.
어떤 지역에서 업무상 질병이자 또는 업무상 질병으로 의심되는 사람을 발 견하거나, 환경성 질환자 또는 환경성 질환으로 의심되는, 제28조 두 번째 단락에 따른 오염에 노출되었거나 노 출 가능성이 있는, 국민을 발견하는 경 우 담당관은 사용자 또는 오염원의 소 유자나 점유자에게 직원 또는 오염에 노출되었거나 노출 가능성이 있는 국 민을 대상으로 진단이나 치료 또는 재 활 치료를 제공하도록 명령하여, 해당 지역의 담당관 또는 실무단이 역학 조 사를 실시한다. 첫 번째 단락에 따른 조치를 완료한 때에는 담당관이 역학 조사 보고서를 작성하고, 짱왓(도) 업무상 질병 및 환 경성 질환 관리 위원회 또는 방콕시 업무상 질병 및 환경성 질환 위원회에 제출함으로써, 질병관리국에 조치에 대 하여 보고한다. 첫 번째 단락과 두 번째 단락에 따른 역학 조사와 담당관의 명령 및 보고는 위원회의 승인을 받아 장관이 고시하 는 원칙과 절차 및 조건에 따른다.
사용자 또는 오염원 소유자나 점유자가 제33조를 준수하지 아니하였다는 사실을 담당관이 적발하는 경우 담당 관은 이 법에서 규정하는 바에 따른 조치 명령서를 해당자에게 발부할 권 한을 갖는다. 사용자 또는 오염원 소유자나 점유자 가 기한 내에 명령에 따라 이행하지 아니하는 경우 질병국장 또는 질병국 장이 위임한 사람은 담당관에게 이행 에 개입하도록 명령하고 사용자 또는 오염원 소유자나 점유자가 해당 조치 에 소요된 실제 금액에 따른 비용을 변상하도록 할 수 있다. 이와 관련하여 보건부가 정하는 규칙에 따른다. 첫 번째 단락에 따른 명령 조치는 위 원회의 승인을 통하여 장관이 고시하 는 원칙과 절차 및 조건에 따른다.
방치하는 경우 지역 내 국민의 생명이 나 신체 또는 건강에 심각한 위험을 발생시키거나 초래할 수 있는 업무상 질병 및 환경성 질환에 대한 예방 및 관리의 편의를 위하여, 질병국장 또는 짱왓(도) 업무상 질병 및 환경성 질환 관리위원회 또는 방콕시 업무상 질병 및 환경성 질환 관리 위원회의 조언을 받아 질병국장이 위임한 사람은 업무 상 질병 또는 환경성 질환에 대한 감 시나 예방 또는 관리가 필요한 지역을 고시하고, 정당한 사유가 있거나 해당 질환의 상황이 진정된 때에 고시를 취 소할 권한을 갖는다. 첫 번째 단락에 따른 지역 지정 고시 하는 경우 담당관이 해당 특정 지역에 대하여 조치하도록 하기 위하여 급속 하고 광범위한 피해를 발생시키거나 초래할 수 있는 업무상 질병 또는 환 경성 질환에 대한 감시나 예방 또는 관리와 관련한 원칙과 절차 및 조건을 정하거나 해당 지역의 상황에 적합한 다른 기준을 특정할 수 있다.
이 법에 따른 집행을 위하여 담당관은 다음 각항의 권한을 갖는다.
직무를 수행하는 경우 담당관은 관계 자에게 신분증을 제시하여야 한다. 첫 번째 단락에 따른 신분증은 장관이 고시하는 양식에 따른다.
이 법에 따른 직무 수행 시에는 담당 관은 「형법전」에 따른 담당관이 된 다.
제8조를 준수하지 아니하는 사용자 또 는 오염원의 소유자나 점유자는 5만 밧 이하의 벌금에 처한다.
제17조에 따라 위원회나 소위원회 또 는 제21조제(6)항에 따라 짱왓(도) 업 무상 질병 및 환경성 질환 관리 위원 회나 방콕시 업무상 질병 및 환경성 질환 관리 위원회 또는 제36조제(2)항 에 따라 소환장을 발부한 담당관에게 정당한 이유 없이 진술을 거부하거나, 자료, 문서 또는 증거를 제출하지 아니 하는 자는 1만 밧 이하의 벌금에 처한 다.
제25조에 따라 등록하지 아니하고 직 업의학 또는 환경의학 서비스를 제공 하는 자는 2년 이하의 징역 또는 2만 밧 이하의 벌금에 처하거나, 징역과 벌 금을 병과한다.
제24조에 따라 제정되는 부령을 위반 하거나 준수하지 아니하고 제25조에 따라 등록된 직업의학 또는 환경의학 서비스를 제공하는 자는 1년 이하의 징역 또는 1만 밧 이하의 벌금에 처하 거나, 징역 및 벌금을 병과한다.
제26조에 따른 직원 건강 검진을 제25 조에 따라 등록되지 아니한 서비스단 위에서 제공한 사용자는 5만 밧 이하 의 벌금에 처한다.
제28조에 따라 오염에 노출되었거나 노출될 수 있는 국민 건강에 대한 감 시를 실시하지 아니하는 오염원 소유 자 또는 점유자는 5만 밧 이하의 벌금 에 처한다.
정당한 이유 없이 제30조 두번 째 단 락을 준수하지 아니하거나 제30조 두 번 째 단락에 따른 신고 원칙 및 절차 를 준수하지 아니하는 사용자 또는 의 료 시설 책임자는 2만 밧 이하의 벌금 에 처한다.
제33조에 따른 담당관의 명령을 준수 하지 아니하는 사용자 또는 오염원 소 유자나 점유자는 10만 밧 이하의 벌금 에 처한다.
제35조 두 번째 단락에 따른 담당관의 직무 수행을 방해하는 자는 10만 밧 이하의 벌금에 처한다.
이 법에 따른 위법 행위자가 법인인 경우, 해당 법인의 위법 행위가 특정인 의 지휘 또는 행위에 의하여 발생하였 거나, 실행 책임자인 이사, 관리자 또 는 해당 법인의 운영 책임자가 지시 또는 행위를 하지 아니하여 발생하였 다면, 해당자는 그러한 위법 행위에 관 한 규정에 따라 처벌된다.
이 법에 따라 벌금 또는 1년 이하의 징역에 해당하는 모든 위법 행위는 위 원회가 관보에 게재하는 원칙에 따라 질병관리국장 또는 질병관리국장이 위임하는 사람이 벌금 조정 권한을 가지 며, 위법 행위자가 벌금 조정일부터 30일 이내에 부과된 액수에 따라 벌금 을 납부한 때에는 「형사소송법전」에 따라 사건이 종결된 것으로 본다. 위법 행위자가 조정에 불복하거나, 승 복하였으나 벌금을 납부하지 아니하는 경우에는 법적 후속 조치를 집행한다.
초창기 업무상 질환 및 환경성 질환 관리 위원회는 제10조제(1)항 및 제 (2)항에 따른 위원장 및 위원으로 구 성되며, 이 법의 시행일부터 90일을 초과하지 아니하는 기간 내에 제10조 제(3)항에 따른 전문위원이 임명될 때 까지는 질병통제국장이 우선 업무상 질환 및 환경성 질환 관리 위원회 위 원 겸 간사로서 직무를 수행한다. 이와 관련하여 질병통제국 부국장이 업무상 질환 및 환경성 질환 분야의 업무를 책임지며, 업무·환경질환사무처장은 간 사보가 된다.
초창기 짱왓(도) 업무상 질병 및 환경 성 질환 관리 위원회는 제19조제(1)항 및 제(2)항에 따른 위원장 및 위원으 로 구성되며, 이 법의 시행일부터 120 일을 초과하지 아니하는 기간 내에 제 19조제(3)항과 제(4)항, 제(5)항 및 제(6)항에 따른 위원 임명이 있을 때 까지는 짱왓(도) 공중보건의가 짱왓 (도) 업무상 질병 및 환경성 질환 관 리 위원회 위원 겸 간사로서 우선 직무를 수행한다. 이와 관련하여 도지사 가 업무상 질병 및 환경성 질환 분야 를 담당하는 짱왓(도)공중보건사무처 공무원 2인을 간사보로 임명한다.
초창기 방콕시 업무상 질병 및 환경성 질환 관리 위원회는 제20조제(1)항 및 제(2)항에 따른 위원장 및 위원으로 구성되며, 이 법의 시행일부터 120일 을 초과하지 아니하는 기간 내에 제19 조제(3)항과 제(4)항, 제(5)항 및 제 (6)항에 따른 위원이 임명될 때까지는 방콕시 위생사무처장이 방콕시 업무상 질병 및 환경성 질환 관리 위원회 위 원 겸 간사로서 직무를 수행한다. 이와 관련하여 시장이 방콕시 업무상 질병 및 환경성 질환 분야 담당 방콕시 공 무원 2인을 간사보로 임명한다.
이 법에 따른 집행을 위한 모든 부령 과 규칙 및 고시의 제정은 이 법의 시 행일부터 1년 이내에 완수되어야 하며, 완수가 불가한 경우 장관이 그 사유를 내각에 보고한다. 부서 대장 쁘라윳 짠오차 총리