로고

「2008년 토지개발법」

• 국가·지역: 태국 • 제 정 일: 2008년 1월 27일

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑ เป็นปีที่ ๖๓ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการ พัฒนาที่ดิน พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการ เกี่ยวกับการจ ากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่ง มาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๓ มาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย บัญญัติให้กระท าได้โดยอาศัยอ านาจตาม บทบัญญัติแห่งกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยค าแนะน าและยินยอม ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서 현 왕조의 63번째 해인 2008년(불기2551년) 1월 27일에 하사하셨다. 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서는 다음과 같이 공포하도록 하셨다. 토지 개발 관련 법률을 개정하는 것이 마땅하다. 이 법은 타이왕국헌법의 제33조 와 제41조 및 제43조와 연계하 여, 제29조가 법률의 규정에 따른 권한에 의거하여 행하도록 규 정하는 개인의 권리와 자유를 제 한하는 일부 조항을 포함하고 있다. 그러므로 국왕 폐하께서는 국가 입법의회의 조언과 승인을 통하여 다음과 같이 이 법을 제정하 도록 하셨다.

มาตรา ๑

พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติ พัฒนาที่ดิน พ.ศ. ๒๕๕๑”

มาตรา ๒

พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวัน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

มาตรา ๓

ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. ๒๕๒๖

มาตรา ๔

ในพระราชบัญญัตินี้ “การพัฒนาที่ดิน” หมายความว่า การกระท าใด ๆ ต่อดินหรือที่ดินเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและ คุณภาพของดินหรือที่ดิน หรือเพื่อเพิ่มผลผลิต ทางการเกษตรให้สูงขึ้น และหมายความรวมถึง การปรับปรุงดินหรือที่ดินที่ขาดความอุดม สมบูรณ์ตามธรรมชาติหรือขาดความอุดม สมบูรณ์เพราะการใช้ประโยชน์ และการอนุรักษ ดินและน ้าเพื่อรักษาดุลธรรมชาติหรือเพื่อความ เหมาะสมในการใช้ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม “การวางนโยบายและแผนการใช้ ที่ดิน” หมายความว่า การวางนโยบายและ แผนการใช้ที่ดินให้เหมาะสมกับสภาพของดิน และสอดคล้องกับประเภทของที่ดินที่ได้จ าแนก ไว้ “ดิน” หมายความรวมถึง หิน กรวด ทราย แร่ธาตุ น ้า และอินทรีย์วัตถุต่าง ๆ ที่เจือปนกับเนื้อดิน ด้วย “ที่ดิน” หมายความว่า ที่ดินตามประมวล กฎหมายที่ดิน “ส ามะโนที่ดิน” หมายความว่า การส ารวจ ภาวะการถือครองที่ดินอย่างละเอียด รายชื่อ เกษตรกรเกี่ยวกับการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตร ที่ อยู่อาศัย การพาณิชย์ และการอุตสาหกรรม “เศรษฐกิจที่ดิน” หมายความว่า ภาวะ ความสัมพันธ์ระหว่างประชากรกับที่ดินทางด้าน เศรษฐกิจ “เกษตรกรรม” หมายความว่า การท านา ท าไร่ ท าสวน เลี้ยงสัตว์ เลี้ยงสัตว์น ้า และกิจการอื่น ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ก าหนด โดยประกาศในราชกิจจา นุเบกษา “การชะล้างพังทลายของดิน” หมายความว่า ปรากฏการณ์ซึ่งที่ดินถูกชะล้างกัดเซาะพังทลาย ด้วยพลังงานที่เกิดจากน ้า ลม หรือโดยเหตุอื่นใด ให้เกิดการเสื่อมโทรม สูญเสียเนื้อดิน หรือความ อุดมสมบูรณ์ของดิน “การอนุรักษ์ดินและน ้า” หมายความว่า การ กระท าใด ๆ ที่มุ่งให้เกิดการระวังป้องกันรักษา ดินและที่ดิน ไม่ให้เกิดความเสื่อมโทรม สูญเสีย รวมถึงการรักษา ปรับปรุง ความอุดมสมบูรณ์ ของดินและการรักษาน ้าในดินหรือบนผิวดินให้ คงอยู่เพื่อรักษาดุลธรรมชาติให้เหมาะสมในการ ใช้ประโยชน์ที่ดินในทางเกษตรกรรม “มาตรการวิธีกล” หมายความว่า วิธีการอนุรักษ์ ดินและน ้า โดยการก่อสร้างโครงสร้างทาง วิศวกรรม โดยวิธีการไถพรวนตามแนวระดับ คัน ดินกั้นน ้า ขั้นบันไดดิน คูรับน ้าขอบเขา บ่อน ้าใน ไร่นาหรืออื่น ๆ “มาตรการวิธีพืช” หมายความว่า วิธีการอนุรักษ์ ดินและน ้า โดยวิธีการทางพืช โดยการปลูกพืช หรือใช้ส่วนใด ๆ ของพืชท าให้เป็นแถบหรือเป็น แนว หรือปกคลุมผิวดินหรืออื่น ๆ “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการ พัฒนาที่ดิน “กรรมการ” หมายความว่า กรรมการพัฒนาที่ดิน “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่ง รัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้ “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการ ตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๕

ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการพัฒนาที่ดิน” ประกอบด้วย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็น ประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ เป็นรองประธานกรรมการ เลขาธิการ คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ อธิบดีกรมการปกครอง อธิบดีกรม ควบคุมมลพิษ อธิบดีกรมชลประทาน อธิบดีกรม ที่ดิน อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี อธิบดีกรมธนา รักษ์ อธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ อธิบดีกรมป่ าไม้ อธิบดีกรมโยธาธิการและผัง เมือง อธิบดีกรมวิชาการเกษตร อธิบดีกรม ส่งเสริมการเกษตร อธิบดีกรมส่งเสริมการ ปกครองท้องถิ่น อธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์ อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่ า และพันธุ์พืช เลขาธิการส านักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม เลขาธิการส านักงานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ ผู้ทรงคุณวุฒิอีกไม่เกินห้าคน ซึ่งคณะรัฐมนตรี แต่งตั้งจากผู้ซึ่งมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และ ประสบการณ์สูง เป็นที่ประจักษ์ในด้านการ อนุรักษ์ดินและน ้า ด้านการเกษตร หรือด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาที่ดินเป็นกรรมการ ให้อธิบดีกรมพัฒนาที่ดินเป็นกรรมการและ เลขานุการ และให้อธิบดีกรมพัฒนาที่ดินแต่งตั้ง ผู้ช่วยเลขานุการได้ตามความจ าเป็น

มาตรา ๖

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการด ารงต าแหน่ง คราวละสามปี ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากต าแหน่ง ก่อนวาระ หรือในกรณีที่คณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพิ่มขึ้นในระหว่างที่ กรรมการซึ่งแต่งตั้งไว้แล้วยังมีวาระอยู่ใน ต าแหน่ง ให้ผู้ได้รับแต่งตั้งแทนต าแหน่งที่ว่าง หรือเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพิ่มขึ้นอยู่ใน ต าแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการซึ่ง ได้แต่งตั้งไว้แล้ว เว้นแต่วาระที่เหลืออยู่ไม่ถึงเก้า สิบวันจะไม่แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทนก็ ได้ เมื่อครบก าหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังไม่ มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่ ให้ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากต าแหน่งตาม วาระนั้นอยู่ในต าแหน่งเพื่อด าเนินงานต่อไป จนกว่ากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับแต่งตั้ง ใหม่เข้ารับหน้าท

มาตรา ๗

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากต าแหน่งตาม วาระอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ แต่จะด ารงต าแหน่ง ติดต่อกันเกินสองวาระมิได้ ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากต าแหน่ง ก่อนวาระ ให้คณะกรรมการประกอบด้วย กรรมการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่จนกว่าจะมีการ แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๖ วรรคสอง

มาตรา ๘

นอกจากการพ้นจากต าแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากต าแหน่งเมื่อ

(๑) ตาย

(๒) ลาออก

(๓) คณะรัฐมนตรีให้ออก เพราะบกพร่องต่อ หน้าที่ มีความประพฤติเสื่อมเสียหรือหย่อน ความสามารถ

(๔) เป็นบุคคลล้มละลาย

(๕) เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ ความสามารถ

(๖) ได้รับโทษจ าคุกโดยค าพิพากษาถึงที่สุดให้ จ าคุก เว้นแต่เป็นโทษส าหรับความผิดที่ได้ กระท าโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ

(๗) เป็นผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมือง สมาชิก สภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น กรรมการผู้ ด ารงต าแหน่งซึ่งรับผิดชอบการบริหารพรรค การเมือง ที่ปรึกษาพรรคการเมืองหรือ เจ้าหน้าที่พรรคการเมือง

มาตรา ๙

คณะกรรมการมีอ านาจและหน้าที่ ดังต่อไปนี้

(๑) ก าหนดการจ าแนกประเภทที่ดิน และ เสนอขอรับความเห็นชอบต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อให้หน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องรับ ไปปฏิบัต

(๒) วางแผนการใช้ที่ดิน การพัฒนาที่ดิน การ ก าหนดบริเวณการใช้ที่ดินและการก าหนดเขต การอนุรักษ์ดินและน ้า

(๓) ประกาศก าหนดเขตส ารวจที่ดิน และ ประกาศก าหนดเขตส ารวจการอนุรักษ์ดินและ น ้าตามมาตรา ๑๗

(๔) เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อให้ความเห็นชอบ ในการให้ความช่วยเหลือ และเยียวยาความ เดือดร้อนหรือความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นแก่ผู้ ครอบครองที่ดินตามความเหมาะสมจากการ ก าหนดบริเวณการใช้ที่ดินหรือการก าหนดเขต การอนุรักษ์ดินและน ้า

(๕) ก าหนดมาตรการเพื่อการปรับปรุงดินหรือ ที่ดิน หรือก าหนดมาตรการเพื่อการอนุรักษ์ดิน และน ้า

(๖) ให้ความเห็นหรือข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการ จัดตั้งหน่วยงานพัฒนาที่ดินระดับต่าง ๆ ขึ้นใน เขตท้องที่หนึ่งท้องที่ใดเพื่อช่วยเหลือทาง วิชาการ สาธิต และแนะน าเกษตรกรโดยตรง ในกรณีที่มาตรการเพื่อการปรับปรุงดินหรือ ที่ดิน หรือมาตรการเพื่อการอนุรักษ์ดินและน ้า ตามที่คณะกรรมการก าหนดต้องใช้วิทยาการ ซึ่งไม่อาจน าไปแนะน าเกษตรกรด้วยวิธีการ ส่งเสริมได้

(๗) ออกระเบียบ หลักเกณฑ์ วิธีการ หรือ เงื่อนไขเกี่ยวกับค าขอให้วิเคราะห์ตรวจสอบ ตัวอย่างดินหรือค าขอให้ปรับปรุงดินหรือที่ดิน หรือค าขอให้การบริการแผนที่ ข้อมูลทางแผน ที่เป็นการเฉพาะรายตามมาตรา ๒๐

(๘) ออกระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของ คณะอนุกรรมการ เพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่าง ๆ ตามที่มอบหมาย

(๙) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ก าหนดใน พระราชบัญญัตินี้หรือตามที่คณะรัฐมนตรี มอบหมาย

ในการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรานี้ คณะกรรมการ อาจมอบหมายให้กรมพัฒนาที่ดินเป็น ผู้ปฏิบัติงานหรือเตรียมข้อเสนอมายัง คณะกรรมการเพื่อพิจารณาด าเนินการต่อไปก็ได้

มาตรา ๑๐

ให้น าบทบัญญัติว่าด้วยคณะกรรมการที่มี อ านาจด าเนินการพิจารณาทางปกครองตาม กฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง มาใช้บังคับแก่การประชุมของคณะกรรมการโดย อนุโลม

มาตรา ๑๑

ในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ คณะกรรมการอาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อ พิจารณาหรือปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่ คณะกรรมการมอบหมายได้ ทั้งนี้ วิธีการปฏิบัติ หน้าที่ของคณะอนุกรรมการให้เป็นไปตาม ระเบียบที่คณะกรรมการก าหนด การประชุมของคณะอนุกรรมการให้น ามาตรา ๑๐ มาใช้บังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๑๒

รัฐมนตรีโดยค าแนะน าของคณะกรรมการมี อ านาจประกาศในราชกิจจานุเบกษาก าหนด บริเวณการใช้ที่ดินตามมาตรา ๙ (๒) และให้มี แผนที่แนบท้ายประกาศด้วย แผนที่ดังกล่าวให้ ถือเป็นส่วนหนึ่งแห่งประกาศ

มาตรา ๑๓

ในกรณีที่ปรากฏว่าบริเวณพื้นที่ใดมีลักษณะเป็น พื้นที่ลาดชันเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายของดิน หรือเสี่ยงต่อการเกิดดินถล่ม อันเกิดจากการ กระท าของผู้เข้าไปครอบครองท าประโยชน์ใน บริเวณพื้นที่ดังกล่าวโดยไม่เหมาะสม หรืออาจ เกิดขึ้นจากภัยธรรมชาติ หากปล่อยไว้ไม ด าเนินการจะเกิดการชะล้างพังทลายของดิน อย่างรุนแรงจนถึงขั้นเกิดดินถล่มสร้างความ สูญเสียแก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ให้ รัฐมนตรีโดยค าแนะน าของคณะกรรมการมี อ านาจประกาศในราชกิจจานุเบกษาก าหนดให้ พื้นที่นั้นเป็นเขตอนุรักษ์ดินและน ้า และให้มีแผน ที่แนบท้ายประกาศด้วย แผนที่ดังกล่าวให้ถือ เป็นส่วนหนึ่งแห่งประกาศ

มาตรา ๑๔

ในกรณีที่ปรากฏว่าพื้นที่ใดมีการใช้หรือท าให้เกิด การปนเปื้อนของสารเคมีหรือวัตถุอื่นใดที่จะท า ให้ที่ดินเกิดความเสื่อมโทรมต่อการใช้ประโยชน์ ทางการเกษตร ให้รัฐมนตรีโดยค าแนะน าของ คณะกรรมการมีอ านาจประกาศในราชกิจจา นุเบกษาควบคุมการใช้ที่ดินบริเวณนั้น และให้มี แผนที่แนบท้ายประกาศด้วย แผนที่ดังกล่าวให้ ถือเป็นส่วนหนึ่งแห่งประกาศ กรณีมีการปนเปื้อนเกิดขึ้น ให้ผู้กระท าการ ปนเปื้อนด าเนินการปรับปรุงที่ดินให้คืนสู่สภาพ เดิมหรือชดเชยค่าเสียหายให้แก่รัฐหรือผู้ที่ได้รับ ความเสียหาย

มาตรา ๑๕

ในการออกประกาศตามมาตรา ๑๒ มาตรา ๑๓ และมาตรา ๑๔ ให้ก าหนดมาตรการอย่างใด อย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ ไว้ในประกาศด้วย

(๑) ก าหนดมาตรการอนุรักษ์ดินและน ้า เพื่อ ลดการชะล้างพังทลายของดิน และป้องกัน การเกิดดินถล่ม โดยใช้มาตรการวิธีกล มาตรการวิธีพืช หรือมาตรการอื่นใดที่ เหมาะสม

(๒) ห้ามกระท าการใด ๆ รวมถึงการท าให้เกิด การปนเปื้อนของสารพิษที่เป็นอันตรายต่อดิน หรือท าให้สภาพที่ดินเกิดการเปลี่ยนแปลง อย่างรุนแรง

(๓) ก าหนดมาตรการอื่น ๆ ตามที่เห็นสมควร และเหมาะสมแก่สภาพพื้นที่นั้น

ในการก าหนดมาตรการตาม (๑) (๒) และ (๓) ให้ด าเนินการจัดให้มีการรับฟังความเห็นของ ประชาชนที่อาจได้รับผลกระทบจากการก าหนด มาตรการดังกล่าว

มาตรา ๑๖

ให้กรมพัฒนาที่ดินมีหน้าที่ส ารวจและวิเคราะห์ ตรวจสอบดิน หรือที่ดินเพื่อให้ทราบถึงความ อุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติ ความเหมาะสมแก่ การใช้ประโยชน์ที่ดินหรือภาวะเศรษฐกิจที่ดิน หรือเพื่อประโยชน์ในการจ าแนกประเภทที่ดิน การพัฒนาที่ดิน การก าหนดบริเวณการใช้ที่ดิน การก าหนดเขตการอนุรักษ์ดินและน ้า และการ ท าส ามะโนที่ดินเพื่อปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้ และปฏิบัติการอื่นใดตามที่ คณะกรรมการมอบหมาย ให้กรมพัฒนาที่ดินมีอ านาจหน้าที่เกี่ยวกับการ สถิติตามกฎหมายว่าด้วยสถิติในเรื่องที่เกี่ยวกับ การท าส ามะโนที่ดินเพื่อปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๑๗

เพื่อประโยชน์ในการส ารวจความอุดมสมบูรณ์ ของดินตามธรรมชาติ ความเหมาะสมแก่การใช้ ประโยชน์ที่ดิน และการก าหนดเขตการอนุรักษ์ ดินและน ้า คณะกรรมการจะจัดให้มีการส ารวจ ที่ดิน และการส ารวจเพื่อก าหนดเขตการอนุรักษ์ ดินและน ้าก็ได้ เมื่อคณะกรรมการเห็นสมควรจะส ารวจที่ดินเพื่อ ทราบความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติ ความเหมาะสมแก่การใช้ประโยชน์ที่ดิน และ ส ารวจเพื่อก าหนดเขตการอนุรักษ์ดินและน ้าใน ท้องที่ใด ให้คณะกรรมการประกาศในราชกิจจา นุเบกษาก าหนดท้องที่ที่จะด าเนินการดังกล่าว และให้มีแผนที่แนบท้ายประกาศด้วย แผนที่ ดังกล่าวให้ถือเป็นส่วนหนึ่งแห่งประกาศ

มาตรา ๑๘

ภายในเขตส ารวจความอุดมสมบูรณ์ของดินตาม ธรรมชาติ ความเหมาะสมแก่การใช้ประโยชน์ ที่ดิน และเขตส ารวจการอนุรักษ์ดินและน ้าตาม มาตรา ๑๗ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอ านาจเข้าไป ในที่ดินที่มีเจ้าของหรือผู้ครอบครองระหว่างเวลา พระอาทิตย์ขึ้นถึงพระอาทิตย์ตกเพื่อท าการเก็บ ตัวอย่างดินหรือน ้า หรือท าเครื่องหมายส ารวจไว้ ในที่ดินหรือน ้าได้ตามสมควรและเท่าที่จ าเป็น แต่ต้องแจ้งเป็นหนังสือให้เจ้าของหรือผู้ ครอบครองทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสิบห้าวัน การประกาศให้ท าเป็นหนังสือปิดไว้ ณ บริเวณ ซึ่งที่ดินนั้นตั้งอยู่ หรือที่ท าการเขตหรือที่ว่าการ อ าเภอหรือที่ท าการก านัน หรือที่ท าการแขวงซึ่ง ที่ดินนั้นตั้งอยู่ ทั้งนี้ ให้แจ้งก าหนดเวลาและการ ที่จะกระท านั้นไว้ด้วย ในการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรานี้ ให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง อ านวยความสะดวกตามสมควรและในการนี้ให้ พนักงานเจ้าหน้าที่แสดงบัตรประจ าตัวต่อผู้ที่ เกี่ยวข้อง บัตรประจ าตัวของพนักงานเจ้าหน้าที่ให้เป็นไป ตามแบบที่ก าหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๑๙

ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวล กฎหมายอาญา

มาตรา ๒๐

ผู้ใดประสงค์จะให้กรมพัฒนาที่ดินวิเคราะห์ ตรวจสอบตัวอย่างดินหรือปรับปรุงดินหรือที่ดิน หรืออนุรักษ์ดินและน ้า หรือบริการแผนที่ ข้อมูล ทางแผนที่ เว้นแต่ แผนที่หรือข้อมูลทางแผนที่ใน พื้นที่ที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงของประเทศ เป็น การเฉพาะรายให้ยื่นค าขอต่อหน่วยงานพัฒนา ที่ดินในท้องที่ซึ่งที่ดินนั้นตั้งอยู่ หากไม่มี หน่วยงานดังกล่าวให้ยื่นต่อที่ท าการเขตหรือที่ว่า การอ าเภอ การวิเคราะห์ตรวจสอบตัวอย่างดินหรือปรับปรุง ดินหรือที่ดิน หรืออนุรักษ์ดินและน ้า หรือบริการ แผนที่ หรือข้อมูลทางแผนที่ตามวรรคหนึ่ง รวมทั้งการวิเคราะห์ตรวจสอบตัวอย่างดินเพื่อ ปรับปรุงดินหรือที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมของ เกษตรกร ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขและเสียค่าใช้จ่ายตามที่ก าหนดใน กฎกระทรวง

มาตรา ๒๑

ผู้ใดฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๕ หรือขัดขวาง พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติการตามมาตรา ๑๘ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินสามเดือน หรือปรับ ไม่เกินห้าพันบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๒๒

ผู้ใดท าให้เสียหาย ท าลาย ดัดแปลง เคลื่อนย้าย หรือถอดถอนเครื่องหมายส ารวจซึ่งพนักงาน เจ้าหน้าที่ท าไว้ตามมาตรา ๑๘ โดยไม่ได้รับ อนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่ ต้องระวางโทษ จ าคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพัน บาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๒๓

บรรดากฎกระทรวงที่ออกตามพระราชบัญญัติ พัฒนาที่ดิน พ.ศ. ๒๕๒๖ ให้คงมีผลใช้บังคับ ต่อไปได้เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับบทบัญญัติแห่ง พระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ จนกว่าจะได้มี กฎกระทรวงที่ออกตามพระราชบัญญัตินี้ใช้ บังคับ

มาตรา ๒๔

ให้คณะกรรมการพัฒนาที่ดินตาม พระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. ๒๕๒๖ ซึ่ง ด ารงต าแหน่งอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัติ นี้ใช้บังคับปฏิบัติหน้าที่ไปพลางก่อนจนกว่าจะได้ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาที่ดินตาม พระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ให้ด าเนินการให้แล้ว เสร็จภายในหกสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัติ นี้ใช้บังคับ

มาตรา ๒๕

ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้และให้มีอ านาจ แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่กับออกกฎกระทรวง และประกาศเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติ นี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจา นุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตร

「2008년 토지개발법」

• 국가·지역: 태국 • 제 정 일: 2008년 1월 27일

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑ เป็นปีที่ ๖๓ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการ พัฒนาที่ดิน พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการ เกี่ยวกับการจ ากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่ง มาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๓ มาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย บัญญัติให้กระท าได้โดยอาศัยอ านาจตาม บทบัญญัติแห่งกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยค าแนะน าและยินยอม ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서 현 왕조의 63번째 해인 2008년(불기2551년) 1월 27일에 하사하셨다. 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서는 다음과 같이 공포하도록 하셨다. 토지 개발 관련 법률을 개정하는 것이 마땅하다. 이 법은 타이왕국헌법의 제33조 와 제41조 및 제43조와 연계하 여, 제29조가 법률의 규정에 따른 권한에 의거하여 행하도록 규 정하는 개인의 권리와 자유를 제 한하는 일부 조항을 포함하고 있다. 그러므로 국왕 폐하께서는 국가 입법의회의 조언과 승인을 통하여 다음과 같이 이 법을 제정하 도록 하셨다.

제1조

이 법은 “2008년 토지개발법”이 라고 한다.

제2조

이 법은 관보에 게재한 이튿날 부터 시행하도록 한다.

제3조

「1983년 토지개발법」은 폐지 하도록 한다.

제4조

이 법에서 사용하는 용어의 뜻 은 다음과 같다. “토지 개발”이란 토양 또는 토 지의 효율성 및 품질을 향상시 키거나 농업 생산성을 제고하기 위하여 행하는 토양 또는 토지 에 대한 행위를 말하여, 자연적 인 원인에 따라 비옥도가 부족 하거나, 활용으로 인하여 비옥도가 부족한 토양 또는 토지를 개량하는 것과 자연적 균형 또 는 농업을 위한 토지 활용의 적 합성을 위하여 토지 및 물을 보 전하는 것까지 포함하여 말하도 록 한다. “토지 이용 정책 및 계획 수립” 이란 토양의 상태에 적합하며 분류한 토지의 유형에 부합하도 록 토지 이용 정책 및 계획을 수립하는 것을 말한다. “토양”이란 토질에 혼합된 돌과 자갈, 모래, 광물질, 물 및 각종 유기물을 말한다. “토지”란 「토지법전」에 따른 토지를 말한다. “토지 조사”란 상세한 토지 점 유 상황, 농업, 주거, 상업 및 산업용 토지 이용과 관련한 농 민 명단 조사를 말한다. “토지 경제”란 인구와 토지 사 이의 경제적 측면에서의 관계를 말한다. “농업”이란 논농사, 밭농사, 원 예업, 축산, 수산 양식 및 농업 협동조합부 장관이 관보에 고시 하는 바에 따른 기타 업종을 말한다. “토양 침식”이란 물이나 바람 또는 기타 원인에 의하여 발생 하는 에너지에 의하여 토양이 황폐화나 토양 열화 또는 비옥 도 상실을 유발하는 침식이 되 는 것을 뜻한다. “토양 및 물 보전”이란 농업적 으로 토지를 이용하는 데에 적 합하도록 자연 균형을 유지하기 위하여 황폐화 또는 열화가 발 생하지 아니하도록 주의하여 방 지하며, 아울러 토양의 비옥도 유지와 개선 및 토양과 지표의 물을 보존하여 유지하도록 하고 자 하는 행위를 말한다. “역학적 방법”이란 공학적 구조 를 구축하여, 등고선 경작, 제 방, 흙 계단(fields terrace/ bench terrace), 산 가장자리 도 랑, 농지의 우물 또는 기타 방 법을 통하여 공학적 구조를 구 축함으로써 토양과 물을 보존하 는 방법을 말한다. “식물적 방법”이란 식물을 재배 하거나 식물을 어떠한 부분을 이용하여 대 또는 열을 이루도록 하거나 지반 또는 기타의 것 들을 뒤덮는 식물적 방법으로 토양과 물을 보존하는 방법을 말한다. “위원회”란 토지개발위원회를 말한다. “위원”이란 토지개발위원을 말 한다. “담당관”이란 이 법에 따라 집 행하도록 장관이 임명하는 사람 을 말한다. “장관”이란 이 법에 따른 주무 장관을 말한다.

제5조

농업협동조합부 장관을 위원장 으로 하고, 농업협동조합부 사 무차관을 부위원장으로 하며, 국가경제사회개발위원회 사무총 장과 행정국장, 공해관리국장, 수리국장, 토지국장, 지하자원국 장, 재무국장, 사회개발복지국 장, 산림국장, 공공사업도시계획 국장, 농업기술국장, 농업진흥국 장, 지방행정지원국장, 협동조합 지원국장, 국립공원야생동물식 물종자국장, 농지개량국장, 천연자원정책환경계획국장 및 토양 및 물 보전 분야나 농업 분야 또는 토지 관련 기타 분야에서 지식과 전문성 및 경험을 명백 하게 갖춘 사람 중에서 내각이 임명하는 5인 이하의 권위자를 위원으로 하여 구성하는 “토지 개발위원회”라는 명칭의 위원회 하나를 두도록 한다. 토지개발국장이 위원 겸 간사가 되도록 하며, 필요한 바에 따라 토지개발국장이 간사보를 임명 하도록 한다.

제6조

권위자 위원의 임기는 회당 3년 이다. 권위자 위원이 임기 만료 전 퇴 임하거나, 기존에 임명된 위원 의 재임 기간 동안 내각이 추가 로 권위자 위원을 임명하는 경 우, 보궐 임명을 받거나 추가로 권위자 위원이 되는 사람의 임 기는 기존에 임명된 위원의 잔 여 임기와 동일하게 재임하도록 한다. 다만, 잔여 임기가 90일 미만인 경우는 제외하여, 보궐 권위자 위원을 임명하지 아니할 수도 있다. 첫번째 단락의 임기에 따른 기 한이 만료된 때에, 만약 새로운 권위자 위원을 아직 임명하지 아니하였다면, 새로 임명되는 권위자 위원이 취임할 때까지 해당 임기에 따라 퇴임하는 권 위자 위원이 계속 업무를 처리 하도록 한다.

제7조

임기에 따라 퇴임하는 권위자 위원은 재임명될 수 있으나, 2회 를 초과하여 연임하는 것은 불 가하다. 권위자 위원이 임기 만료 전 퇴 임하는 경우, 제6조 두번째 단 락에 따른 권위자 위원의 임명 이 있을 때까지 전체 재적 위원 으로만 위원회를 구성하도록 한 다.

제8조

권위자 위원은 임기에 따른 퇴 임 이외에 다음 각 항에 해당하 는 때에 퇴임한다.

(1) 사망한 때

(2) 사임한 때

(3) 직무 수행 태만이나 품행 불량 또는 능력 결여로 내각이 면직한 때

(4) 파산자가 된 때

(5) 금치산자 또는 한정치산 자가 된 때

(6) 과실죄 또는 경범죄에 대 한 처벌을 제외하고, 최종 판 결에 의하여 금고형에 처하는 때

(7) 정무직 공직자나 지방 의 회 의원 또는 지방 행정가, 정 당의 행정에 책임을 맡은 위 원, 정당의 고문 또는 정당의 담당자

제9조

위원회는 다음 각 항의 권한과 직무를 담당한다.

(1) 토지 유형에 대한 분류를 정하고, 관련 직무 담당 국가 기관이 집행하도록 하기 위하 여 내각에 제출하여 승인을 요 청

(2) 토지 이용과 토지 개발, 토지 이용 구역 지정 및 토양 및 물 보전 구역 지정 계획을 수립

(3) 제17조에 따른 토지 조사 구역 지정 고시 및 토양 및 물 보전 조사 구역 지정 고시

(4) 토지 이용 구역 또는 토 양 및 물 보전 구역 지정으로 인하여 적합성에 따라 토지 점 유자에게 발생할 수 있는 곤란 이나 피해를 지원하고 구제하 는 것에 대한 승인을 위하여 내각에 제출

(5) 토양 또는 토지 개량을 위한 방법 규정 또는 토양 및 물 보전을 위한 방법 규정

(6) 위원회가 정하는 바에 따 른 토양 또는 토지 개량을 위 한 방법 또는 토양 및 물 보전 을 위한 방법이 지원 수단을 통하여 농민에게 소개할 수 없 는 지식을 활용하여야 하는 경 우, 농민에게 기술적으로 직접 지원 및 시연하고 소개하기 위 한 각 단계의 토지 개발 기관 설립과 관련하여 의견을 제공 하거나 건의

(7) 제20조에 따른 개별적인 토양 샘플 분석, 검증 신청 또 는 토양이나 토지 개량 신청 또는 지도, 지도 자료 서비스 제공 요청 관련 규칙이나 원 칙, 절차 또는 조건을 규정

(8) 위임하는 바에 따른 각종 직무 수행을 위한 소위원회의 직무 수행 관련 규칙 규정

(9) 이 법에서 규정하는 바 또는 내각이 위임하는 바에 따 른 기타 직무 수행

이 조에 따른 직무를 수행하는 경우, 위원회는 후속 조치 검토 를 위하여 토지개발국이 직무를 수행하거나 위원회에 안건을 제 출하도록 위임할 수도 있다.

제10조

행정 공무 집행 절차 관련 법률 에 따른 행정 검토 조치권이 있 는 위원회에 관한 규정을 위원 회의 회의에 준용하도록 한다.

제11조

이 법을 집행하는 데 있어 위원 회는 위원회가 위임하는 바에 따른 어떠한 한가지 검토 또는 집행을 위한 소위원회를 임명할 수도 있다. 이와 관련하여 소위 원회의 직무 수행은 위원회가 정하는 규칙을 따르도록 한다. 소위원회의 회의는 제10조를 준 용하도록 한다.

제12조

장관은 위원회의 조언을 통하여 제9조제(2)항에 따른 토지 이용 구역을 정하는 고시를 관보에 게재하는 권한이 있으며, 지도 를 고시에 별표로 첨부하도록 하고, 해당 지도는 고시의 일부 로 보도록 한다.

제13조

어떠한 지면이 부적절하게 해당 지역을 점유, 활용하는 사람의 행위 또는 자연 재해로 인하여 발생하는 토양 침식 위험 또는 토양 침강 위험이 있는 경사면 형태가 있다고 나타나는 경우, 만약 조치를 취하지 아니하고 방치한다면 국민의 생명 및 재 산 손실을 야기하는 토양 침강을 유발할 정도로 심각한 토양 침식을 초래한다면, 장관이 위 원회의 조언을 통하여 그러한 지면을 토양 및 물 보전 구역으 로 규정하는 고시를 관보에 게 재하는 권한을 갖도록 하며, 지 도를 고시에 별표로 첨부하도록 하고, 해당 지도는 고시의 일부 로 보도록 한다.

제14조

어떠한 지면에서 농업 측면의 활용에 대하여 토지에 황폐화를 초래하는 화학 물질 또는 물질 의 오염을 야기하는 이용 또는 행위가 있다고 드러나는 경우, 위원회의 조언을 통하여 장관이 해당 지역의 토지 이용을 감독 하는 고시를 관보에 게재하는 권한을 갖도록 하며, 지도를 고 시에 별표로 첨부하도록 하고, 해당 지도는 고시의 일부로 보 도록 한다. 오염이 발생하는 경우, 오염을 야기한 사람은 토지를 원상태로 회복시키는 개선 조치를 하거나 국가 또는 피해를 입은 사람에게 피해액을 보상하도록 한다.

제15조

제12조와 제13조 및 제14조에 따른 고시를 제정하는 경우, 다 음 각 항의 어느 하나에 해당하 는 방법을 고시에 규정해 두도 록 한다.

(1) 공학적 방법이나 식물적 방법 또는 적합한 기타 방법을 적용하여, 토양의 침식을 줄이 고 토양 침강을 방지하기 위한 토양 및 물 보전 방법 규정

(2) 토양에 유해한 독성물질 의 오염을 야기하거나 토지 상 태에 심각한 변화를 초래하는 행위를 포함하는 특정 행위에 대한 금지

(3) 해당 지역의 상황에 적합 하고 적절하다고 판단하는 바 에 따른 기타 방법 규정

제(1)항과 제(2)항 및 제(3)항 에 따른 방법을 규정하는 경우, 해당 방법을 규정함으로써 영향 을 받을 수 있는 국민의 의견 청취가 있도록 조치하도록 한 다.

제16조

토지개발국은 천연 비옥도 또는 토지 활용이나 경제 상황에 대 한 적합성 또는 토지 유형 분 류, 토지 개발, 토지 이용 구역 지정, 토양 및 물 보전 구역 지 정에 대하여 홍보하기 위한 토 양 또는 토지 조사 및 분석 검 증 및 이 법에 따른 집행 및 위 원회가 위임하는 바에 따른 기 타 업무 수행을 위한 토지 조사 직무를 담당하도록 한다. 토지개발국은 이 법에 따른 집 행을 위한 토지 조사와 관련한 사안에 대하여 통계 관련 법률 에 따른 통계와 관련한 권한과 직무를 담당하도록 한다.

제17조

위원회는 토지의 천연 비옥도와 토지 활용 적합성을 조사하고, 토양 및 물 보전 구역 지정의 편의를 위하여 토지와 토양 및 물 보전 구역 지정을 위한 조사 를 실시하도록 할 수도 있다. 위원회가 토지의 천연 비옥도 및 토지 활용 적합성을 알기 위 한 조사 및 특정 지방에서의 토 양 및 물 보존 구역 지정을 위 한 조사를 실시하여야 한다고 판단하는 때에 위원회는 해당 조치를 실시할 지방을 지정하는 고시를 관보에 게재하는 권한을 갖도록 하며, 지도를 고시에 별 표로 첨부하도록 하고, 해당 지 도는 고시의 일부로 보도록 한 다.

제18조

제17조에 따른 토양 비옥도 및 토지 이용 적합성 조사 구역과 토양 및 물 보전 조사 구역 내 에서는 담당관은 합당한 바에 따라 필요한만큼 토양 및 물 샘 플을 수집하거나 토양이나 물에 표식을 하기 위하여 일출 시부 터 일몰 시까지 소유자 또는 점 유자가 있는 토지에 진입할 수 있으나, 최소한 15일 전에 미리 소유자 또는 점유자에게 서면으 로 통보하여야 한다. 공고는 문 서로 작성하여 해당 토지가 위 치한 주변이나 지역 사무소 또는 군청에 게시한다. 이와 관련 하여 실행 일시 및 업무를 알리 도록 한다. 이 조에 따른 직무를 수행하는 경우, 관련인은 합당한 편의를 제공하도록 하며, 이와 관련하 여 담당관은 관련 신분증을 제 시하도록 한다. 담당관의 신분증은 부령에서 정 하는 양식을 따르도록 한다.

제19조

이 법에 따른 직무를 수행하는 경우, 담당관은 「형법전」에 따른 담당관이 되도록 한다.

제20조

토지개발국이 개별적으로 토양 샘플 분석 검증, 토양이나 토지 개량, 토양 및 물 보전, 지도 및 국가 안보 관련 지역의 토지 자 료를 제외한 지도 자료 서비스 를 하도록 하고자 하는 사람은 해당 토지가 위치한 지방의 토 지 개발 관련 기관에 신청서를 제출하도록 한다. 만약 해당 기 관이 없다면 지역 사무소 또는 군청에 제출하도록 한다. 첫번째 단락에 따른 토양 샘플 분석·검증, 토양이나 토지 개량, 토양 및 물 보전 또는 지도나 지도 자료 서비스와 아울러 토 양 또는 농민의 농지 개량을 위 한 샘플 분석은 부령에서 정하 는 바에 따른 원칙과 절차 및 조건을 따르고 비용을 납부하도 록 한다.

제21조

제15조를 준수하지 아니하거나, 제18조에 따른 직무를 수행하는 담당관을 방해하는 사람은 3개 월 이하의 금고형 또는 5천바트 이하의 벌금형에 처하거나, 금 고형과 벌금형을 병과한다.

제22조

제18조에 따라 담당관이 표시한 조사 표식을 담당관의 허가를 받지 아니하고 손상, 훼손, 변 경, 이동 또는 제거하는 사람은 1개월 이하의 금고형 또는 1천 바트 이하의 벌금형에 처하거나 금고형과 벌금형을 병과한다.

제23조

「1983년 토지개발법」에 따라 제정된 모든 부령은 이 법에 따 른 부령 제정이 있을 때까지, 이 법에 위배 또는 모순되지 아 니하는 한 계속 적용하도록 한 다.

제24조

이 법의 시행일 전에 직무를 수 행 중인 「1983년 토지개발 법」에 따른 토지개발위원회는 이 법에 따른 위원회 임명이 있 을 때까지 우선 직무를 수행하 도록 한다. 이와 관련하여 이 법의 시행일부터 60일 이내에 이행을 완료하도록 한다.

제25조

농업협동조합부 장관이 이 법에 따른 주무 장관이 되도록 하며, 이 법에 따른 집행을 위한 담당 관 임명과 부령 및 고시 제정권 갖도록 한다. 해당 부령은 관보에 게재를 완 료하였을 때 시행하도록 한다. 부서 대장 쑤라윳 쭐라논 총리