로고

พระราชบัญญัติ ส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม พ.ศ. ๒๕๔๓ 2000년 중소기업진흥법

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๓ เป็นปีที่ ๕๕ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรให้มีกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการ จ˚ากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ ของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระท˚าได้โดยอาศัยอ˚านาจ ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติข้ึน ไว้โดยค˚าแนะน˚าและยินยอมของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ 푸미폰 아둔야뎃 국왕 재위 55 년 2000 년 2 월 6 일 현재 푸미폰 아둔야뎃 국왕께서 중소기업 진흥 관련 법률을 제정하는 것 이 마땅하다고 왕명을 내리신 바 이 법에는 태국 「헌법」 제 29 조 및 제 31 조와 관련된 개인의 권리와 자유를 제 한하는 특정 조항이 포함되어 있으며 해 당 제한은 법률의 규정에 따른 경우로 한정된다. 이에 국왕께서는 의회의 조언과 동의를 받아 다음의 법률을 제정하는 바이다.

มาตรา ๑

พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติส่งเสริม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม พ.ศ. ๒๕๔๓”

มาตรา ๒

พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

มาตรา ๓

ในพระราชบัญญัตินี้ “วิสาหกิจ” หมายความว่า กิจการผลิตสินค้า กิจการ ให้บริการ กิจการค้าส่ง กิจการค้าปลีก หรือกิจการอื่น ตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา “กองทุน” หมายความว่า กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อม “องค์การเอกชน” หมายความว่า องค์การของเอกชนที่ จัดตั้งขึ้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์หรือตาม กฎหมายเฉพาะที่มีสมาชิกจ านวนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ จ านวนสมาชิกทั้งหมดเป็นวิสาหกิจขนาดกลางหรือ วิสาหกิจขนาดย่อมที่ด าเนินการในทางการอุตสาหกรรม การบริการ หรือการค้า และให้หมายความรวมถึงองค์การ เอกชนอื่นที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษาด้วย “ส านักงาน” หมายความว่า ส านักงานส่งเสริมวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการส่งเสริม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม “คณะกรรมการบริหาร” หมายความว่า คณะกรรมการ บริหารส านักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อม “ผู้อ านวยการ” หมายความว่า ผู้อ านวยการส านักงาน ส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตาม พระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๔

วิสาหกิจขนาดกลางหรือวิสาหกิจขนาดย่อม ได้แก่ วิสาหกิจที่มีจ านวนการจ้างงาน รายได้ มูลค่าสินทรัพย์ ถาวร หรือทุนจดทะเบียนที่ช าระแล้ว ตามหลักเกณฑ์ที่ ก าหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๕

ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้ มีอ านาจออกกฎกระทรวงและประกาศเพื่อปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงและประกาศนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจา นุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้

หมวด ๑ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม

มาตรา ๖

ให้มีคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อมประกอบด้วย

(๑) นายกรัฐมนตรี เป็นประธานกรรมการ

(๒) รองนายกรัฐมนตรีซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย เป็น รองประธานกรรมการ

(๓) กรรมการโดยต าแหน่ง ได้แก่ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงอุตสาหกรรม ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงแรงงาน ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ผู้อ านวยการส านัก งบประมาณ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เลขาธิการคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน และผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย

(๔) กรรมการภาคเอกชน ได้แก่ ประธานสภาเกษตรกร แห่งชาติ ประธานสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ประธานสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และประธาน สมาคมธนาคารไทย

(๕) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จ านวนสิบคนซึ่งคณะรัฐมนตรี แต่งตั้งจากผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ เกี่ยวกับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ทั้งนี้ ให้ แต่งตั้งจากผู้แทนองค์การเอกชนจ านวนเจ็ดคน โดยใน จ านวนนี้ต้องเป็นผู้ประกอบวิสาหกิจขนาดกลางหรือ วิสาหกิจขนาดย่อมในภูมิภาคอย่างน้อยสี่คน และใน ส่วนกลางอย่างน้อยหนึ่งคน

ให้ผู้อ านวยการเป็นกรรมการและเลขานุการ ในกรณีที่ไม่มีผู้ด ารงต าแหน่งกรรมการตาม (๔) หรือ (๕) หรือมีไม่ครบไม่ว่าด้วยเหตุใดให้คณะกรรมการปฏิบัติ หน้าที่ต่อไปได้ โดยให้ถือว่าคณะกรรมการประกอบด้วย กรรมการเท่าที่มีอยู่ เว้นแต่มีกรรมการตาม (๔) และ (๕) เหลืออยู่รวมกันไม่ถึงเจ็ดคน

มาตรา ๗

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะ ต้องห้ามดังต่อไปนี้

(๑) มีสัญชาติไทย

(๒) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย

(๓) ไม่เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ ความสามารถ

(๔) ไม่เคยได้รับโทษจ าคุกโดยค าพิพากษาถึงที่สุดให้ จ าคุก เว้นแต่เป็นโทษส าหรับความผิดที่ได้กระท าโดย ประมาท หรือความผิดลหุโทษ

มาตรา ๘

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระอยู่ในต าแหน่งคราวละสองปี ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากต าแหน่งก่อนวาระ หรือในกรณีที่ได้มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ เพิ่มขึ้นในระหว่างที่กรรมการซึ่งแต่งตั้งไว้แล้วยังมีวาระอยู่ ให้ผู้ได้รับแต่งตั้งให้ด ารงต าแหน่งแทนหรือเป็นกรรมการ เพิ่มขึ้นอยู่ในต าแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการ ซึ่งได้รับแต่งตั้งไว้แล้ว เมื่อครบก าหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังมิได้มีการ แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่ ให้กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากต าแหน่งตามวาระนั้นอยู่ใน ต าแหน่งเพื่อด าเนินงานต่อไปจนกว่ากรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับแต่งตั้งใหม่เข้ารับหน้าท กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากต าแหน่งตามวาระอาจ ได้รับแต่งตั้งอีกได้แต่จะด ารงต าแหน่งติดต่อกันเกินสอง วาระไม่ได้

มาตรา ๙

นอกจากการพ้นจากต าแหน่งตามวาระตามมาตรา ๘ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากต าแหน่งเมื่อ

(๑) ตาย

(๒) ลาออก

(๓) คณะรัฐมนตรีให้ออก

(๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๗

มาตรา ๑๐

การประชมุ คณะกรรมการ ตอ้ งมีกรรมการมาประชมุ ไม่ นอ้ ยกวา่ กึ่งหนงึ่ ของจา˚ นวนกรรมการทงั้ หมด จึงเป็นองค์ ประชมุ ใหป้ ระธานกรรมการเป็นประธานในที่ประชมุ ในกรณีที่ ประธานกรรมการไมม่ าประชมุ หรือไมอ่ าจปฏิบติหนา้ ที่ได้ ใหร้ องประธานกรรมการเป็นประธานในที่ประชมุ ถา้ ประธานกรรมการหรอื รองประธานกรรมการไมม่ าประชมุ หรอื ไมอ่ าจปฏิบติหนา้ ที่ได้ ใหก้ รรมการซงึ่ มาประชมุ เลอื ก กรรมการคนหนงึ่ เป็นประธานในที่ประชมุ การวินิจฉยั ชีข้ าดของที่ประชมุ ใหถ้ ือเสยี งขา้ งมาก กรรมการคนหนงึ่ ใหมีเสยี งหนงึ่ ในการลงคะแนน ถา้ คะแนนเสยี งเทา่ กนั ใหป้ ระธานในที่ประชมุ ออกเสยี ง เพิ่มขนึ้ อีกเสยี งหนงึ่ เป็นเสยี งชีข้ าด

มาตรา ๑๑

คณะกรรมการมีอ านาจและหน้าที่ ดังต่อไปนี้

(๑) ก าหนดนโยบายและแผนการส่งเสริมวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อมเพื่อเสนอขอความเห็นชอบจาก คณะรัฐมนตรี

(๒) ก าหนดลักษณะของกิจการอื่นตามมาตรา ๓ เสนอต่อ รัฐมนตรีเพื่อด าเนินการประกาศในราชกิจจานุเบกษา

(๓) ก าหนดลักษณะของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อมตามมาตรา ๔ เสนอต่อรัฐมนตรีในการออก กฎกระทรวง

(๔) เสนอรายงานเกี่ยวกับสถานการณ์วิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อมของประเทศต่อคณะรัฐมนตรี และจัด ให้มีการเผยแพร่รายงานดังกล่าวต่อสาธารณชนอย่าง น้อยปีละหนึ่งครั้ง

(๕) พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติการส่งเสริม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมตามมาตรา ๓๗

(๖) ให้ค าแนะน าแก่ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์การเอกชนที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติ ตามแผนปฏิบัติการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อมตามมาตรา ๓๗ มาตรา ๓๘ และมาตรา ๓๙

(๗) เสนอแนะมาตรการด้านการเงิน การคลัง การภาษี อากร หรือด้านอื่นเพื่อส่งเสริมการปฏิบัติตามนโยบายและ แผนการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ต่อ ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง

(๘) เสนอให้มีกฎหมาย หรือให้มีการแก้ไขเพิ่มเติมหรือ ปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม ต่อส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือ รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง

(๙) ก าหนดมาตรการเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือและ ประสานงานระหว่างส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์การเอกชนทั้งในและต่างประเทศ และ องค์กรระหว่างประเทศในการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมทั้งในประเทศและต่างประเทศ

(๙/๑) เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อก าหนดให้ส่วน ราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้องกับ การส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม จัดท า งบประมาณในส่วนที่เกี่ยวกับการส่งเสริมวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อมโดยบูรณาการร่วมกันเพื่อให้เป็นไป ในแนวทางเดียวกัน

(๑๐) ก ากับการด าเนินงานของคณะกรรมการบริหาร

(๑๑) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายก าหนดให้เป็น อ านาจหน้าที่ของคณะกรรมการ

มาตรา ๑๓

ให้คณะกรรมการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อติดตามและประเมินผลการใช้จ่ายงบประมาณ คณะกรรมการอาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการอื่นตามที่ เห็นสมควรเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง ตามที่คณะกรรมการมอบหมายได้ ให้น าความในมาตรา ๑๐ และมาตรา ๑๒ มาใช้บังคับแก่ การปฏิบัติหน้าที่ของคณะอนุกรรมการตามมาตรานี้โดย อนุโลม

มาตรา ๑๔

ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ คณะกรรมการ อาจมอบหมายให้ส านักงาน ส่วนราชการ หน่วยงานของ รัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์การเอกชน เป็นผู้ปฏิบัติการ หรือ เตรียมข้อเสนอมายังคณะกรรมการเพื่อพิจารณา ด าเนินการต่อไปได้

มาตรา ๑๕

ให้ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ ประธานอนุกรรมการ และอนุกรรมการ ได้รับเบี้ยประชุม และประโยชน์ตอบแทนอื่นตามที่รัฐมนตรีก าหนด

หมวด ๒ ส านักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อม

มาตรา ๑๖

ให้จัดตั้งส านักงานขึ้นเรียกว่า “ส านักงานส่งเสริมวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม” และให้เป็นนิติบุคคล มี วัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้

(๑) ก าหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการก าหนดประเภทและ ขนาดวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม เพื่อให้ สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคม

(๒) ก าหนดประเภทและขนาดของวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมที่สมควรได้รับการส่งเสริมรวมทั้งเสนอแนะ นโยบายและแผนการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม

(๓) ประสานและจัดท าแผนปฏิบัติการส่งเสริมวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมกับส่วนราชการ หน่วยงานของ รัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์การเอกชนที่เกี่ยวข้อง

(๓/๑) ประสานงานกับสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ทั้งใน ส่วนกลางและส่วนภูมิภาคเพื่อให้มีการจัดตั้งศูนย์บ่ม เพาะวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในการถ่ายทอด ความรู้และเทคโนโลยีในด้านต่าง ๆ ที่จ าเป็นเพื่อส่งเสริม และสนับสนุนให้มีวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมใน พื้นที่ให้เข้มแข็งและเติบโตอย่างมีประสิทธิภาพ

(๔) ศึกษาและจัดท ารายงานสถานการณ์วิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อมของประเทศ

(๕) เสนอแนะต่อคณะกรรมการเกี่ยวกับการปรับปรุง พระราชบัญญัตินี้ รวมทั้งการด าเนินการให้มีกฎหมาย ใหม่ การแก้ไขเพิ่มเติมหรือการปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับ การส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

(๖) บริหารกองทุนตามนโยบายและมติของคณะกรรมการ และคณะกรรมการบริหาร

(๗) ด าเนินงานธุรการของคณะกรรมการ คณะกรรมการ บริหาร และคณะอนุกรรมการ ซึ่งคณะกรรมการหรือคณะ กรรมการบริหารแต่งตั้ง

(๘) ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่กฎหมายก าหนดให้เป็นอ านาจ หน้าที่ของส านักงาน หรือตามที่คณะกรรมการหรือคณะ กรรมการบริหารมอบหมาย ให้ส านักงานเป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่เป็นส่วนราชการ หรือรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ หรือกฎหมายอื่น กิจการของส านักงานไม่อยู่ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายว่า ด้วยการคุ้มครองแรงงานกฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ กฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม และกฎหมายว่าด้วย เงินทดแทน

มาตรา ๑๗

ส านักงานมีอ านาจหน้าที่กระท าการต่างๆ ภายในขอบ แห่งวัตถุประสงค์ ตามที่ระบุไว้ในมาตรา ๑๖ และอ านาจ หน้าที่เช่นว่านี้ให้รวมถึง

(๑) จดัใหไ้ดม้า ถือกรรมสทิธิ์มีสทิธิครอบครองหรือมี ทรัพย์สิทธิต่าง ๆ เช่า ให้เช่า เช่าซื้อ ให้เช่าซื้อ โอนหรือรับ โอนสิทธิการเช่าหรือสิทธิการเช่าซื้อ ขายหรือจ าหน่ายโดย วิธีอื่นใดซึ่งสังหาริมทรัพย์หรืออสังหาริมทรัพย์ ตลอดจน รับทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้

(๒) กู้ยืมเงิน หรือให้กู้ยืมเงินโดยมีหลักประกันด้วยบุคคล หรือทรัพย์สิน หรือลงทุน ทั้งนี้ เพื่อการวิจัย พัฒนา และ ส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมให้มี ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นโดยรวมเท่านั้น

(๓) ให้ความอุดหนุนหรือช่วยเหลือเพื่อการส่งเสริม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

(๔) เข้าร่วมกิจการกับบุคคลอื่น หรือถือหุ้นในบริษัทจ ากัด หรือบริษัทมหาชนจ ากัดเพื่อประโยชน์แก่การส่งเสริม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

(๕) ร่วมมือกับส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์การเอกชนทั้งในและต่างประเทศ เพื่อประโยชน์ ในการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

(๖) รับค่าตอบแทนและค่าบริการในการให้บริการภายใน ขอบเขตแห่งวัตถุประสงค์ของส านักงานรวมทั้งท าความ ตกลงก าหนดเงื่อนไขเกี่ยวกับค่าตอบแทนและค่าบริการ นั้น

(๗) กระท าการอย่างอื่นบรรดาที่เกี่ยวกับหรือเนื่องในการ จัดให้ส าเร็จตามวัตถุประสงค์ของส านักงาน การกู้ยืมเงิน การให้กู้ยืมเงิน การลงทุน การให้ความ อุดหนุน การให้ความช่วยเหลือจากเงินกองทุนหรือการเข้า ร่วมกิจการหรือถือหุ้นตาม (๒) (๓) หรือ (๔) ถ้าเป็น จ านวนเงินเกินวงเงินที่คณะกรรมการบริหารก าหนดตาม มาตรา ๒๐ (๑๒) ต้องได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการก่อน

มาตรา ๑๘

ให้มีคณะกรรมการบริหารส านักงานส่งเสริมวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมประกอบด้วย

(๑) ประธานกรรมการ ซึ่งคณะกรรมการแต่งตั้งจากผู้มี ความรู้ ความเชี่ยวชาญและ ประสบการณ์เกี่ยวกับ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

(๒) กรรมการโดยต าแหน่ง ได้แก่ อธิบดีกรมการพัฒนา ชุมชน อธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการค้า อธิบดีกรมส่งเสริม การเกษตร อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ผู้แทน กระทรวงการคลัง ผู้แทนกระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ผู้แทนส านักงบประมาณ และผู้แทนส านักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน

(๓) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จ านวนเจ็ดคนซึ่ง คณะกรรมการแต่งตั้งจากผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยจ านวนสี่คนให้แต่งตั้งจากสภาเกษตรกรแห่งชาติ สภา หอการค้าแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว แห่งประเทศไทย และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย แห่งละหนึ่งคน ให้ผู้อ านวยการเป็นกรรมการและเลขานุการ ในกรณีที่ไม่มีผู้ด ารงต าแหน่งประธานกรรมการหรือ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิหรือมีไม่ครบไม่ว่าด้วยเหตุใด ให้ คณะกรรมการบริหารปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ โดยให้ถือว่า คณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วยกรรมการเท่าที่มีอยู่ เว้นแต่มีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเหลืออยู่ไม่ถึงสี่คน ในกรณีที่ไม่มีผู้ด ารงต าแหน่งประธานกรรมการตามวรรค สาม ให้กรรมการซึ่งมาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็น ประธานในที่ประชุม

มาตรา ๑๙

ให้น าความในมาตรา ๗ มาตรา ๘ และมาตรา ๙ มาใช้ บังคับแก่การด ารงต าแหน่งของประธานกรรมการและ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหาร โดย อนุโลม เว้นแต่การพ้นจากต าแหน่งตามมาตรา ๙ (๓) ให้ เป็นอ านาจของคณะกรรมการ

มาตรา ๒๐

คณะกรรมการบริหารมีอ านาจหน้าที่วางนโยบาย บริหารงาน ควบคุม ก ากับดูแลกิจการโดยทั่วไป และ รับผิดชอบซึ่งกิจการของส านักงาน อ านาจหน้าที่เช่นว่านี้ ให้รวมถึง

(๑) พิจารณาอนุมัติการด าเนินการของส านักงานตาม มาตรา ๑๖ (๑) (๒) (๓) (๔) และ (๕) เพื่อเสนอให้ คณะกรรมการพิจารณา

(๒) เสนอแนะและให้ความเห็นต่อคณะกรรมการและ รัฐมนตรีในเรื่องที่เกี่ยวกับการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม

(๓) อนุมัติแผนการด าเนินงาน แผนการเงินและ งบประมาณที่ส านักงานจะด าเนินการในแต่ละปี

(๔) ก าหนดนโยบายและควบคุมดูแลการบริหารกองทุน ของส านักงาน

(๕) พิจารณาจัดสรรเงินกองทุนเพื่อใช้ในกิจการที่ก าหนด ไว้ในมาตรา ๓๔

(๖) ออกข้อบังคับเกี่ยวกับการบัญชี และการเงินของ ส านักงาน

(๗) ออกข้อบังคับว่าด้วยการจัดแบ่งส่วนงาน การ บริหารงาน และการปฏิบัติงานของส านักงาน

(๘) ก าหนดจ านวน ต าแหน่ง ระยะเวลาจ้าง อัตรา เงินเดือน ค่าจ้าง และเงินอื่นของพนักงานและลูกจ้าง

(๙) ออกข้อบังคับว่าด้วยการบรรจุ การแต่งตั้ง การก าหนด ต าแหน่ง การก าหนดอัตราเงินเดือนหรือค่าจ้าง การเลื่อน เงินเดือนหรือค่าจ้าง การออกจากงาน วินัย การลงโทษ และการอุทธรณ์การลงโทษทางวินัย การร้องทุกข์ของ พนักงานและลูกจ้าง รวมทั้งการบริหารงานบุคคล โดยทั่วไป

(๑๐) ออกข้อบังคับว่าด้วยการคัดเลือกผู้อ านวยการ การ ปฏิบัติงานของผู้อ านวยการ และการมอบให้ผู้อื่น รักษาการแทนหรือปฏิบัติการแทนผู้อ านวยการ

(๑๑) ออกข้อบังคับว่าด้วยสวัสดิการหรือการสงเคราะห์ อื่นแก่พนักงานและลูกจ้าง

(๑๒) วางระเบียบก าหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการ กู้ยืมเงิน และการให้กู้ยืมเงิน รวมทั้งการลงทุน การให้ ความอุดหนุน หรือการให้ความช่วยเหลือจากเงินกองทุน หรือการเข้าร่วมกิจการ หรือถือหุ้น

(๑๓) วางระเบียบเกี่ยวกับอ านาจหน้าที่และวิธีการบริหาร หรือจัดการกองทุนของผู้จัดการกองทุนตามมาตรา ๓๖

(๑๔) วางระเบียบการรับและเบิกจ่ายเงินของกองทุน

(๑๕) จัดท ารายงานการรับและการจ่ายเงินของกองทุน เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการ การจัดสรรเงินกองทุนตาม (๕) และการก าหนดหรือแก้ไข เปลี่ยนแปลงระเบียบตาม (๑๒) (๑๓) และ (๑๔) เมื่อได้รับ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการแล้ว จึงให้ใช้บังคับได้

มาตรา ๒๑

คณะกรรมการบริหารมีอ านาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ เพื่อปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่คณะ กรรมการบริหารมอบหมายได้ ให้น ามาตรา ๑๐ มาใช้บังคับแก่การประชุมของ คณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการที่ คณะกรรมการบริหารแต่งตั้งโดยอนุโลม

มาตรา ๒๒

ให้ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานอนุกรรมการ และ อนุกรรมการในคณะกรรมการบริหาร ได้รับเบี้ยประชุม และประโยชน์ตอบแทนอื่นตามที่คณะกรรมการก าหนด

มาตรา ๒๓

ให้คณะกรรมการบริหารเป็นผู้แต่งตั้งผู้อ านวยการ รวมทั้ง ก าหนดเงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนของผู้อ านวยการ ทั้งนี้ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการและให้เป็นไป ตามสัญญาจ้างที่คณะกรรมการบริหารก าหนด

มาตรา ๒๔

ผู้อ านวยการต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้

(๑) เป็นผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ เกี่ยวกับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

(๒) เป็นผู้สามารถปฏิบัติงานให้แก่ส านักงานได้เต็มเวลา

(๓) ไม่เป็นข้าราชการซึ่งมีต าแหน่งหรือเงินเดือนประจ า ผู้ ด ารงต าแหน่งทางการเมือง พนักงานส่วนท้องถิ่น สมาชิก สภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น พนักงาน หรือลูกจ้างประจ า ของส านักงาน

(๔) มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๗

มาตรา ๒๕

ผู้อ านวยการมีวาระอยู่ในต าแหน่งคราวละสี่ปี ผู้อ านวยการซึ่งพ้นจากต าแหน่งตามวาระอาจได้รับ แต่งตั้งอีกได้ แต่จะด ารงต าแหน่งติดต่อกันเกินสองวาระ ไม่ได้

มาตรา ๒๖

นอกจากการพ้นจากต าแหน่งตามวาระตามมาตรา ๒๕ ผู้อ านวยการพ้นจากต าแหน่งเมื่อ

(๑) ตาย

(๒) ลาออก

(๓) คณะกรรมการบริหารให้ออกโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการ

(๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๒๔

มาตรา ๒๗

ผู้อ านวยการมีอ านาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้

(๑) บริหารกิจการของส านักงานให้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์และอ านาจหน้าที่ของส านักงานและตาม นโยบาย ข้อบังคับ ระเบียบ และมติของคณะ กรรมการบริหาร และบังคับบัญชาพนักงานและลูกจ้าง ของส านักงาน

(๒) รับผิดชอบในการจัดการและด าเนินงานของส านักงาน ตามที่คณะกรรมการบริหารมอบหมาย

(๓) วางระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของส านักงานโดย ไม่ขัดหรือแย้งกับข้อบังคับที่คณะกรรมการบริหารก าหนด

มาตรา ๒๘

ในกิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก ให้ผู้อ านวยการเป็น ผู้แทนของส านักงาน และเพื่อการนี้ ผู้อ านวยการจะมอบ อ านาจให้บุคคลใดปฏิบัติงานเฉพาะอย่างแทนก็ได้ ทั้งนี้ ตามข้อบังคับที่คณะกรรมการบริหารก าหนด

มาตรา ๒๙

ให้ส านักงานวางและถือไว้ซึ่งระบบบัญชีที่เหมาะสมแก่ กิจการ แยกตามประเภทงานส่วนที่ส าคัญ มีสมุดบัญชี แสดงรายการรับและจ่ายเงิน สินทรัพย์ และหนี้สินที่แสดง กิจการที่เป็นอยู่ตามความจริง และถูกต้องตามประเภท งาน พร้อมด้วยข้อความและหลักฐานอันเป็นที่มาของ รายการนั้น ๆ และให้มีการตรวจสอบบัญชีภายในเป็น ประจ า

มาตรา ๓๐

ให้ส านักงานจัดท างบดุล บัญชีท าการ บัญชีแสดงรายรับ และบัญชีแสดงรายจ่ายส่งผู้สอบบัญชี และให้ผู้สอบบัญชี ตรวจสอบให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันสิ้น ปีบัญชีทุกปี และให้ถือวันที่ ๓๑ ธันวาคม เป็นวันสิ้นปี บัญชี ให้ผู้สอบบัญชีที่คณะกรรมการบริหารเห็นชอบเป็นผู้สอบ บัญชีของส านักงานทุกรอบปี แล้วท ารายงานผลการสอบ บัญชีเสนอต่อคณะกรรมการบริหารเพื่อเสนอ คณะกรรมการ ให้ส านักงานตรวจเงินแผ่นดินตรวจสอบรับรองรายงานผล การตรวจสอบบัญชีตามวรรคสอง

มาตรา ๓๑

ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันสิ้นปีบัญชีทุกปี ให้ ส านักงานท ารายงานประจ าปีเสนอต่อคณะ กรรมการบริหารเพื่อเสนอคณะกรรมการ โดยแสดงงบดุล บัญชีท าการ บัญชีแสดงรายรับ และบัญชีแสดงรายจ่ายที่ ผู้สอบบัญชีรับรองว่าถูกต้องแล้ว พร้อมทั้งรายงานของ ผู้สอบบัญชีรวมทั้งแสดงผลงานของส านักงานในปีที่ล่วง มาด้วย

หมวด ๓ กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม

มาตรา ๓๒

ให้จัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งในส านักงานเรียกว่า “กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม” ประกอบด้วย

(๑) เงินทุนประเดิมที่รัฐบาลจัดสรรให้

(๒) เงินอุดหนุนที่รัฐบาลจัดสรรให้จากงบประมาณ รายจ่ายประจ าปี

(๓) เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้มอบให้เพื่อสมทบกองทุน

(๔) ดอกผลหรือรายได้ของกองทุน

(๕) เงินอื่นที่ได้รับมาเพื่อด าเนินการกองทุน เงินทุนประเดิมตาม (๑) และเงินอุดหนุนตาม (๒) นั้น รัฐบาลพึงจัดสรรให้แก่ส านักงานโดยตรงเป็นจ านวนที่ เพียงพอส าหรับค่าใช้จ่ายที่จ าเป็นในการด าเนินการตาม วัตถุประสงค์ของส านักงาน

มาตรา ๓๓

รายได้ของกองทุนและของส านักงานให้น าส่งเข้ากองทุน เพื่อใช้ในกิจการตามที่ก าหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้ โดย ไม่ต้องส่งกระทรวงการคลังตามกฎหมายว่าด้วยเงินคง คลังและกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ

มาตรา ๓๔

เงินกองทุนให้ใช้จ่ายเพื่อกิจการ ดังต่อไปนี้

(๑) ให้วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมหรือกลุ่ม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมกู้ยืมส าหรับด าเนินการ ก่อตั้ง ปรับปรุง และพัฒนากิจการของวิสาหกิจ หรือกลุ่ม วิสาหกิจนั้นให้มีประสิทธิภาพและขีดความความสามารถ เพิ่มขึ้น

(๒) ให้ความช่วยเหลือส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์การเอกชนเพื่อน าไปใช้ด าเนินงาน ตามแผนปฏิบัติการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อม

(๓) เป็นเงินช่วยเหลืออุดหนุนการด าเนินการใด ร่วม กิจการ ร่วมทุน หรือลงทุนใดที่เกี่ยวกับการก่อตั้ง การ ขยายกิจการ การวิจัย พัฒนาและการส่งเสริมวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น โดยรวม ทั้งนี้ ตามที่คณะกรรมการบริหารก าหนดโดย ความเห็นชอบของคณะกรรมการ

(๔) เป็นค่าใช้จ่ายในการด าเนินงานของส านักงานและการ บริหารกองทุน

มาตรา ๓๕

ในการพิจารณาจัดสรรเงินกองทุนตามมาตรา ๒๐ (๕) ให้ คณะกรรมการบริหารพิจารณาให้สอดคล้องกับ แผนปฏิบัติการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อมตามมาตรา ๓๗ ในกรณีเป็นการจัดสรรเงินกองทุนเพื่อให้วิสาหกิจขนาด กลาง วิสาหกิจขนาดย่อม หรือกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมกู้ยืมตามมาตรา ๓๔ (๑) ให้คณะกรรมการ บริหารพิจารณาก าหนดระยะเวลาช าระคืนเงินที่กู้ยืมจาก กองทุน อัตราดอกเบี้ย และหลักประกันตามความจ าเป็น และเหมาะสมด้วย ในกรณีเป็นการให้ความช่วยเหลือส่วนราชการ หน่วยงาน ของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์การเอกชนตามมาตรา ๓๔ (๒) ให้คณะกรรมการบริหารพิจารณาความจ าเป็นตาม แผนปฏิบัติการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อมของส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือ องค์การเอกชนนั้น โดยในส่วนของส่วนราชการ หน่วยงาน ของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจให้ค านึงถึงงบประมาณแผ่นดิน หรือเงินอุดหนุนที่ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือ รัฐวิสาหกิจนั้นได้รับการจัดสรรไว้แล้วด้วย

มาตรา ๓๖

คณะกรรมการบริหารอาจมอบหมายให้สถาบันการเงินที่มี นโยบายส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่ เห็นสมควรเป็นผู้จัดการกองทุนในเงินกองทุนส่วนที่จัดสรร ตามมาตรา ๓๔ และมาตรา ๔๒ ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะ กรรมการบริหารก าหนดโดยความเห็นชอบจาก คณะกรรมการตามมาตรา ๒๐ (๑๓) ระเบียบตามวรรคหนึ่งต้องสอดคล้องกับแผนปฏิบัติการ ส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมตามมาตรา ๓๗ และมาตรา ๓๘

หมวด ๔ แผนปฏิบัติการส่งเสริมวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม

มาตรา ๓๗

ให้ส านักงานจัดท าแผนปฏิบัติการเรียกว่า “แผนปฏิบัติ การส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม” เพื่อ ปฏิบัติตามนโยบายและแผนการส่งเสริมวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อมตามมาตรา ๑๑ (๑) เสนอต่อคณะ กรรมการบริหาร เพื่อเสนอให้คณะกรรมการให้ความ เห็นชอบ แผนปฏิบัติการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อมตามวรรคหนึ่ง เมื่อคณะกรรมการให้ความเห็นชอบ แล้ว ให้รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๓๘

แผนปฏิบัติการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อมตามมาตรา ๓๗ ให้ส านักงานจัดท าโดยการ ประสานงานกับส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือ รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้องโดยค านึงถึงผลการวิจัยและพัฒนา ตลอดจนสภาพความจ าเป็นและเงื่อนไขด้านเศรษฐกิจ และสังคมของปัญหาดังกล่าวที่ส่วนราชการ หน่วยงาน ของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจนั้นต้องด าเนินการตามอ านาจ หน้าที่ โดยอาจจัดท าเป็นแผนระยะสั้น ระยะกลาง หรือ ระยะยาว ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคตามความ เหมาะสม และควรจะต้องประกอบด้วยแผนงาน โครงการ กิจกรรม หรือมาตรการในเรื่องดังต่อไปนี้

(๑) การพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมใน ชุมชน ในภูมิภาค และในท้องถิ่นชนบทโดยค านึงถึงการใช้ ทรัพยากรในท้องถิ่นอย่างเหมาะสม

(๒) การสนับสนุนและช่วยเหลือด้านการเงินเพื่อปรับปรุง และพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมให้มี ประสิทธิภาพและขีดความสามารถเพิ่มขึ้น

(๓) การพัฒนาหรือจัดตั้งตลาดทุนหรือตลาดเงินส าหรับ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

(๔) การพัฒนาความรู้ความสามารถของผู้ประกอบการ และบุคลากรในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในด้าน การบริหาร การจัดการ การตลาด การผลิต และการ พัฒนา

(๕) การพัฒนาการจัดการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อมในด้านการจัดการ การผลิต การบริหารงานบุคคล การเงิน การตลาด ตลอดจนการจัดการเชิงประยุกต์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

(๖) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อมทั้งในด้านคุณภาพและมาตรฐาน รวมถึงการ ส่งเสริมภาพลักษณ์ การพัฒนารูปแบบ และการบรรจุ ผลิตภัณฑ์

(๗) การส่งเสริมหรือการสนับสนุนด้านการตลาด การ ขยายตลาดทั้งระดับในประเทศและต่างประเทศ

(๘) การส่งเสริม วิจัย และพัฒนา รวมทั้งการถ่ายทอด เทคโนโลยีที่ทันสมัยและเหมาะสมส าหรับวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อม ตลอดจนการผสมผสานหรือประยุกต์ เทคโนโลยีที่ทันสมัยกับภูมิปัญญาท้องถิ่น

(๙) การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับการ ประกอบวิสาหกิจ ตลอดจนการส่งเสริมพัฒนาด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ

(๑๐) การส่งเสริมเพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงและสนับสนุน ระหว่างวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมกับวิสาหกิจ ขนาดใหญ่

(๑๑) การส่งเสริมการรวมกลุ่มของวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมเพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน หรือเพื่อด าเนิน ธุรกิจร่วมกัน

(๑๒) การส่งเสริมและพัฒนาองค์การเอกชนที่มีบทบาทใน การส่งเสริมและสนับสนุนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อม

(๑๓) การจัดสิ่งอ านวยความสะดวกในการลงทุนและการ ประกอบวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

(๑๔) การให้สิทธิและประโยชน์เพื่อส่งเสริมวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อม หรือเพื่อขจัดความเสียเปรียบหรือ ความจ ากัดของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

(๑๕) การส่งเสริมสนับสนุนทางวิชาการด้านอนุรักษ์ พลังงานและสิ่งแวดล้อมและด้านสุขอนามัย

(๑๖) การปรับปรุงแก้ไขกฎ ระเบียบ ขั้นตอน วิธีการ และ วิธีปฏิบัติที่เป็นอุปสรรคและเพิ่มต้นทุนต่อวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อม

(๑๗) การสง่ เสรมิสนบั สนนุ ดา้นลิขสทิธิ์สทิธิบตัร เครื่องหมายการค้า และทรัพย์สินทางปัญญาอื่น

(๑๘) เรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการด าเนินงานเพื่อส่งเสริมให้ เกิดการจัดตั้งวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมขึ้นใหม่ ตลอดจนการช่วยเหลือวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ให้สามารถด าเนินการต่อไป หรือรวมทั้งสามารถขยาย กิจการ และแข่งขันกับกิจการอื่นทั้งในประเทศและ ต่างประเทศได้ ในการจัดท าแผนปฏิบัติการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมให้ส านักงานประสานกับองค์การเอกชน ด้วย

มาตรา ๓๙

ให้ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจที่มี หน้าที่ด าเนินการตามแผนปฏิบัติการส่งเสริมวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม รายงานผลการด าเนินงานต่อ คณะกรรมการอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง ตามแบบรายงานที่ คณะกรรมการก าหนด

มาตรา ๔๐

เพื่อให้การด าเนินการตามแผนปฏิบัติการส่งเสริมวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมตามมาตรา ๓๗ บรรลุเป้าหมาย และเพื่อประโยชน์ในการประเมินผลการด าเนินงานตาม แผนและการก าหนดแผนปฏิบัติการดังกล่าว ให้ส่วน ราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจที่มีหน้าที่ตาม แผนปฏิบัติการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อมจัดท าและรับรองสถิติข้อมูลเกี่ยวกับวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อมออกเผยแพร่ รายละเอียดของสถิติข้อมูลตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตาม แบบที่คณะกรรมการก าหนด สถิติข้อมูลที่จะท าการเผยแพร่ตามวรรคหนึ่ง ต้องเป็น สถิติข้อมูลที่แสดงภาพรวมของวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อมแต่ละสาขา เว้นแต่วิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อมที่มีส่วนได้เสียในเรื่องนั้นจะยินยอมให้เผยแพร่ สถิติข้อมูลในรายละเอียดอื่นได้ด้วย ให้ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจส่งสถิติ ข้อมูลที่จัดท าขึ้นตามวรรคหนึ่งให้ส านักงานเพื่อเก็บ รวบรวมไว้เป็นข้อมูลประกอบการจัดท านโยบายและ แผนการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม รวมถึงการจัดท ารายงานสถานการณ์และแผนปฏิบัติการ ส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมต่อไป

มาตรา ๔๑

เพื่อประโยชน์ในการจัดท าสถิติข้อมูลเกี่ยวกับวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมของส่วนราชการ หน่วยงานของ รัฐ หรือรัฐวิสาหกิจตามมาตรา ๔๐ ให้รัฐมนตรีโดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการมีอ านาจออกกฎกระทรวง ก าหนดประเภทของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม หรือกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม หรือองค์การ เอกชนที่ต้องรายงานสถิติข้อมูลต่อส่วนราชการ หน่วยงาน ของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจตามมาตรา ๔๐

หมวด ๕ การส่งเสริมและการสนับสนุนของ รัฐ

มาตรา ๔๒

วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม กลุ่มวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อม หรือองค์การเอกชน ที่ประสงค์จะ ขอรับความช่วยเหลือ ส่งเสริม หรือสนับสนุนจากกองทุน ตามมาตรา ๓๔ ให้ยื่นค าขอต่อส านักงาน หรือสถาบัน การเงินที่คณะกรรมการบริหาร โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการมอบหมายให้เป็นผู้จัดการกองทุน หรือส่วน ราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจที่คณะกรรมการ บริหารโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการมอบหมาย แล้วแต่กรณี พร้อมด้วยรายละเอียดแสดงแผนงานและ โครงการที่จะด าเนินการ การขอและการให้ความช่วยเหลือ การส่งเสริม หรือการ สนับสนุน ตลอดจนคุณสมบัติของวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม กลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม หรือองค์การเอกชนที่มีสิทธิขอความช่วยเหลือ ส่งเสริม หรือสนับสนุนตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ก าหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๔๓

ในการพิจารณาค าขอรับความช่วยเหลือ ส่งเสริม หรือ สนับสนุนตามมาตรา ๔๒ ให้ส านักงานโดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการบริหารพิจารณาจัดสรรให้สอดคล้องกับ แผนงาน โครงการ กิจกรรม หรือมาตรการตามมาตรา ๓๘ โดยค านึงถึงความเป็นไปได้และความจ าเป็นในทาง เศรษฐกิจ การเงินการลงทุน และเงินทุนหมุนเวียนของ วิสาหกิจ กลุ่มวิสาหกิจ หรือองค์การเอกชนผู้ยื่นค าขอ

มาตรา ๔๔

เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ และเพื่อ ส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมให้ มีความสามารถในการประกอบกิจการและแข่งขันกับ กิจการอื่น ให้คณะกรรมการมีอ านาจก าหนดประเภทและ ขนาดของวิสาหกิจที่คณะกรรมการเห็นว่าสมควรได้รับ สิทธิและประโยชน์ เพื่อเสนอแนะให้ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจที่มีอ านาจหน้าที่ในเรื่อง สิทธิและประโยชน์ดังกล่าว พิจารณาด าเนินการตาม อ านาจหน้าที่ของส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือ รัฐวิสาหกิจนั้น ในการเสนอแนะตามวรรคหนึ่ง ให้ระบุรายละเอียดของ สิทธิและประโยชน์ที่จะให้เพื่อเป็นการจูงใจในการ ประกอบกิจการ รวมตลอดถึงหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และ ระยะเวลาในการรับสิทธิและประโยชน์ของวิสาหกิจนั้นไว้ ด้วย

หมวด ๖ การเพิกถอนการส่งเสริมและการ สนับสนุนของรัฐ

มาตรา ๔๕

ในกรณีที่ปรากฏว่าผู้ประกอบวิสาหกิจ กลุ่มวิสาหกิจ หรือ องค์การเอกชนใดกระท าการโดยไม่สุจริต เพื่อให้วิสาหกิจ กลุ่มวิสาหกิจ หรือองค์การเอกชนของตนมีสิทธิได้รับการ ช่วยเหลือ ส่งเสริมหรือสนับสนุนตามมาตรา ๔๒ หรือ ได้รับสิทธิและประโยชน์ที่ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจที่มีอ านาจหน้าที่ก าหนดตามข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการตามมาตรา ๔๔ ให้คณะกรรมการมี อ านาจสั่งเพิกถอนการช่วยเหลือ ส่งเสริมหรือสนับสนุน รวมถึงให้สิทธิและประโยชน์ที่วิสาหกิจ กลุ่มวิสาหกิจ หรือ องค์การเอกชนได้รับตามบทบัญญัติดังกล่าวได้ไม่เกินห้า ปีนับแต่วันที่คณะกรรมการพิจารณาสั่งเพิกถอนการ ช่วยเหลือ ส่งเสริม หรือสนับสนุน และให้สิทธิและ ประโยชน์ดังกล่าว

มาตรา ๔๖

วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม กลุ่มวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อม หรือองค์การเอกชนใด มิได้รายงาน สถิติข้อมูลตามมาตรา ๔๑ อาจถูกตัดสิทธิการได้รับการ ช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน และสิทธิและประโยชน์ ตาม มาตรา ๔๒ และมาตรา ๔๔ ในกรณีที่คณะกรรมการเห็นสมควรตัดการช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน และสิทธิและประโยชน์ตามวรรคหนึ่ง ให้ส านักงานแจ้งรายชื่อวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อม กลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม หรือ องค์การเอกชนนั้น ให้ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือ รัฐวิสาหกิจที่มีหน้าที่ตามแผนปฏิบัติการส่งเสริมวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม หรือที่มีอ านาจหน้าที่ในเรื่อง สิทธิและประโยชน์ตามมาตรา ๔๔ พิจารณาด าเนินการ ตามอ านาจหน้าที่ของส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือ รัฐวิสาหกิจนั้น

มาตรา ๔๗

ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจที่ได้รับ ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการตามมาตรา ๑๑ (๕) (๖) (๗) และ (๘) และมาตรา ๔๔ หรือต้องด าเนินการตามที่ คณะกรรมการก าหนดตามมาตรา ๓๙ มาตรา ๔๐ และ มาตรา ๔๖ วรรคสอง ต้องพิจารณาด าเนินการให้เป็นไป ตามข้อเสนอแนะหรือข้อก าหนดของคณะกรรมการ ใน กรณีที่เห็นว่าไม่อาจด าเนินการตามข้อเสนอแนะหรือ ข้อก าหนดของคณะกรรมการได้ ให้รายงานประธาน กรรมการหรือผู้ซึ่งประธานกรรมการมอบหมายพิจารณา พร้อมรายละเอียดแสดงเหตุผลภายในสิบห้าวันนับแต่ วันที่ได้รับข้อเสนอแนะหรือข้อก าหนดเช่นว่านั้น หรือได้รับ แจ้งค าสั่งของคณะกรรมการ ในกรณีที่ประธานกรรมการหรือผู้ซึ่งประธานกรรมการ มอบหมายเห็นควรด าเนินการกับรายงานตามวรรคหนึ่ง ประการใด ให้น าเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาต่อไป

หมวด ๗ บทก าหนดโทษ

มาตรา ๔๘

ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามค าสั่งของคณะกรรมการตามมาตรา ๑๒ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท

บทเฉพาะกาล

มาตรา ๔๙

ในวาระเริ่มแรก ให้อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ปฏิบัติหน้าที่ในต าแหน่งกรรมการและเลขานุการใน คณะกรรมการและคณะกรรมการบริหาร และให้กรม ส่งเสริมอุตสาหกรรมด าเนินงานในหน้าที่ของส านักงาน ไปก่อนจนกว่าจะได้มีการจัดตั้งส านักงานและมีการ แต่งตั้งผู้อ านวยการ ทั้งนี้ ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับ แต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี

พระราชบัญญัติ ส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม พ.ศ. ๒๕๔๓ 2000년 중소기업진흥법

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๓ เป็นปีที่ ๕๕ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรให้มีกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการ จ˚ากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ ของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระท˚าได้โดยอาศัยอ˚านาจ ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติข้ึน ไว้โดยค˚าแนะน˚าและยินยอมของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ 푸미폰 아둔야뎃 국왕 재위 55 년 2000 년 2 월 6 일 현재 푸미폰 아둔야뎃 국왕께서 중소기업 진흥 관련 법률을 제정하는 것 이 마땅하다고 왕명을 내리신 바 이 법에는 태국 「헌법」 제 29 조 및 제 31 조와 관련된 개인의 권리와 자유를 제 한하는 특정 조항이 포함되어 있으며 해 당 제한은 법률의 규정에 따른 경우로 한정된다. 이에 국왕께서는 의회의 조언과 동의를 받아 다음의 법률을 제정하는 바이다.

제 1 조

이 법은 "「2000 년 중소기업진흥법」"이 라 한다.

제 2 조

이 법은 관보에 게재한 다음 날부터 시 행한다.

제 3 조

이 법에서 사용하는 용어의 뜻은 다음과 같다. "기업"이란 장관이 관보에 고시한 바에 따른 제품생산업, 서비스업, 도매업, 소매 업 또는 그 밖의 사업을 말한다. "기금"이란 중소기업진흥기금을 말한다. "민간기관"이란 「민상법전」 또는 전체 구성원의 과반수가 산업, 서비스 또는 무 역 분야에 종사하는 중규모 기업 또는 소규모 기업에 관한 특별법에 따라 설립 된 민간의 기관을 말하며 장관이 관보에 고시한 그 밖의 민간기관도 포함된다. "청"이란 중소기업진흥청을 말한다. "위원회"란 중소기업진흥위원회를 말한 다. "운영위원회"란 중소기업진흥청운영위원 회를 말한다. "청장"이란 중소기업진흥청의 청장을 말 한다. "장관"이란 이 법의 시행을 책임지고 통 제하는 장관을 말한다.

제 4 조

중규모 기업 또는 소규모 기업이란 부령 에서 정한 규칙에 따라 고용 수, 수익, 고정자산가치 또는 납입등록자본을 갖춘 기업이다.

제 5 조

총리는 이 법에 따른 책임을 지며 이 법 에 따라 이행하기 위한 부령과 고시를 제정할 권한이 있다.

제 1 장 중소기업진흥위원회

제 6 조

중소기업진흥위원회는 다음과 같이 구성 한다.

(1) 총리가 위원장이 된다.

(2) 총리가 지명하는 부총리가 부위원장 이 된다.

(3) 당연직 위원은 재무부장관, 농업협동 부장관, 상무부장관, 산업부장관, 내무부 차관, 노동부차관, 과학기술부차관, 산업 부차관, 예산국장, 국가경제사회개발위원 회 사무총장, 투자촉진위원회 사무총장 및 태국은행장이다.

(4) 민간 부문 위원은 국가농민협회장, 태국상공회의소협회장, 태국관광산업협회 장, 태국산업협회장 및 태국은행협회장이 다.

(5) 전문가위원은 10 명으로 구성하며 중 소기업에 관한 지식, 전문성 및 경력을 갖춘 사람 중에서 장관이 위촉한다. 7 명 은 민간기관 대표에서 위촉하고 그중 4 명 이상은 지방중소기업가로, 1 명 이상은 중앙중소기업가로 구성한다.

청장이 위원과 간사를 겸임한다. 제(4)항 또는 제(5)항에 따른 위원직을 수행할 자가 없거나 어떠한 이유로든 위 원의 수가 부족한 경우, 위원회는 현존하 는 위원의 인원수로 구성한 것으로 간주 하여 그 직무를 계속 수행한다. 다만, 제 (4)항 및 제(5)항에 따른 위원의 인원수 가 7 명 미만인 경우에는 그러하지 아니 하다.

제 7 조

전문가위원은 다음의 자격을 갖추어야 하며 결격사유가 없어야 한다.

(1) 태국 국적이어야 한다.

(2) 파산자가 아니어야 한다.

(3) 피성년후견인 또는 피한정후견인가 아니어야 한다.

(4) 징역의 확정판결을 받은 적이 없어 야 한다. 다만, 과실에 의한 범죄 또는 경범죄에 대한 처벌은 제외한다.

제 8 조

전문위원의 임기는 2 년으로 한다. 전문가위원이 임기 전에 퇴임하거나 위 촉된 위원의 임기 중에 추가로 전문가위 원을 위촉하는 경우, 보궐위원 또는 추가 로 위촉된 위원은 전임 위원의 남은 임 기 동안 위원직을 수행한다. 제 1 문단에 따라 임기가 만료되었을 때 전문가위원을 새로 위촉하지 않은 경우, 임기가 만료된 전문가위원은 후임 전문 가위원을 위촉할 때까지 해당 직을 계속 수행한다. 임기가 종료된 전문가위원은 연임할 수 있으나 2 회 이상 연임할 수 없다.

제 9 조

제 8 조에 따른 퇴임 외에 다음의 경우 전 문가위원직은 종료된다.

(1) 사망하는 경우

(2) 사임하는 경우

(3) 내각이 해촉하는 경우

(4) 제7항에 따른 자격을 갖추지 못하거 나 결격사유가 있는 경우

제 10 조

위원회 회의는 전체 위원의 과반수 출석 으로 개의한다. 위원장이 의장이 되며 위원장이 회의에 출석하지 아니하거나 직무를 수행할 수 없는 경우, 부위원장이 의장이 된다. 위 원장 또는 부위원장이 회의에 출석하지 아니하거나 직무를 수행할 수 없는 경우, 출석위원이 투표하여 1 명의 위원을 회의 를 주재할 의장으로 선출한다. 회의의 결정은 과반수 찬성으로 이루어 진다. 위원 1 명에게 하나의 표결권이 주 어지며 가부동수인 때에는 의장이 추가 로 한 표를 더 표결한다.

제 11 조

위원회는 다음의 권한과 의무가 있다.

(1) 중소기업진흥에 관한 정책과 계획을 수립하여 승인을 위해 내각에 제출한다.

(2) 관보에 고시하기 위하여 제3조에 따 른 그 밖의 사업의 특성을 정하여 장관 에게 제출한다.

(3) 부령을 제정하기 위하여 제4조에 따 른 중소기업의 특성을 정하여 장관에게 제출한다.

(4) 국가의 중소기업 현황과 관련된 보 고서를 장관에게 제출하고 최소 1 년에 1 회 이상 보고서를 대중에게 발표한다.

(5) 제 37 조에 따른 중소기업진흥실시계 획의 승인을 검토한다.

(6) 제 37 조, 제 38 조 및 제 39 조에 따 른 중소기업진흥실시계획의 이행과 관련 된 행정기관, 정부기관 또는 민간기관에 권고한다.

(7) 중소기업진흥에 관한 정책 및 계획 의 시행을 촉진하기 위하여 관련 행정기 관, 정부기관 또는 국영기업에 금융, 재 정, 세제 또는 그 밖의 분야에 관한 기준 을 권고한다.

(8) 중소기업진흥 관련 법을 제정 또는 개정하도록 관련 행정기관, 정부기관 또 는 국영기업에 제안한다.

(9) 행정기관, 정부기관, 국영기업, 국내 외 민간기관 및 국내외 중소기업진흥에 관한 국제기구 사이의 협력과 조정을 강 화하기 위한 기준을 마련하다.

(9항의1) 중소기업진흥과 관련된 행정기 관, 정부기관 또는 국영기업이 중소기업 진흥에 관한 예산을 통합 편성하여 동일 한 방침으로 운용하도록 내각에 제청한 다.

(10) 운영위원회의 업무를 감독한다.

(11) 법률에서 규정한 위원회의 권한과 의무에 따라 그 밖의 활동을 수행한다.

มาตรา ๑๒ 제 12 조

ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ คณะกรรมการ มีอ านาจเรียกบุคคลใดมาให้ถ้อยค าหรือแจ้งข้อเท็จจริง หรือให้ส่งเอกสารเพื่อประกอบการพิจารณาได้

제 12 조

이 법에 따른 직무 수행을 위하여 위원 회는 사람을 소환하여 진술하게 하거나 사실을 알리게 하거나 심의에 사용할 문 서를 제출하게 할 수 있다.

제 13 조

예산지출성과를 점검하고 평가하기 위하 여 위원회는 소위원회를 둔다. 위원회가 필요하다고 인정하는 경우, 위 원회가 위탁한 업무를 수행하거나 심의 하기 위하여 다른 소위원회를 둘 수 있 다. 소위원회의 직무 수행은 제 10 조 및 제 12 조를 준용한다.

제 14 조

이 법에 따른 직무 수행과 관련하여 위 원회는 청, 행정기관, 정부기관, 국영기업 또는 민간기관에 위탁하여 업무를 수행 하도록 하거나 제안서를 작성하여 위원 회의 심의를 받도록 할 수 있다.

제 15 조

장관이 정하는 바에 따라 위원장, 부위원 장, 위원, 소위원장 및 소위원에게 회의 수당 및 그 밖의 보수를 지급한다.

제 2 장 중소기업진흥청

제 16 조

다음의 목적을 위하여 "중소기업진흥청" 이라 하는 기관을 설립하며 법인으로 한 다.

(1) 경제 및 사회 상황에 부합하는 중소 기업의 유형과 규모를 규정하는 기준을 정한다.

(2) 중소기업진흥을 위한 정책과 계획을 제안하고 진흥 대상 중소기업의 유형과 규모를 정한다.

(3) 관련 행정기관, 정부기관, 국영기업 또는 민간기관과 중소기업진흥계획을 조 정하고 수립한다.

(3 항의 1) 지역 내 중소기업을 강화하고 효율적으로 성장하도록 촉진하며 지원하 는 데 필요한 다양한 분야의 지식 및 기 술 이전을 담당하는 중소기업보육센터를 설립하기 위하여 중앙 및 지방 교육기관 과 협력한다.

(4) 국가의 중소기업진흥 현황을 연구하 고 보고서를 작성한다.

(5) 중소기업진흥 관련 법의 신설 및 개 정을 포함하여 이 법의 개정에 관한 사 항을 위원회에 제청한다.

(6) 위원회 및 운영위원회의 정책과 의 결에 따라 기금을 운용한다.

(7) 위원회, 운영위원회 또는 위원회 및 운영위원회가 임명한 소위원회의 사무를 수행한다.

(8) 중소기업진흥청의 권한과 의무에 관 한 법률 또는 위원회 및 운영위원회가 위탁한 바에 따른 그 밖의 업무를 수행 한다. 중소기업진흥청은 예산 절차 관련 법률 또는 그 밖의 법률에 따라 행정기관 또 는 국영기업이 아닌 정부기관에 해당한 다. 중소기업진흥청의 사업은 근로자 보호 관련 법률, 근로관계 관련 법률, 사회보 장 관련 법률 및 근로자재해보상 관련 법률의 적용을 받지 아니한다.

제 17 조

청은 제16조에 따른 목적의 범위 내에서 다양한 권한과 의무를 가지며 이러한 권 한과 의무는 다음을 포함한다.

(1) 소유권 획득 및 보전, 점유권 또는 각종 재산권 보유, 임차, 임대, 임차구매, 임대구입, 임차권 및 임차구매권 양도·인 수, 동산 또는 부동산의 매각·처분, 기부 받은 재산의 인수

(2) 전반적으로 중소기업을 효율적으로 연구, 개발 및 진흥하기 위한 목적으로만 보증인이나 재산을 담보로 한 대출 또는 투자

(3) 중소기업 진흥을 위한 지원 및 지원 금 지급

(4) 중소기업 진흥의 이익을 위하여 다 른 자와의 사업 참여, 유한회사 또는 공 개유한회사의 지분 보유

(5) 중소기업 진흥을 위하여 정부기관, 국영기업, 또는 국내외 민간기관과 협업

(6) 청의 목적 범위 내에서 보수·서비스 제공료를 수령하며 보수·서비스 제공 조 건에 관한 계약을 체결

(7) 청의 목적 달성과 관련된 그 밖의 제반 활동 제(2)항, 제(3)항 또는 제(4)항에 따른 대출, 투자, 지원, 지원금 지급 또는 사업 참여 또는 지분 보유 시에는 제 20 조제 (12)항에 따라 위원회가 정한 금액의 한 도를 초과하는 경우, 위원회로부터 사전 에 승인을 받아야 한다.

제 18 조

중소기업진흥청운영위원회는 다음과 같 이 구성한다.

(1) 위원장은 중소기업에 관한 지식, 전 문성 및 경력을 갖춘 사람 중에서 위원 회가 위촉한다.

(2) 위원은 공동체개발국장, 사업개발국 장, 농업진흥국장, 산업진흥국장, 재무부 대표, 과학기술부 대표, 예산국 대표 및 투자촉진위원회 사무국 대표이다.

(3) 전문가위원은 7 명으로 구성하며 중 소기업에 관한 지식, 전문성 및 경력을 갖춘 사람 중에서 위원회가 위촉한다. 그 중 4 명은 국가농민협회, 태국 상공회의 소협회, 태국관광산업협회 및 태국산업협 회로부터 각 1 명씩 위촉한다. 청장이 위원과 간사를 겸임한다. 위원장 또는 전문가위원직을 수행할 자 가 없거나 어떠한 사유로든 위원장의 수 가 부족한 경우, 운영위원회는 현존하는 위원의 인원수로 구성한 것으로 간주하 여 그 직무를 계속 수행한다. 다만, 남아 있는 전문가위원의 인원수가 4 명 미만인 경우에는 그러하지 아니하다. 제 3 문단에 따라 위원장직을 수행할 자가 없는 경우, 출석위원이 투표하여 1 명의 위원을 회의를 주재할 의장으로 선출한 다.

제 19 조

운영위원회의 위원장직 및 전문가위원직 의 수행과 관련하여 제 7 조, 제 8 조 및 제 9 조의 규정을 준용한다. 다만, 제 9 조 제(3)항에 따른 위원직의 종료는 위원회 의 권한으로 한다.

제 20 조

운영위원회는 업무운영정책의 수립, 일반 사업의 감독관리 및 청 사업의 책임에 대한 권한과 의무를 가지며 이러한 권한 과 의무는 다음 사항을 포함한다.

(1) 위원회에 심의를 제안하기 위하여 제 16 조제(1)항, 제(2)항, 제(3)항, 제 (4)항 및 제(5)항에 따른 청의 운영에 대한 승인 검토

(2) 위원회 및 장관에게 중소기업진흥과 관련된 사항을 권고하고 의견 제출

(3) 매년 청이 시행하는 운영계획, 재정· 예산계획 승인

(4) 청의 기금정책 수립 및 기금 관리운 용

(5) 제 34 조에서 정한 사업을 위한 기금 배정 검토

(6) 청의 회계 및 재정에 관한 규정 제 정

(7) 청의 업무 분할, 업무 운영 및 업무 수행에 관한 규정 제정

(8) 직원 및 피고용인의 인원, 직위, 고 용기간, 월급, 임금 및 그 밖의 금액에 관한 결정

(9) 전반적인 인사관리를 포함하여 직원 및 피고용인의 채용, 임명, 직위 결정, 월 급 또는 임금 비율 결정, 월급 또는 급여 인상, 해고, 처분, 징계, 징계처분에 대한 이의제기, 진정에 관한 규정 제정

(10) 청장의 선정, 청장의 직무 수행, 청 장의 대행인 또는 대리수행인 위임에 관 한 규정 제정

(11) 직원 및 피고용인의 복지 및 그 밖 의 지원에 관한 규정 제정

(12) 투자, 기금의 보조금 또는 지원 제 공, 사업 참여, 주식 보유를 포함하여 대 출에 대한 규칙, 조건과 절차에 관한 규 칙 제정

(13) 제 36 조에 따른 기금관리자의 기금 운용 또는 관리에 대한 권한, 의무 및 방 법에 관한 규칙 제정

(14) 기금의 출납에 관한 규칙 제정

(15) 위원회에 제출하기 위하여 기금의 수입 및 지출보고서 작성 제(5)항에 따른 기금의 배정과 제(12) 항, 제(13)항 및 제(14)항에 따른 규칙 의 제정 또는 개정은 위원회의 승인을 받아 실시할 수 있다.

제 21 조

운영위원회는 소위원회를 설치하여 운영 위원회가 위탁하는 업무를 수행하도록 할 수 있다. 운영위원회 및 운영위원회가 임명한 소 위원회의 회의에는 제 10 조를 준용한다.

제 22 조

운영위원회의 위원장, 위원, 소위원장 및 소위원에게 위원회가 정한 바에 따라 회 의 수당 및 그 밖의 보수를 지급한다.

제 23 조

운영위원회는 위원회의 동의를 받아 청 장을 위촉하고 청장의 월급과 보수를 결 정하며 이는 운영위원회가 정한 고용계 약에 따른다.

제 24 조

청장은 다음의 자격을 갖추어야 하며 결 격사유가 없어야 한다.

(1) 중소기업에 관한 지식, 전문성 및 경 력을 갖추어야 한다.

(2) 청에서 상근직으로 근무하여야 한다.

(3) 직위를 갖거나 고정급을 받는 공무 원, 정치인, 지방공무원, 지방의회의원, 지방행정관, 청의 피고용인 또는 정규직 직원이 아니어야 한다.

(4) 제7조에 따른 자격을 갖추고 결격사 유에 해당하지 않아야 한다.

제 25 조

청장의 임기는 4 년으로 한다. 임기에 따라 퇴임한 청장은 재임명될 수 있으나, 2 회를 초과하여 연임할 수 없다.

제 26 조

제25조에 따른 청장직의 종료 외에 다음 의 경우 청장직은 종료된다.

(1) 사망하는 경우

(2) 사임하는 경우

(3) 운영위원회가 위원회의 동의를 받아 해촉하는 경우

(4) 제 24 항에 따른 자격을 갖추지 못하 거나 결격사유가 있는 경우

제 27 조

청장은 다음의 권한과 의무가 있다.

(1) 청의 목적과 권한·의무, 운영위원회 의 정책, 규정, 규칙 및 의결에 따라 청 의 사무를 운영하고 청의 직원 및 피고 용인을 통솔한다.

(2) 운영위원회가 위탁한 바에 따라 청 업무의 관리 및 수행을 책임진다.

(3) 운영위원회가 제정한 규정에 모순되 거나 저촉되지 아니하는 범위에서 청의 업무 수행과 관련한 규칙을 제정한다.

제 28 조

외부인과 관련된 사업에 있어 청장은 청 의 대리인이 되며 이를 위해 청장은 운 영위원회가 제정한 규정에 따라 자신을 대신하여 특정 업무를 수행하도록 다른 사람에게 권한을 위임할 수 있다.

제 29 조

청은 사업에 적합한 회계시스템을 마련 및 유지하고 주요 업무 유형에 따라 분 류하며 업무 유형에 따라 사업의 정확하 고 실제적인 상태를 나타내는 자금, 자산 및 부채에 관한 출납 회계장부와 더불어 해당 내역의 출처에 관한 내역서와 증거 를 구비하여야 한다. 또한 정기적으로 내 부회계감사를 실시하여야 한다.

제 30 조

청은 대차대조표, 운용계정, 수입 및 지 출계정을 작성하여 회계감사인에게 제출 하여야 한다. 회계감사인은 매년 회계연 도가 끝나는 날부터 120 일 이내에 감사 를 완료하여야 하며 12 월 31 일을 회계 연도가 끝나는 날로 본다. 운영위원회가 동의한 회계감사인이 매년 청의 회계를 감사하며 위원회에 제출할 수 있도록 회계감사결과 보고서를 작성 하여 운영위원회에 제출한다. 감사원 사무처는 제 2 문단에 따른 회계감 사결과 보고서를 조사하고 인증하여야 한다.

제 31 조

청은 회계연도가 끝나는 날부터 180 일 이내에 위원회에 제출할 수 있도록 회계 감사인의 보고서와 지난 해 청의 실적과 함께 회계감사인이 인증한 대차대조표, 운용계정, 수입 및 지출계정을 명시하여 연례보고서를 작성하고 운영위원회에 제 출하여야 한다.

제 3 장 중소기업진흥기금

제 32 조

"중소기업진흥기금"이라 하는 기금을 청 에 설치하며 다음과 같이 구성한다.

(1) 정부가 배당한 초기자금

(2) 세출예산에서 정부가 배당한 보조금

(3) 기금에 출연하기 위하여 기부한 자 금 또는 재산

(4) 기금의 수익금 또는 수입금

(5) 기금 운용을 위해 수령한 그 밖의 자금 제(1)항에 따른 초기자금 및 제(2)항에 따른 보조금은 정부가 청의 목적에 따른 운영에 필요한 비용을 충분한 금액으로 공단에 직접 배당한다.

제 33 조

기금 및 청의 수입은 이 법에서 정한 바 에 따른 사업에 사용하기 위하여 기금에 적립하며 국고준비금 관련 법률 및 예산 절차 관련 법률에 따라 재무부로 이전하 지 아니한다.

제 34 조

기금은 다음의 사업을 위하여 사용한다.

(1) 중소기업 또는 중소기업그룹의 효율 성과 역량을 강화하기 위하여 해당 기업 또는 그룹의 설립, 개선 및 사업 발전에 대한 대출

(2) 중소기업진흥실시계획에 따른 운영 에 사용하기 위하여 행정기관, 정부기관 국영기업 또는 민간기관에 대한 지원

(3) 위원회의 동의를 받아 운영위원회가 정한 바에 따라 중소기업의 전반적인 효 율성을 증진하기 위한 설립, 사업 확장, 연구, 개발 및 진흥과 관련한 운영, 합병, 합작 또는 그 밖의 투자에 대한 지원금

(4) 청의 운영경비 및 기금 운용비

제 35 조

운영위원회는 제 20 조제(5)항에 따른 기 금 배당에 관하여 제37조에 따른 중소기 업진흥실시계획과 부합하도록 검토한다. 제 34 조제(1)항에 따라 중규모 기업, 소 규모 기업 또는 중소기업그룹에 대출해 주기 위하여 기금을 배정하는 경우, 운영 위원회는 필요에 따라 적정한 상환기간, 금리 및 보증에 대하여 검토하여 정한다. 제 34 조제(2)항에 따라 행정기관, 정부기 관, 국영기업 또는 민간기업에 지원을 제 공하는 경우, 운영위원회는 행정기관, 정 부기관 또는 국영기업이 이미 배정받은 국가예산이나 보조금을 고려하여 해당 행정기관, 정부기관, 국영기업 또는 민간 기관의 중소기업진흥실시계획에 따른 필 요성에 대하여 검토한다.

제 36 조

운영위원회는 합리적인 중소기업진흥정 책을 갖춘 금융기관을 제 34 조 및 제 42 조에 따라 배정된 기금의 자금을 관리하 는 기금 관리자로 위탁할 수 있다. 이는 제 20 조제(13)항에 따라 위원회의 동의 를 받아 운영위원회가 제정하는 규칙에 따른다. 제 1 문단에 따른 규칙은 제 37 조 및 제 38 조에 따른 중소기업진흥실시계획에 부 합하여야 한다.

제 4 장 중소기업진흥실시계획

제 37 조

청은 제 11 조제(1)항에 따라 중소기업진 흥정책과 계획에 따라 수행하기 위하여 이사회에 승인을 제안하기 위한 "중소기 업진흥실시계획"이라 하는 시행계획을 수 립하여 운영위원회에 제출한다. 제 1 문단에 따른 중소기업진흥실시계획은 위원회가 승인한 후 장관이 관보에 고시 한다.

제 38 조

제 37 조에 따른 중소기업진흥실시계획은 공단이 연구 및 개발 결과뿐만 아니라 해당 행정기관, 정부기관 또는 국영기업 이 권한과 의무에 따라 다루어야 하는 문제의 경제적·사회적 필요성 및 여건을 고려하여 관련 행정기관, 정부기관 또는 국영기업과 조정하여 수립한다. 중앙 및 지방의 단기, 중기 또는 장기계획으로 수 립할 수 있으며 다음 사항에 대한 업무 계획, 정책, 활동 또는 기준을 포함하여 야 한다.

(1) 지역자원의 적절한 사용을 고려하여 공동체, 지방, 농촌지역의 중소기업 개발

(2) 중소기업의 효율적 개선과 발전 및 역량 강화를 위한 재정적 지원과 후원

(3) 중소기업을 위한 자본시장 또는 금 융시장의 개발과 설립

(4) 운영, 경영, 마케팅, 생산 및 개발에 관한 중소기업가 및 직원의 지식과 능력 개발

(5) 경영, 생산, 인사관리, 금융, 마케팅 및 그 밖의 관련 응용경영 분야의 중소 기업 경영 개발

(6) 이미지 제고, 디자인 개발과 제품포 장을 포함하여 품질과 기준을 충족하는 중소기업의 제품 개발

(7) 국내외 차원의 마케팅 및 시장 확대 에 대한 진흥 또는 지원

(8) 중소기업에 적합한 첨단기술의 이전 을 포함하여 진흥, 연구, 개발과 첨단기 술을 지역적 지혜와 통합 또는 응용

(9) 기업경영과 관련된 정보 지원 및 정 보기술의 개발 촉진

(10) 중소기업과 대기업 사이의 연계 및 지원을 창출하기 위한 촉진

(11) 상호 간의 협력 또는 공동사업 운 영을 위한 중소기업의 통합 촉진

(12) 중소기업을 진흥하고 지원하는 역 할을 하는 민간기관의 진흥 및 발전

(13) 중소기업 투자 및 운영 시설 제공

(14) 중소기업 진흥 또는 중소기업의 불 이익이나 한계를 없애기 위한 권리 및 혜택 제공

(15) 에너지와 환경 보존 및 위생 분야 의 학술적 지원 촉진

(16) 중소기업에 장애가 되고 비용을 증 가시키는 법률, 규칙, 과정, 절차 및 관행 의 변경

(17) 저작권, 특허, 상표 및 그 밖의 지 식재산에 대한 지원 촉진

(18) 중소기업의 사업 지속 또는 사업 확장 및 국내외 다른 기업과의 경쟁을 위한 지원을 포함하여 중소기업의 신설 을 촉진하기 위한 그 밖의 운영에 관한 사항 중소기업진흥실시계획에 있어 청은 민간 기관과 조정하여 수립한다.

제 39 조

중소기업진흥실시계획에 따라 시행할 의 무가 있는 행정기관, 정부기관 또는 국영 기업은 최소 일 년에 1 회 위원회가 정한 보고양식에 따라 위원회에 시행결과를 보고한다.

제 40 조

제 37 조에 따른 중소기업진흥실시계획의 목적 달성과 실행성과의 평가 및 실행계 획의 수립을 위하여 중소기업진흥실시계 획에 따라 이행할 의무가 있는 행정기관, 정부기관 또는 국영기업은 중소기업과 관련한 통계자료를 작성 및 인증하여 발 표한다. 제 1 문단에 따른 통계자료의 세부사항은 위원회가 정한 양식에 따른다. 제 1 문단에 따라 발표한 통계자료는 각 분야의 중소기업에 대한 전반적인 사항 을 나타내는 자료여야 한다. 다만, 해당 사안과 이해관계가 있는 중소기업이 그 밖의 세부사항에 대한 통계자료를 발표 하는 것에 동의하는 경우에는 그러하지 아니하다. 행정기관, 정부기관 또는 국영기업은 제 1 문단에 따라 작성한 통계자료를 청에 송부하여 중소기업진흥정책 및 계획 수 립을 위한 자료로 보관하고 중소기업 시 행계획 및 현황보고서를 작성한다.

제 41 조

제 40 조에 따라 행정기관, 정부기관 또는 국영기업의 중소기업에 관한 통계자료 작성을 위하여 장관은 위원회의 동의를 받아 제 40 조에 따른 행정기관, 정부기관 또는 국영기업에 통계자료를 보고하여야 하는 중소기업, 중소기업그룹 또는 민간 기관 유형의 결정에 관한 부령을 제정할 권한이 있다.

제 5 장 정부의 육성 및 지원

제 42 조

제 34 조에 따라 기금으로부터 원조, 육성 또는 지원을 받으려는 중소기업, 중소기 업그룹 또는 민간기관은 경우에 따라 청 또는 운영위원회가 위원회의 승인을 받 아 기금관리자로 위탁한 금융기관 또는 운영위원회가 위원회의 동의를 받아 위 탁한 행정기관, 정부기관 또는 국영기업 에 운영할 업무계획 및 정책의 세부사항 과 함께 신청서를 제출한다. 제 1 문단에 따라 원조, 육성 또는 지원을 신청할 권리가 있는 중소기업, 중소기업 그룹 또는 민간기관의 자격을 포함하여 원조, 육성 또는 지원의 신청 및 이에 대 한 제공은 부령에서 정한 규칙, 절차 및 조건에 따른다.

제 43 조

제 42 조에 따른 원조, 육성 또는 지원 신 청에 대한 승인은 청이 위원회의 동의를 받아 신청한 기업, 기업그룹 또는 민간기 관의 경제적 가능성과 필요성, 투자자금 및 유동자금을 고려하여 제 38 조에 따른 업무계획, 정책, 활동 또는 기준에 부합 하도록 검토한다.

제 44 조

국가경제 발전 및 중소기업의 사업경영 능력과 다른 기업과의 경쟁력을 촉진하 고 개발하기 위하여 위원회는 권리와 혜 택을 받을 자격이 있다고 인정하는 기업 의 유형과 규모를 정할 권한이 있으며 이를 해당 권리 및 혜택에 관한 사항을 담당하는 행정기관, 정부기관 또는 국영 기업에 제안하여 권한과 의무에 따른 조 치를 검토하도록 한다. 제 1 문단에 따른 제안에는 해당 기업이 권리와 혜택을 받을 수 있는 기준, 조건 과 기간을 포함하여 사업경영의 동기부 여로서, 제공할 권리 및 혜택의 상세내용 을 제시한다.

제 6 장 정부의 육성 및 지원 철회

제 45 조

중소기업, 중소기업그룹 또는 민간기관을 영위하는 자가 자신의 중소기업, 중소기 업그룹 또는 민간기관이 제 42 조에 따른 원조, 육성 또는 지원을 받거나 제 44 조 에 따른 위원회의 제안에 따라 정한 담 당 행정기관, 정부기관 또는 국영기업으 로부터 권리와 혜택을 받기 위하여 부정 한 행위를 하는 경우, 위원회는 위원회가 해당 원조, 육성 또는 지원 및 권리와 혜 택의 철회에 대하여 심사한 날부터 5 년 이내에 중소기업, 중소기업그룹, 민간기 관이 해당 조항에 따라 받은 원조, 육성 또는 지원 및 권리와 혜택에 대하여 철 회할 권한이 있다.

제 46 조

중소기업, 중소기업그룹 또는 민간기관이 제 41 조에 따라 통계자료를 보고하지 않 은 경우, 제 42 조 및 제 44 조에 따라 원 조, 육성, 지원, 권리 및 혜택을 받을 권 리를 박탈당할 수 있다. 위원회가 제1문단에 따라 원조, 육성, 지 원, 권리 및 혜택을 받을 권리를 박탈할 필요가 있다고 인정하는 경우, 청은 중소 기업진흥시행계획 또는 제 44 조에 따라 권리 및 혜택에 관한 사항을 담당하는 행정기관, 정부기관 또는 국영기업에 해 당 중소기업, 중소기업그룹 또는 민간기 관의 명단을 통지하여 해당 행정기관, 정 부기관 또는 국영기업의 권리와 의무에 따른 조치를 검토하도록 한다.

제 47 조

제 11 조제(5)항, 제(6)항, 제(7)항, 제 (8)항 및 제 44 조에 따라 위원회의 제안 을 받거나 제 39 조, 제 40 조 및 제 46 조 제 2 문단에 의거하여 위원회가 정한 바에 따라 이행하여야 하는 행정기관, 정부기 관 또는 민간기관은 위원회의 권고 또는 규정에 따라 이행하는 것에 대하여 검토 하여야 한다. 위원회의 권고 또는 규정에 따라 이행하지 않기로 결정하는 경우, 그 러한 권고 또는 규정을 전달받거나 위원 회의 명령을 통지받은 날부터 15 일 이내 에 위원장 또는 위원장이 위탁한 사람에 게 그 상세 이유와 함께 보고한다. 위원장 또는 위원장에게 위탁받은 사람 이 제 1 문단에 따른 보고를 할 필요가 있 다고 인정하는 경우, 내각에 제안하여 심 의하도록 한다.

제 7 장 벌칙규정

제 48 조

제12조에 따른 위원회의 명령에 따라 이 행하지 아니하는 자에게는 10,000 밧 이 하의 벌금을 부과한다.

경과규정

제 49 조

초기에는 이 법 시행일부터 180 일 이내 에 청을 설립하고 청장을 위촉할 때까지 산업진흥국장이 위원회 및 운영위원회의 위원 및 간사직을 수행하며 산업진흥국 이 청의 직무를 수행한다. 부서 추언 릭파이 총리