「2017년 관세법」
• 국 가 ‧ 지 역: 태국 • 제 정 일: 2017년 5월 14일
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นปีที่ ๒ ในรัชกาลปัจจุบัน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วย ศุลกากร จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติ ขึ้นไว้โดยค าแนะน าและยินยอมของสภานิติบัญญัติ แห่งชาติท าหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้ 마하와치라롱껀 국왕 폐하께서 현 왕조 2번째 해인 2017년(불기 2560년) 5월 14일에 하사하셨다. 마하와치라롱껀 국왕 폐하께서는 다음과 같이 공포하도록 하셨다. 관세 관련 법률을 개정하는 것이 타당하므로 국회 직무를 담당하는 국가입법의 회 조언과 동의를 통하여 다음과 같이 법에 날인하도록 하셨다.
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติ ศุลกากร พ.ศ. ๒๕๖๐”
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นก าหนด หนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ให้ยกเลิก
ในพระราชบัญญัตินี้ “อากร” หมายความว่า อากรศุลกากรที่จัดเก็บกับ ของที่น าเข้ามาในหรือส่งออกไปนอก ราชอาณาจักรตามพระราชบัญญัตินี้และ กฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราศุลกากรหรือกฎหมาย อื่นที่ก าหนดให้เป็นอากรศุลกากร “ผู้น าของเข้า” ให้หมายความรวมถึง เจ้าของ ผู้ ครอบครอง หรือผู้มีส่วนได้เสียในของใด ๆ นับแต่ เวลาที่น าของนั้นเข้ามาในราชอาณาจักรจนถึง เวลาที่พนักงานศุลกากรได้ส่งมอบให้ไปโดย ถูกต้องพ้นจากอารักขาของพนักงานศุลกากร “ผู้ส่งของออก” ให้หมายความรวมถึง เจ้าของ ผู้ ครอบครอง หรือผู้มีส่วนได้เสียในของใด ๆ นับแต่ เวลาที่น าของนั้นเข้ามาในอารักขาของพนักงาน ศุลกากรจนถึงเวลาที่ได้ส่งออกไปนอก ราชอาณาจักร “ของต้องห้าม” หมายความว่า ของที่มีกฎหมาย ก าหนดห้ามมิให้น าเข้ามาในหรือส่งออกไปนอก ราชอาณาจักร หรือน าผ่านราชอาณาจักร “ของต้องก ากัด” หมายความว่า ของที่มีกฎหมาย ก าหนดว่า หากจะมีการน าเข้ามาในหรือส่งออก ไปนอกราชอาณาจักร หรือน าผ่านราชอาณาจักร จะต้องได้รับอนุญาตหรือปฏิบัติให้ครบถ้วนตามที่ ก าหนดไว้ในกฎหมาย “ด่านศุลกากร” หมายความว่า ท่า ที่ หรือ สนามบินที่ใช้ส าหรับการน าของเข้า การส่งของ ออก การผ่านแดน การถ่ายล า และการศุลกากร อื่น เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติพิธีการศุลกากร “ด่านพรมแดน” หมายความว่า ด่านที่ตั้งขึ้น ณ บริเวณเขตแดนทางบก บนทางอนุมัติ เพื่อ ประโยชน์ในการตรวจของที่ขนส่งโดยทางนั้น “เรือ” หมายความว่า ยานพาหนะทางน ้าที่ใช้ใน การขนส่งของหรือคน และให้หมายความรวมถึง เรือประมงด้วย “นายเรือ” หมายความว่า บุคคลซึ่งเป็น ผู้บังคับบัญชาหรือควบคุมเรือ “เขตแดนทางบก” หมายความว่า เขตแดนทางบก ระหว่างราชอาณาจักรกับดินแดนต่างประเทศและ ให้หมายความรวมถึงทางน ้าใด ๆ ที่เป็นเขตแดน แห่งราชอาณาจักรหรือตอนหนึ่งแห่งเขตแดนนั้น “ทางอนุมัติ” หมายความว่า ทางที่ใช้ขนส่งของเข้า มาในหรือส่งออกไปนอกราชอาณาจักรจากเขต แดนทางบกมายังด่านศุลกากร หรือจากด่าน ศุลกากรไปยังเขตแดนทางบก “การผ่านแดน” หมายความว่า การขนส่งของผ่าน ราชอาณาจักรจากด่านศุลกากรแห่งหนึ่งที่ขนส่ง ของเข้ามาไปยังด่านศุลกากรอีกแห่งหนึ่งที่ขนส่ง ของออกไป ภายใต้การควบคุมของศุลกากร โดยมี จุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของการขนส่งอยู่นอก ราชอาณาจักร ไม่ว่าการขนส่งนั้นจะมีการขนถ่าย ของเพื่อเปลี่ยนยานพาหนะ การเก็บรักษาของ การเปลี่ยนภาชนะบรรจุของเพื่อประโยชน์ในการ ขนส่ง หรือการเปลี่ยนรูปแบบของการขนส่งของ ด้วยหรือไม่ก็ตาม ทั้งนี้ จะต้องไม่มีการใช้ ประโยชน์ใด ๆ ซึ่งของนั้นหรือมีพฤติกรรมใด ๆ เพื่อประโยชน์ทางการค้าเกี่ยวกับของดังกล่าวใน ราชอาณาจักร “การถ่ายล า” หมายความว่า การถ่ายของจาก ยานพาหนะหนึ่งที่ขนส่งของเข้ามาใน ราชอาณาจักรไปยังอีกยานพาหนะหนึ่งที่ขนส่ง ของออกไปนอกราชอาณาจักร ภายใต้การควบคุม ของศุลกากรในด่านศุลกากรแห่งเดียวกัน โดยมี จุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของการขนส่งอยู่นอก ราชอาณาจักร “พนักงานศุลกากร” หมายความว่า
“อธิบดี” หมายความว่า อธิบดีกรมศุลกากรหรือผู ซึ่งอธิบดีมอบหมาย “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการ ตามพระราชบัญญัตินี้
ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังรักษาการตาม พระราชบัญญัตินี้และให้มีอ านาจแต่งตั้งพนักงาน ศุลกากร กับออกกฎกระทรวงในเรื่องดังต่อไปนี้
ในกรณีที่มีพฤติการณ์พิเศษเพื่อประโยชน์ในการ ด าเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ให้รัฐมนตรีม อ านาจออกกฎกระทรวงก าหนดให้ผู้น าของเข้า หรือผู้ส่งของออกได้รับยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตาม พระราชบัญญัตินี้ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน โดยจะ ก าหนดเงื่อนไขให้ต้องปฏิบัติไว้ด้วยก็ได้ ในกรณีที่มีพฤติการณ์พิเศษตามวรรคหนึ่งเกิดขึ้น แก่อากาศยาน และมีความจ าเป็นเพื่อประโยชน์ ในการคมนาคมระหว่างประเทศ รัฐมนตรีมี อ านาจออกค าสั่งเป็นหนังสือเฉพาะกรณี ให้ผู้น า ของเข้า ผู้ส่งของออกหรือผู้ควบคุมอากาศยานใด ได้รับยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามที่ก าหนดไว้ใน หมวด ๓ การน าของเข้าและการส่งของออก โดย จะก าหนดเงื่อนไขให้ต้องปฏิบัติไว้ด้วยก็ได้
อธิบดีอาจเรียกให้ผู้น าของเข้า ผู้ส่งของออก หรือ บุคคลซึ่งเกี่ยวข้องกับการศุลกากรให้ประกันอย่าง หนึ่งอย่างใดเพื่อรับรองว่าจะปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่เกี่ยวกับการ ศุลกากร การให้ประกันตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศ ก าหนด
บรรดาบัญชี เอกสารและหลักฐาน ต่าง ๆ ที่ เกี่ยวกับการเสียอากร หรือการปฏิบัติตาม พระราชบัญญัตินี้ ถ้าท าเป็นภาษา ต่างประเทศ อธิบดีอาจสั่งให้ผู้ยื่นบัญชี เอกสารหรือหลักฐาน ดังกล่าว จัดการแปลเป็นภาษาไทยให้เสร็จและส่ง ภายในก าหนดเวลาที่เห็นสมควร
ในกรณีที่ผู้น าของเข้า ผู้ส่งของออก หรือบุคคลซึ่ง เกี่ยวข้อง ร้องขอให้ด าเนินพิธีการศุลกากรหรือ ให้บริการใด ๆ ในทางศุลกากร ตาม พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตรา ศุลกากร เมื่อได้รับความเห็นชอบจากอธิบดีแล้ว ให้ด าเนินการตามที่ร้องขอได้
การขอส าเนาใบรับรอง ใบขนสินค้า บัญชี หรือ เอกสารอื่นใดที่เกี่ยวกับการศุลกากร ซึ่งมิได้เป็น ความลับนั้น เมื่ออธิบดีเห็นสมควรก็ออกให้ได้ โดยให้ผู้ขอเสียค่าใช้จ่ายตามที่อธิบดีประกาศ ก าหนด
การด าเนินการทางศุลกากร ถ้าได้กระท าในรูป ของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ให้ถือว่ามีผลโดยชอบ ด้วยกฎหมายเช่นเดียวกับการด าเนินการทาง ศุลกากรโดยเอกสาร ทั้งนี้ การน าข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในการศุลกากรให้เป็นไปตาม กฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
การด าเนินการใดโดยทางเอกสารซึ่ง พระราชบัญญัตินี้บัญญัติเป็นความผิดและ ก าหนดโทษไว้ ถ้าได้กระท าในรูปของข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ ให้ถือว่าเป็นความผิดและมีโทษ เช่นเดียวกับการกระท าที่ได้ด าเนินการโดยทาง เอกสาร
การน าของเข้ามาในหรือส่งออกไปนอก ราชอาณาจักร ให้เรียกเก็บอากรจากผู้น าของเข้า หรือผู้ส่งของออกตามพระราชบัญญัตินี้และตาม กฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราศุลกากร ความรับผิดในอันจะต้องเสียอากรส าหรับของที่ น าเข้ามาในหรือส่งออกไปนอกราชอาณาจักร เกิดขึ้นในเวลาที่น าของเข้าส าเร็จหรือส่งของออก ส าเร็จตามมาตรา ๕๐ ผู้น าของเข้าหรือผู้ส่งของออกมีหน้าที่เสียอากร เมื่อได้ยื่นใบขนสินค้าต่อพนักงานศุลกากรและ พนักงานศุลกากรได้รับและออกเลขที่ใบขนสินค้า แล้ว
การค านวณอากรส าหรับของที่น าเข้ามาใน ราชอาณาจักร ให้ค านวณตามสภาพแห่งของ ราคาศุลกากรและพิกัดอัตราศุลกากร ที่เป็นอยู่ใน เวลาที่น าของเข้าส าเร็จ เว้นแต่กรณี ดังต่อไปนี้ (๑) กรณีของที่เก็บไว้ในคลังสินค้าทัณฑ์บน ให้ ค านวณอากรตามสภาพแห่งของ ราคาศุลกากร และพิกัดศุลกากร ที่เป็นอยู่ในเวลาที่น าเข้าส าเร็จ แต่อัตราศุลกากรให้ถือตามอัตราศุลกากรที่ใช้อยู่ ในเวลาซึ่งได้ปล่อยของเช่นว่านั้นออกไปจาก คลังสินค้าทัณฑ์บน ทั้งนี้ ไม่ว่าจะปล่อยของ ออกไปในสภาพเดิมที่น าเข้ามาหรือในสภาพอื่น (๒) กรณีของที่เก็บไว้ในคลังสินค้าทัณฑ์บนสูญ หายหรือถูกท าลาย ให้ค านวณอากรตามสภาพ แห่งของ ราคาศุลกากร และพิกัดอัตราศุลกากร ที่ เป็นอยู่ในเวลาที่น าของเข้าเก็บในคลังสินค้าทัณฑ์ บนนั้น (๓) กรณีของที่น าเข้ามาในราชอาณาจักรเป็นของ เพื่อการผ่านแดนหรือเพื่อการถ่ายล าและต่อมามี การขอเปลี่ยนการผ่านพิธีการศุลกากรเป็นของ น าเข้าภายในระยะเวลาที่ก าหนดไว้ในมาตรา ๑๐๒ วรรคสอง ให้ค านวณอากรตามสภาพแห่ง ของ ราคาศุลกากร และพิกัดอัตราศุลกากร ที่ เป็นอยู่ในเวลาที่น าของนั้นเข้ามาใน ราชอาณาจักร
การค านวณอากรส าหรับของที่จะส่งออกไปนอก ราชอาณาจักร ให้ค านวณตามสภาพแห่งของ ราคาศุลกากร และพิกัดอัตราศุลกากร ที่เป็นอยู่ใน เวลาที่พนักงานศุลกากรได้รับและออกเลขที่ใบขน สินค้าแล้ว
เพื่อประโยชน์ในการค านวณอากรตาม พระราชบัญญัตินี้ ให้ “ราคาศุลกากร” หมายถึง ราคาดังต่อไปนี้
(ก) ราคาซื้อขายของที่น าเข้า (ข) ราคาซื้อขายของที่เหมือนกัน (ค) ราคาซื้อขายของที่คล้ายกัน (ง) ราคาหักทอน (จ) ราคาค านวณ (ฉ) ราคาย้อนกลับ
การก าหนดราคาศุลกากรในกรณีน าของเข้า จะต้องรวมค่าประกันภัย ค่าขนส่งของ ค่าขนของ ลง ค่าขนของขึ้น และค่าจัดการต่าง ๆ ที่ เกี่ยวเนื่องกับการขนส่งของที่น าเข้ามายังด่าน ศุลกากร ในกรณีที่ไม่มีมูลค่าของรายการค่าประกันภัยหรือ ค่าขนส่งของ หรือไม่มีค่าขนของลง ค่าขนของขึ้น หรือค่าจัดการต่าง ๆ ตามที่ก าหนดในวรรคหนึ่ง การก าหนดมูลค่าของรายการดังกล่าวให้เป็นไป ตามที่อธิบดีประกาศก าหนด
ผู้ใดประสงค์จะขอทราบราคาศุลกากร ถิ่นก าเนิด แห่งของ หรือพิกัดอัตราศุลกากร ผู้นั้นอาจยื่นค า ร้องขอต่ออธิบดีเพื่อให้พิจารณาเป็นการล่วงหน้า ในเรื่องดังต่อไปนี้
เมื่อพบว่าผู้มีหน้าที่เสียอากรไม่เสียอากรหรือเสีย อากรไม่ครบถ้วน ให้พนักงานศุลกากรมีอ านาจ ประเมินอากรตามพระราชบัญญัตินี้และตาม กฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราศุลกากร การประเมินอากรตามวรรคหนึ่ง ให้ด าเนินการได้ ภายในก าหนดสามปีนับแต่วันที่ได้ยื่นใบขนสินค้า เว้นแต่กรณีมีเหตุจ าเป็นไม่อาจประเมินอากรได้ ภายในก าหนดเวลาดังกล่าว ให้ขอขยาย ระยะเวลาต่ออธิบดีได้อีกไม่เกินสองปี ในกรณีที่ปรากฏหลักฐานที่อธิบดีเชื่อได้ว่าผู้มี หน้าที่เสียอากรมีเจตนาในการฉ้ออากร ให้ พนักงานศุลกากรมีอ านาจประเมินอากรได้อีก ภายในก าหนดห้าปีนับแต่วันที่พ้นก าหนด ระยะเวลาตามวรรคสอง
เมื่อประเมินอากรแล้ว ให้พนักงานศุลกากรส่ง แบบแจ้งการประเมินอากรให้แก่ผู้น าของเข้าหรือผู้ ส่งของออกภายในก าหนดเจ็ดวันนับแต่วันที่ ประเมินอากรเสร็จ ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศก าหนด ผู้น าของเข้าหรือผู้ส่งของออกต้องเสียอากรให้ ครบถ้วนภายในก าหนดสามสิบวันนับแต่วันที่ ได้รับแบบแจ้งการประเมินอากรนั้น
สิทธิของกรมศุลกากรที่จะเรียกเก็บอากรที่ไม่ได้ เสียหรือเสียไม่ครบถ้วนมีอายุความสิบปีนับแต่ วันที่ได้ยื่นใบขนสินค้า เว้นแต่การเรียกเก็บอากรที่ ไม่ได้เสียหรือเสียไม่ครบถ้วนนั้นเกิดจากการ ค านวณอากรผิด ให้มีอายุความสองปีนับแต่วันที่ ได้ยื่นใบขนสินค้า ในกรณีที่สิทธิในการเรียกเก็บอากรที่เสียไว้ไม่ ครบถ้วนตามวรรคหนึ่ง มีจ านวนไม่เกินสองร้อย บาทต่อใบขนสินค้าหนึ่งฉบับ อธิบดีจะสั่งให้งด การเรียกเก็บอากรที่เสียไม่ครบถ้วนนั้นก็ได้หาก ของนั้นได้พ้นไปจากอารักขาของศุลกากรแล้ว
ในกรณีที่ผู้น าของเข้าหรือผู้ส่งของออกไม่เสีย อากรหรือเสียอากรไม่ครบถ้วน ให้เรียกเก็บเงิน เพิ่มอีกในอัตราร้อยละหนึ่งต่อเดือนของอากรที่ ต้องเสียหรือเสียเพิ่มโดยไม่คิดทบต้น นับแต่วันที่ น าของออกไปจากอารักขาของศุลกากรหรือส่ง ของออกไปนอกราชอาณาจักรจนถึงวันที่น าเงิน มาช าระเศษของเดือนให้นับเป็นหนึ่งเดือน โดย เงินเพิ่มที่เรียกเก็บนี้ต้องไม่เกินอากรที่ต้องเสีย หรือเสียเพิ่ม ในกรณีที่ผู้น าของเข้าหรือผู้ส่งของออกไม่เสีย อากรภายในก าหนดสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับ แบบแจ้งการประเมินอากรตามมาตรา ๒๐ ให้เสีย เบี้ยปรับร้อยละยี่สิบของอากรที่ต้องเสียหรือเสีย เพิ่ม เงินเพิ่มและเบี้ยปรับให้ถือเป็นเงินอากร เงินเพิ่มอาจลดลงได้ตามหลักเกณฑ์ที่ก าหนดใน กฎกระทรวง ส าหรับเบี้ยปรับอาจงดหรือลดลงได้ ตามระเบียบที่อธิบดีก าหนดโดยอนุมัติของ รัฐมนตรี
ในกรณีที่ผู้น าของเข้าหรือผู้ส่งของออกค้างช าระ ค่าอากร ให้อธิบดีมีอ านาจกักของที่ผู้นั้นน าเข้า หรือส่งออกและก าลังผ่านพิธีการศุลกากร หรืออยู่ ในความก ากับตรวจตราของศุลกากรได้จนกว่า ผู้น าของเข้าหรือผู้ส่งของออกจะเสียอากรที่ค้างให้ ครบถ้วน และถ้าไม่เสียภายในก าหนดสามสิบวัน นับแต่วันที่กักของนั้น ให้อธิบดีมีอ านาจสั่งให้น า ของนั้นออกขายทอดตลาดได้ เงินที่ได้จากการขายทอดตลาดตามวรรคหนึ่ง ให้ หักใช้ค่าอากรที่ค้างช าระ ค่าอากรส าหรับของท ขายทอดตลาด ค่าเก็บรักษา ค่าขนย้าย หรือค่า ภาระติดพันอย่างอื่นที่ค้างช าระแก่กรมศุลกากร รวมทั้งค่าภาษีอากรตามกฎหมายอื่นก่อน เหลือ เท่าใดให้ใช้ค่าภาระติดพันต่างๆ ที่ต้องช าระแก่ผู้ เก็บรักษาและผู้ขนส่งที่น าของที่ขายทอดตลาดนั้น เข้ามา ตามล าดับ เมื่อได้หักใช้เช่นนี้แล้วยังมีเงิน เหลืออยู่อีกเท่าใดให้คืนแก่เจ้าของ แต่เมื่อพ้น ก าหนดหกเดือนนับแต่วันขายทอดตลาดแล้ว เจ้าของไม่มาเรียกคืนให้เงินที่เหลืออยู่นั้นตกเป็น ของแผ่นดิน
ในการบังคับค่าอากรที่ค้างช าระ หากกรม ศุลกากรได้ด าเนินการตามมาตรา ๒๓ แล้วยัง ไม่ได้รับค่าอากรหรือได้รับไม่ครบถ้วน ให้อธิบดีมี อ านาจสั่งยึดหรืออายัด และขายทอดตลาด ทรัพย์สินของผู้ต้องรับผิดเสียอากรได้ทั่ว ราชอาณาจักร โดยมิต้องขอให้ศาลออกค าสั่ง วิธีการยึดและขายทอดตลาดทรัพย์สิน ให้ปฏิบัติ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งโดย อนุโลม ส่วนวิธีการอายัดให้ปฏิบัติตามระเบียบที่ อธิบดีก าหนดโดยอนุมัติของรัฐมนตรี เงินที่ได้จากการขายทอดตลาดดังกล่าว ให้หัก ค่าธรรมเนียม ค่าใช้จ่ายในการยึดและขาย ทอดตลาดและค่าอากรที่ไม่ได้เสียหรือเสียไม่ ครบถ้วน ถ้ามีเงินเหลือให้คืนแก่เจ้าของ
ในกรณีที่ปรากฏว่ามีการเสียอากรไว้เกินจ านวนที่ ต้องเสีย ให้ด าเนินการอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้
ในกรณีที่ได้เสียอากรเพื่อส่งของออกไปนอก ราชอาณาจักรแล้ว แต่มิได้ส่งของนั้นออกไปนอก ราชอาณาจักร ให้ผู้ส่งของออกมีสิทธิยื่นค าร้องขอ คืนอากรภายในก าหนดเก้าสิบวันนับแต่วันที่ พนักงานศุลกากรได้รับใบขนสินค้าแล้ว การยื่นค าร้องขอคืนอากรและการคืนอากรตาม วรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการและ เงื่อนไขที่อธิบดีประกาศก าหนด
ในกรณีที่ต้องคืนอากรหรือเงินประกันค่าอากร เพราะเหตุที่ได้เรียกไว้เกินจ านวนอันพึงต้องเสีย หรือเสียเพิ่ม ให้คืนเงินพร้อมด้วยดอกเบี้ยอีกร้อย ละศูนย์จุดหกสองห้าต่อเดือนของจ านวนเงินที่ ต้องคืนโดยไม่คิดทบต้นนับแต่วันที่ได้เสียอากร หรือวางเงินประกันอากรครั้งสุดท้ายจนถึงวันที่มี การอนุมัติให้จ่ายคืน ในกรณีที่ได้เปลี่ยนการวางประกันอย่างอื่นเป็น การวางเงินประกันภายหลังจากที่ได้น าของ ออกไปจากอารักขาของศุลกากรหรือส่งของออก ไปนอกราชอาณาจักรแล้ว ให้ค านวณดอกเบี้ย ส าหรับจ านวนเงินประกันที่ต้องคืนนับแต่วันที่ วางเงินประกันครั้งสุดท้ายแทนการวางประกัน จนถึงวันที่อนุมัติให้จ่ายคืน ดอกเบี้ยที่จ่ายตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง มิให้ เกินจ านวนเงินอากรหรือเงินประกันค่าอากรที่ต้อง คืน ในการค านวณดอกเบี้ยตามวรรคหนึ่งและวรรค สอง เศษของเดือนให้นับเป็นหนึ่งเดือน และ ดอกเบี้ยที่ต้องจ่ายนี้ให้ถือเป็นอากรที่ต้องจ่ายคืน
ผู้น าของเข้ามาในราชอาณาจักรและเสียอากรแล้ว หากส่งของนั้นกลับออกไปนอกราชอาณาจักร หรือส่งไปเป็นของใช้สิ้นเปลืองในเรือหรืออากาศ ยานที่เดินทางออกไปนอกราชอาณาจักรให้มีสิทธิ ขอคืนอากรขาเข้าส าหรับของนั้นเก้าในสิบส่วน หรือส่วนที่เกินหนึ่งพันบาทของจ านวนที่ได้เรียก เก็บไว้โดยค านวณตามใบขนสินค้าขาออกแต่ละ ฉบับ แล้วแต่จ านวนใดจะสูงกว่า ตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้
ผู้น าของเข้ามาในราชอาณาจักรและเสียอากรแล้ว เพื่อใช้ส าหรับผลิต ผสม ประกอบ บรรจุหรือ ด าเนินการด้วยวิธีอื่นใด หากส่งของที่ได้จากการ ด าเนินการดังกล่าวออกไปนอกราชอาณาจักร หรือส่งไปเป็นของใช้สิ้นเปลืองในเรือหรืออากาศ ยานที่เดินทางออกไปนอกราชอาณาจักร ให้มีสิทธิ ขอคืนอากรขาเข้าส าหรับของที่น าเข้ามาใน ราชอาณาจักรนั้น ตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
้น าของเข้ามาในราชอาณาจักรเพื่อใช้ส าหรับ ผลิต ผสม ประกอบ บรรจุหรือด าเนินการด้วยวิธี อื่นใดตามมาตรา ๒๙ เพื่อส่งออกไปนอก ราชอาณาจักรหรือส่งไปเป็นของใช้สิ้นเปลืองใน เรือหรืออากาศยานที่เดินทางออกไปนอก ราชอาณาจักรอาจร้องขอต่ออธิบดีวางประกัน อย่างหนึ่งอย่างใดแทนการเสียอากรขาเข้า ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดี ประกาศก าหนด การคืนประกันที่ผู้น าของเข้าได้วางไว้แทนการเสีย อากรตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศก าหนด
การโอนของที่ได้จากการผลิต ผสม ประกอบ บรรจุหรือด าเนินการด้วยวิธีอื่นใดตามมาตรา ๒๙ เข้าไปในคลังสินค้าทัณฑ์บนหรือจ าหน่ายให้แก่ผู้ มีสิทธิได้รับยกเว้นอากรตามกฎหมายว่าด้วยพิกัด อัตราศุลกากรหรือกฎหมายอื่น ให้ถือว่าเป็นการ ส่งของออกไปนอกราชอาณาจักรและเป็นการส่ง ของออกส าเร็จในเวลาที่โอนหรือจ าหน่ายของนั้น ทั้งนี้ให้น าบทบัญญัติมาตรา ๒๙ และมาตรา ๓๐ มาใช้บังคับกับการคืนอากรหรือประกันอย่างอื่น แก่ผู้น าของเข้าโดยอนุโลม การรับของที่ได้โอนหรือจ าหน่ายตามวรรคหนึ่ง ให้ ถือว่าเป็นการน าเข้ามาในราชอาณาจักรนับแต่ เวลาที่ได้โอนหรือจ าหน่ายของนั้น และให้น า บทบัญญัติเกี่ยวกับการน าของเข้ามาใช้บังคับโดย อนุโลม การโอนของเข้าไปในคลังสินค้าทัณฑ์บน การ จ าหน่ายของแก่ผู้มีสิทธิได้รับยกเว้นอากร และ การรับของดังกล่าว ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศก าหนด
ให้มีคณะกรรมการวินิจฉัยอากรศุลกากร ประกอบด้วย ปลัดกระทรวงการคลังเป็นประธาน กรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา อธิบดีกรมศุลกากรอธิบดีกรมสรรพากรอธิบดี กรมสรรพสามิต ผู้อ านวยการส านักงานเศรษฐกิจ การคลังและผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้ง จ านวนไม่เกินสามคน เป็นกรรมการ ให้อธิบดีแต่งตั้งข้าราชการในกรมศุลกากรคนหนึ่ง เป็นเลขานุการและอีกไม่เกินสองคนเป็น ผู้ช่วยเลขานุการ
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๒ มีวาระการ ด ารงต าแหน่งคราวละสามปีและอาจได้รับแต่งตั้ง ใหม่อีกได้ ในกรณีที่กรรมการตามวรรคหนึ่งพ้นจากต าแหน่ง ก่อนวาระ ให้ด าเนินการแต่งตั้งกรรมการแทน ภายในก าหนดเก้าสิบวันนับแต่วันที่ต าแหน่ง กรรมการว่างลง เว้นแต่วาระของกรรมการเหลือไม่ ถึงสามสิบวันจะไม่แต่งตั้งกรรมการแทนก็ได้ ในกรณีที่กรรมการตามวรรคหนึ่งพ้นจากต าแหน่ง ก่อนวาระ ให้ผู้ได้รับแต่งตั้งแทนต าแหน่งที่ว่างอยู่ ในต าแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการซึ่ง ได้แต่งตั้งไว้แล้ว เมื่อครบก าหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังมิได มีการแต่งตั้งกรรมการขึ้นใหม่ ให้กรรมการซึ่งพ้น จากต าแหน่งตามวาระนั้นอยู่ในต าแหน่งเพื่อ ด าเนินงานต่อไปจนกว่ากรรมการซึ่งได้รับแต่งตั้ง ใหม่เข้ารับหน้าที่
นอกจากการพ้นจากต าแหน่งตามวาระตาม มาตรา ๓๓ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๒ พ้นจากต าแหน่งเมื่อ
การประชุมคณะกรรมการวินิจฉัยอากรศุลกากร ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ จ านวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม ในการประชุมคณะกรรมการวินิจฉัยอากร ศุลกากร ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่ อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ให้ที่ประชุมเลือกกรรมการคน หนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม ในการปฏิบัติหน้าที่ ถ้ามีการพิจารณาในเรื่องที่ ประธานกรรมการหรือกรรมการผู้ใดมีส่วนได้เสีย ประธานกรรมการหรือกรรมการผู้นั้นไม่มีสิทธิเข้า ร่วมประชุม การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุม ออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด
คณะกรรมการวินิจฉัยอากรศุลกากรมีอ านาจ หน้าที่ ดังต่อไปนี้
การก าหนดตาม (๑) และ (๒) เมื่อได้รับความ เห็นชอบจากรัฐมนตรีและประกาศในราชกิจจา นุเบกษาแล้วให้พนักงานศุลกากรปฏิบัติตาม ค าวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยอากร ศุลกากรตาม (๓) ให้เป็นที่สุด
้น าของเข้าหรือผู้ส่งของออกมีสิทธิอุทธรณ์การ ประเมินอากรต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ภายในก าหนดสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแบบ แจ้งการประเมินอากร การยื่นอุทธรณ์และวิธีพิจารณาอุทธรณ์ตามวรรค หนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการและ เงื่อนไขที่อธิบดีประกาศก าหนด
การอุทธรณ์การประเมินอากรตามมาตรา ๓๗ ไม่ เป็นเหตุทุเลาการเสียอากรตามที่พนักงาน ศุลกากรประเมินไว้เว้นแต่ผู้อุทธรณ์ได้รับอนุญาต จากอธิบดีให้รอค าวินิจฉัยอุทธรณ์หรือค า พิพากษาถึงที่สุด ผู้อุทธรณ์ที่ได้รับอนุญาตให้ทุเลาการเสียอากร ตามวรรคหนึ่ง ต้องเสียอากรให้ครบถ้วนภายใน ก าหนดสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งการ จ าหน่ายอุทธรณ์หรือค าวินิจฉัยอุทธรณ์หรือนับ แต่วันได้รับทราบค าพิพากษาถึงที่สุด ในกรณีที่มีค าวินิจฉัยอุทธรณ์ให้เสียอากรเพิ่มขึ้น ผู้อุทธรณ์จะต้องเสียอากรภายในก าหนด ระยะเวลาเช่นเดียวกับวรรคสอง
ให้มีคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ประกอบด้วย อธิบดีกรมศุลกากรเป็นประธาน กรรมการ ผู้แทนกรมสรรพากร ผู้แทนกรม สรรพสามิต ผู้แทนส านักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกาและผู้แทนส านักงานอัยการสูงสุด เป็น กรรมการ ให้อธิบดีแต่งตั้งข้าราชการในกรมศุลกากรคนหนึ่ง เป็นเลขานุการและอีกไม่เกินสองคนเป็น ผู้ช่วยเลขานุการ
ในกรณีที่มีความจ าเป็นและรัฐมนตรีเห็นเป็นการ สมควรอาจก าหนดให้มีคณะกรรมการพิจารณา อุทธรณ์เพิ่มเติมอีกคณะหนึ่งหรือหลายคณะก็ได้ โดยให้คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ดังกล่าวมี องค์ประกอบตามที่ก าหนดไว้ในมาตรา ๓๙
ให้คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ พิจารณาอุทธรณ์ให้แล้วเสร็จภายในก าหนดหนึ่ง ร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่พนักงานศุลกากรได้รับ อุทธรณ์และมีเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวกับการ อุทธรณ์นั้นครบถ้วน ในกรณีที่มีเหตุจ าเป็น คณะกรรมการพิจารณา อุทธรณ์อาจขยายระยะเวลาพิจารณาอุทธรณ์ ออกไปอีกได้แต่ต้องไม่เกินเก้าสิบวัน
หากคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ไม่พิจารณา อุทธรณ์ให้แล้วเสร็จภายในก าหนดเวลาตาม มาตรา ๔๑ วรรคหนึ่ง ผู้น าของเข้าหรือผู้ส่งของ ออกมีสิทธิน าคดีไปฟ้องต่อศาลได้ ในกรณีที่ผู้น าของเข้าหรือผู้ส่งของออกน าคดีไป ฟ้องต่อศาล ให้คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ ยกอุทธรณ์ของผู้น าของเข้าหรือผู้ส่งของออกนั้น
ให้น าบทบัญญัติมาตรา ๓๕ มาใช้บังคับกับการ ประชุมของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์โดย อนุโลม
คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์มีอ านาจแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่าง ใดตามที่จะมอบหมาย ให้น าบทบัญญัติมาตรา ๓๕ มาใช้บังคับกับการ ประชุมของคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่งโดย อนุโลม
คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์หรือ คณะอนุกรรมการตามมาตรา ๔๔ วรรคหนึ่งมี อ านาจออกหนังสือเรียกผู้อุทธรณ์หรือขอให้บุคคล ซึ่งเกี่ยวข้องมาให้ถ้อยค า หรือส่งบัญชีเอกสาร หลักฐาน ข้อมูล หรือสิ่งของที่เกี่ยวกับเรื่องที่ อุทธรณ์มาแสดงได้ไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบใด ๆ โดยต้องให้เวลาแก่บุคคลดังกล่าวไม่น้อยกว่าสิบ ห้าวันนับแต่วันได้รับหนังสือเรียกหรือวันได้รับแจ้ง การร้องขอ ผู้อุทธรณ์ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามหนังสือเรียกตามวรรค หนึ่ง หรือไม่ยอมให้ถ้อยค าโดยไม่มีเหตุผลอัน สมควร ให้คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ยก อุทธรณ์นั้นเสีย
ในกรณีที่ผู้อุทธรณ์ยื่นค าร้องขอถอนอุทธรณ์ให้ คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์จ าหน่ายอุทธรณ์ นั้น
ค าวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ให้ เป็นที่สุด โดยให้ท าเป็นหนังสือและแจ้งให้ผู้ อุทธรณ์ทราบ
ในกรณีที่ผู้อุทธรณ์ไม่พอใจค าวินิจฉัยของ คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ผู้อุทธรณ์มีสิทธิ ฟ้องเป็นคดีต่อศาลภายในก าหนดสามสิบวันนับ แต่วันได้รับแจ้งค าวินิจฉัยอุทธรณ์เว้นแต่ คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์จะจ าหน่าย อุทธรณ์ตามมาตรา ๔๖
ให้กรรมการในคณะกรรมการวินิจฉัยอากร ศุลกากร กรรมการในคณะกรรมการพิจารณา อุทธรณ์และอนุกรรมการในคณะอนุกรรมการที่ คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์แต่งตั้ง เป็นเจ้า พนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
การน าของเข้าและการส่งของออกเป็นอันส าเร็จ ในกรณีดังต่อไปนี้
ก่อนที่จะน าของใดไปจากอารักขาของศุลกากร หรือก่อนที่จะส่งของใดออกไปนอกราชอาณาจักร ผู้น าของเข้าหรือผู้ส่งของออกต้องปฏิบัติให้ ครบถ้วนตามพระราชบัญญัตินี้และตามกฎหมาย อื่นที่เกี่ยวกับการศุลกากร กับต้องยื่นใบขนสินค้า โดยถูกต้องและเสียอากรจนครบถ้วนหรือวาง ประกันไว้ การยื่นใบขนสินค้า การเสียอากรและการวาง ประกันตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศก าหนด เมื่อผู้ที่เกี่ยวข้องร้องขอและอธิบดีเห็นว่ามีความ จ าเป็นต้องน าของใดออกไปจากอารักขาของ ศุลกากรหรือต้องส่งของใดออกไปนอก ราชอาณาจักรโดยเร่งด่วน อธิบดีมีอ านาจอนุญาต ให้น าของนั้นไปจากอารักขาของศุลกากรหรือส่ง ของนั้นออกไปนอกราชอาณาจักรโดยยังไม่ต้อง ยื่นใบขนสินค้าให้สมบูรณ์หรือยังไม่ต้องเสียอากร จนครบถ้วน ทั้งนี้อธิบดีอาจก าหนดเงื่อนไขให้ผู้ ร้องขอต้องปฏิบัติด้วยก็ได้และในกรณีที่ต้องเสีย อากร ให้ผู้ร้องขอวางประกันค่าอากรตาม หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศ ก าหนด
เมื่อน าของเข้ามาในหรือจะส่งของออกไปนอก ราชอาณาจักร ให้ผู้น าของเข้าหรือผู้ส่งของออก ยื่นใบขนสินค้าต่อพนักงานศุลกากรตามแบบที่ อธิบดีประกาศก าหนด ซึ่งอย่างน้อยต้องมีรายการ ดังต่อไปน
เมื่อพนักงานศุลกากรได้ตรวจสอบรายการที่แสดง ไว้ในใบขนสินค้าแล้วเห็นว่ารายการที่แสดงไว้นั้น ครบถ้วน ให้พนักงานศุลกากรลงนามรับรองในใบ ขนสินค้าหรือใช้วิธีการอื่นใดตามที่อธิบดีก าหนด เพื่อรับรองว่ารายการที่ได้แสดงไว้นั้นครบถ้วนแล้ว
ของที่น าเข้ามาในราชอาณาจักร หากเป็นของติด ตัวผู้โดยสารและมีมูลค่าไม่เกินจ านวนที่อธิบดี ประกาศก าหนด ผู้น าของเข้าไม่ต้องยื่นใบขน สินค้าส าหรับของนั้น ในกรณีที่ของตามวรรคหนึ่งเป็นของที่ต้องเสีย อากร ให้ผู้น าของเข้าเสียอากรเมื่อได้ส าแดงของ ดังกล่าวต่อพนักงานศุลกากร หรือเมื่อพนักงาน ศุลกากรตรวจพบว่าของดังกล่าวเป็นของที่ต้อง เสียอากร
ในกรณีที่ผู้น าของเข้าไม่สามารถท าใบขนสินค้า ส าหรับของใดได้เพราะไม่ทราบรายละเอียด เกี่ยวกับของนั้นทั้งหมด ผู้น าของเข้าอาจยื่นค าขอ อนุญาตเปิดตรวจของที่อยู่ในอารักขาของ ศุลกากรนั้นได้โดยให้ด าเนินการตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศก าหนด เมื่อครบก าหนดสามสิบวันนับแต่วันที่ผู้น าของเข้า ได้รับอนุญาตให้เปิดตรวจของตามวรรคหนึ่งแล้ว ผู้น าของเข้ายังไม่ยื่นใบขนสินค้าและไม่เสียอากร หรือวางประกันให้ถูกต้องครบถ้วนภายในก าหนด ระยะเวลาดังกล่าว ให้ถือว่าของที่มีการเปิดตรวจ นั้นเป็นของตกค้าง
ในกรณีที่พนักงานศุลกากรเห็นว่ามีปัญหา เกี่ยวกับจ านวนเงินอากรส าหรับของที่ก าลังผ่าน พิธีการศุลกากร ให้น าของนั้นไปยังศุลกสถานหรือ น าไปเก็บไว้ในที่แห่งใดแห่งหนึ่งที่มีความมั่นคง ปลอดภัย เว้นแต่พนักงานศุลกากรและผู้น าของ เข้าหรือผู้ส่งของออกจะตกลงให้เก็บตัวอย่างของ ไว้เพื่อวินิจฉัยปัญหาดังกล่าว รวมทั้งได้เสียอากร ตามจ านวนที่ส าแดงไว้ในใบขนสินค้าและได้ วางเงินเพิ่มเติมเป็นประกันหรือวางประกันเป็น อย่างอื่นจนครบจ านวนเงินอากรสูงสุดที่อาจต้อง เสียส าหรับของนั้น เมื่อพนักงานศุลกากรได้ประเมินอากรที่ต้องเสีย และแจ้งผู้น าของเข้าหรือผู้ส่งของออกให้เสียอากร แล้ว ผู้น าของเข้าหรือผู้ส่งของออกต้องเสียอากร ตามจ านวนที่ได้รับแจ้งให้ครบถ้วนภายในก าหนด สามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง เว้นแต่ในกรณีที่มี การวางเงินประกันตามวรรคหนึ่ง และเงินดังกล่าว คุ้มค่าอากรแล้ว ให้พนักงานศุลกากรเก็บเงิน ประกันดังกล่าวเป็นค่าอากรตามจ านวนที่ประเมิน ได้และให้ถือว่าผู้น าของเข้าหรือผู้ส่งของออกได้ เสียอากรครบถ้วนแล้ว
ให้ผู้ควบคุมยานพาหนะท าการบรรทุกหรือขนถ่าย ของหรือกระท าการอย่างหนึ่งอย่างใดเกี่ยวกับของ ที่น าเข้าหรือของที่จะส่งออกที่ต้องมีพนักงาน ศุลกากรก ากับในเวลาที่ก าหนดในกฎกระทรวง เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากอธิบดีให้ท าการบรรทุก หรือขนถ่ายของดังกล่าวในเวลาอื่นได้
การบรรทุกของลงหรือขนขึ้นจากยานพาหนะ การ ขนถ่ายของ การน าของไปยังที่ส าหรับตรวจ การ ชั่งของ การบรรจุใหม่ น ามารวม คัดเลือก แบ่งแยก ท าเครื่องหมาย และลงเลขหมายหรือ การอนุญาตให้กระท าการนั้น หรือการขนย้ายของ ไปเก็บในที่ส าหรับเก็บจนกว่าจะได้รับมอบไปให้ เป็นหน้าที่ของผู้น าของเข้าหรือผู้ส่งของออก โดย ต้องเสียค่าใช้จ่ายของตนเอง
การขนถ่ายของที่น าเข้ามาในหรือจะส่งออกไป นอกราชอาณาจักร ต้องขนถ่ายในเขตขนถ่ายของ เท่านั้น เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากอธิบดีให้ขนถ่าย ในสถานที่อื่นได้โดยอธิบดีอาจเรียกให้ผู้น าของ เข้าหรือผู้ส่งของออก แล้วแต่กรณีหรือเจ้าของ หรือผู้ครอบครองสถานที่อื่นนั้นวางประกันได้
หีบห่อหรือภาชนะบรรจุของที่จะน าเข้ามาในหรือ ส่งออกไปนอกราชอาณาจักรต้องมีเครื่องหมาย หรือเลขหมายก ากับหีบห่อหรือภาชนะบรรจุของ นั้น และต้องแสดงเครื่องหมายหรือเลขหมายนั้น ไว้ในเอกสารที่เกี่ยวกับของนั้นด้วย
ให้น าบทบัญญัติมาตรา ๒๔๒ มาตรา ๒๔๓ มาตรา ๒๔๔ และมาตรา ๒๔๕ มาใช้บังคับกับ ของที่น าเข้ามาในหรือจะส่งออกไปนอก ราชอาณาจักรทางไปรษณีย์ด้วย
พนักงานศุลกากรอาจตรวจห่อพัสดุไปรษณีย์ที่ น าเข้ามาในหรือจะส่งออกไปนอกราชอาณาจักร ได้ ในกรณีที่มีเหตุอันควรสงสัย พนักงานศุลกากร อาจกักจดหมายหรือห่อพัสดุไปรษณีย์ไว้ได้ จนกว่าผู้จะส่งของออกไปหรือผู้น าของส่ง หรือผู้มี ชื่อที่จะรับของหรือผู้รับของ ได้แสดงต่อพนักงาน ศุลกากรว่าไม่มีของต้องห้าม ของต้องก ากัด หรือ ของที่ยังมิได้เสียอากรในจดหมายหรือในห่อพัสดุ นั้น
ผู้น าของเข้า ผู้ส่งของออก ผู้ขนส่งและบุคคลซึ่ง เกี่ยวข้องตามที่อธิบดีประกาศก าหนด มีหน้าที่ เก็บและรักษาบัญชีเอกสาร หลักฐาน และข้อมูล อื่นใดที่เกี่ยวกับของที่ก าลังผ่านหรือได้ผ่านพิธีการ ศุลกากรเป็นเวลาไม่น้อยกว่าห้าปีนับแต่วันที่น า ของเข้าหรือส่งของออก ในกรณีที่บุคคลตามวรรคหนึ่งเลิกประกอบกิจการ ให้บุคคลดังกล่าวหรือผู้ช าระบัญชีเก็บและรักษา บัญชีเอกสาร หลักฐาน และข้อมูลดังกล่าวไว้ ต่อไปอีกสองปีนับแต่วันเลิกประกอบกิจการ การเก็บและรักษาบัญชีเอกสาร หลักฐาน และ ข้อมูลตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศ ก าหนด
เรือที่เข้ามาในราชอาณาจักรเว้นแต่เรือของทาง ราชการ ให้นายเรือมีหน้าที่ท ารายงานเรือเข้าและ ยื่นบัญชีสินค้าส าหรับเรือและแสดงใบทะเบียน เรือต่อพนักงานศุลกากรเพื่อตรวจสอบ การท ารายงานเรือเข้าและการยื่นบัญชีสินค้า ส าหรับเรือตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศ ก าหนด ในกรณีที่เรือตามวรรคหนึ่งมาถึงท่าที่เป็นด่าน ศุลกากรและมีของจากต่างประเทศอยู่ในเรือและ ประสงค์จะส่งของออกไปนอกราชอาณาจักร หรือ มีของที่จะขนขึ้น ณ ที่อื่นภายในราชอาณาจักร นายเรือต้องแถลงข้อความเกี่ยวกับของนั้นไว้ใน รายงานเรือเข้าด้วย
ให้พนักงานศุลกากรมีอ านาจสั่งห้ามเคลื่อนย้าย ของในเรือที่มิได้แสดงไว้ในรายงานเรือเข้าจนกว่า จะได้รับรายงานที่ถูกต้องจากนายเรือหรือจนกว่า นายเรือจะได้อธิบายเหตุผลที่ไม่สามารถแสดง ของดังกล่าวไว้ในรายงานเรือเข้าได้
ถ้านายเรือได้รายงานต่อพนักงานศุลกากรว่า ตน ไม่ทราบว่าของที่อยู่ในหีบห่อหรือภาชนะบรรจุที่ บรรทุกมาในเรือนั้นเป็นสิ่งใด พนักงานศุลกากรจะ สั่งให้เปิดหีบห่อหรือภาชนะบรรจุนั้นออกเพื่อ ตรวจสอบก็ได้และหากปรากฏว่าในหีบห่อหรือ ภาชนะบรรจุนั้นมีของต้องห้าม ให้ยึดของนั้นไว้ เพื่อด าเนินการตามกฎหมาย
ือที่เดินทางมาจากต่างประเทศเมื่อมาถึงเขตท่า ต้องหยุดลอยล า ณ ด่านตรวจที่ก าหนดไว้และให้ นายเรือมีหน้าที่ดังต่อไปนี้
เมื่อพ้นก าหนดระยะเวลาสิบวันนับแต่เรือมาถึง เขตท่าที่เป็นด่านศุลกากรหากนายเรือมิได้ ด าเนินการขนของขึ้นจากเรือให้แล้วเสร็จ หรือผู้น า ของเข้ามิได้ด าเนินการยื่นใบขนสินค้าหรือมิได้ ด าเนินการเพื่อให้พนักงานศุลกากรตรวจของหรือ ส่งมอบของไปโดยถูกต้อง พนักงานศุลกากรอาจ สั่งให้มีการน าของนั้นมาเก็บไว้ในสถานที่ที่ พนักงานศุลกากรก าหนด โดยให้นายเรือหรือผู้น า ของเข้าเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการ เคลื่อนย้ายและเก็บรักษาของดังกล่าว พนักงานศุลกากรจะอนุญาตให้คืนของที่น ามา เก็บไว้ตามวรรคหนึ่งให้แก่ผู้น าของเข้าได้ต่อเมื่อมี การช าระค่าใช้จ่ายอันเกี่ยวแก่ของนั้นเสร็จสิ้นแล้ว
เมื่อพ้นก าหนดระยะเวลายี่สิบเอ็ดวันนับแต่เรือ มาถึงเขตท่าที่เป็นด่านศุลกากรหากนายเรือมิได้ ด าเนินการขนของขึ้นจากเรือให้แล้วเสร็จ พนักงานศุลกากรมีอ านาจสั่งกักเรือล าดังกล่าว นั้นไว้ได้จนกว่านายเรือจะได้ขนของขึ้นจากเรือจน หมด โดยนายเรือต้องช าระค่าใช้จ่ายในการเฝ้า รักษาของดังกล่าว รวมทั้งค่าใช้จ่ายอื่นอันพึงมี ด้วย อธิบดีอาจยกเว้นการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายตามวรรค หนึ่งได้หากนายเรือได้แสดงหลักฐานอันสมควร ว่าการชักช้านั้นเกิดจากเหตุสุดวิสัยหรือเหตุอื่นที่มิ อาจหลีกเลี่ยงได้
ห้ามมิให้ขนของที่จะส่งออกบรรทุกลงในเรือล าใด จนกว่าพนักงานศุลกากรได้ออกใบปล่อยเรือขา เข้าให้แก่เรือนั้น เว้นแต่จะได้รับอนุญาตให้ขนของ บรรทุกลงในเรือนั้นได้ก่อนที่จะได้รับใบปล่อยเรือ ขาเข้า ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่ อธิบดีประกาศก าหนด
ือล าใดที่จะออกไปนอกราชอาณาจักรจากท่าที่ เป็นด่านศุลกากร เว้นแต่เรือของทางราชการ จะต้องได้รับใบปล่อยเรือขาออก โดยให้นายเรือมี หน้าที่ท ารายงานเรือออกและยื่นบัญชีสินค้า ส าหรับเรือต่อพนักงานศุลกากรเพื่อตรวจสอบ เมื่อพนักงานศุลกากรได้ลงลายมือชื่อรับรองใน รายงานเรือออกแล้ว ให้ถือว่ารายงานดังกล่าวเป็น ใบปล่อยเรือขาออก การท ารายงานเรือออกและการยื่นบัญชีสินค้า ส าหรับเรือตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศ ก าหนด
ถ้าเรือที่ได้รับใบปล่อยเรือขาออกแล้วได้ออกจาก ท่าที่เป็นด่านศุลกากรแห่งหนึ่งไปยังท่าที่เป็นด่าน ศุลกากรแห่งอื่นในราชอาณาจักร ให้นายเรือท า รายงานเรือออกและยื่นบัญชีสินค้าส าหรับเรือที่ บรรทุกขึ้นเรือนั้นต่อพนักงานศุลกากรประจ าท่าที่ เป็นด่านศุลกากรนั้น พร้อมทั้งแนบใบปล่อยเรือขา ออกที่ออกให้ภายหลังติดไว้กับใบปล่อยเรือฉบับ แรก และต้องท าเช่นนี้ต่อไปทุก ๆ ท่าที่เป็นด่าน ศุลกากรจนกว่าจะได้รับใบปล่อยเรือขาออก ท้ายสุดออกนอกราชอาณาจักร เมื่อพนักงานศุลกากรได้ลงลายมือชื่อรับรองใน รายงานเรือออกแล้ว ให้ถือว่ารายงานดังกล่าวเป็น ใบปล่อยเรือขาออกของท่าที่เป็นด่านศุลกากรนั้น เพื่อให้เรือเดินทางออกนอกราชอาณาจักรได้ การท ารายงานเรือออกและการยื่นบัญชีสินค้า ส าหรับเรือตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศ ก าหนด
ในกรณีที่มีการส่งมอบอาวุธปืน กระสุนปืน ดินปืน หรือวัตถุระเบิดไว้แก่พนักงานศุลกากรตามมาตรา ๖๗ (๔) เมื่อเรือล านั้นจะออกจากเขตท่าที่เป็น ด่านศุลกากร ให้คืนของดังกล่าวแก่นายเรือ
เรือทุกล าเมื่อเดินทางผ่านด่านตรวจของกรม ศุลกากรเพื่อออกสู่ทะเลต้องลดความเร็วลง และ ให้พนักงานศุลกากรมีอ านาจเรียกให้นายเรือตอบ ค าถามเกี่ยวกับชื่อเรือและสถานที่ที่จะเดินทางไป ได้
เมื่อพ้นก าหนดสิบสี่วันนับแต่วันที่เริ่มบรรทุกของ ขาออกลงในเรือไม่ว่าจะบรรทุกของลงในเรือ ครบถ้วนแล้วหรือไม่แต่เรือยังอยู่ในเขตท่า พนักงานศุลกากรอาจเรียกค่าธรรมเนียมส าหรับ การประจ าการในเรือนั้นได้ อธิบดีอาจยกเว้นการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมตาม วรรคหนึ่งได้หากนายเรือได้แสดงหลักฐานอัน สมควรว่าการชักช้านั้นเกิดจากเหตุสุดวิสัยหรือ เหตุอื่นที่มิอาจหลีกเลี่ยงได้ พนักงานศุลกากรอาจกักเรือที่บรรทุกของตาม วรรคหนึ่งไว้ได้จนกว่านายเรือจะได้ช าระ ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการกัก เรือนั้น
ในกรณีที่ผู้ส่งของออกได้ยื่นใบขนสินค้าขาออก ตามมาตรา ๕๑ ต่อพนักงานศุลกากรแล้วแต่มิได้ น าของนั้นบรรทุกลงในเรือให้แล้วเสร็จก่อนเรือ ออก ให้ผู้ส่งของออกแจ้งเหตุที่ไม่สามารถน าของ นั้นบรรทุกลงในเรือให้แล้วเสร็จต่อพนักงาน ศุลกากรภายในก าหนดสามวันนับแต่วันที่เรือออก จากท่า โดยให้พนักงานศุลกากรบันทึกเหตุ ดังกล่าวไว้ในใบขนสินค้านั้น และให้น าของที่ยัง มิได้บรรทุกลงในเรือนั้นไปเก็บไว้ในสถานที่ที่ พนักงานศุลกากรก าหนด ทั้งนี้ให้ผู้ส่งของ ออกเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการ เก็บของดังกล่าว ให้ผู้ส่งของออกด าเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งกับ ของที่เก็บไว้ตามวรรคหนึ่ง ดังต่อไปนี้
เรือทุกล าเว้นแต่เรือของทางราชการที่จะออกจาก ท่าต้องชักธงลาขึ้นที่เสาหน้าไว้จนกว่าเรือจะออก ถ้าเรือจะออกเวลาบ่ายให้ชักธงลาขึ้นไว้แต่เช้า ถ้า เรือจะออกเวลาเช้าให้ชักธงลาขึ้นไว้ตั้งแต่บ่ายวัน ก่อน
อธิบดีมีอ านาจก าหนดเขตที่จอดเรือภายนอก เพื่อให้เรือขนถ่ายของโดยที่ไม่ต้องเข้ามาในเขตท่า ที่เป็นด่านศุลกากรและให้ก าหนดเวลาที่จะให้ใช้ ที่จอดเรือภายนอกนั้นไว้ด้วย ในกรณีที่มีเหตุฉุกเฉินหรือความจ าเป็นเร่งด่วน อธิบดีอาจอนุญาตให้ขนถ่ายของนอกเขตที่จอด เรือภายนอกได้เป็นการเฉพาะคราว ทั้งนี้อธิบดี อาจก าหนดเงื่อนไขให้ต้องปฏิบัติไว้ด้วยก็ได้
นายเรือที่ประสงค์จะขนถ่ายของในเขตที่จอดเรือ ภายนอก ให้ยื่นค าขออนุญาตต่ออธิบดี การขออนุญาตและการอนุญาตให้ขนถ่ายของใน เขตที่จอดเรือภายนอกตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดี ประกาศก าหนด
ให้นายเรือที่ได้รับอนุญาตให้ขนถ่ายของในเขตที่ จอดเรือภายนอกจัดท าและยื่นบัญชีสินค้าที่จะขน ถ่ายโดยเรือล าเลียงแต่ละล าต่อพนักงานศุลกากร ผู้ก ากับที่จอดเรือภายนอกตามหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศก าหนด เมื่อพนักงานศุลกากรผู้ก ากับที่จอดเรือภายนอก ได้รับบัญชีสินค้าที่จะขนถ่ายตามวรรคหนึ่งและได้ ลงลายมือชื่อรับรองความถูกต้องของบัญชีสินค้า ดังกล่าวแล้ว ให้ถือว่าบัญชีสินค้าดังกล่าวเป็น ใบอนุญาตให้น าของในเรือล าเลียงนั้นเข้าไปยัง เขตท่าที่เป็นด่านศุลกากรได้ เมื่อเรือล าเลียงมาถึงท่าที่เป็นด่านศุลกากรแล้ว ให้นายเรือประจ าเรือล าเลียงนั้นส่งมอบบัญชี สินค้าให้แก่พนักงานศุลกากรประจ าด่านศุลกากร นั้น แล้วจึงขนถ่ายของและด าเนินพิธีการศุลกากร ต่อไป
ห้ามมิให้ขนถ่ายอาวุธปืน กระสุนปืน ดินปืน วัตถุ ระเบิด หรือของต้องก ากัด ณ ที่จอดเรือภายนอก เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากพนักงานศุลกากร
ในกรณีที่จะส่งของออกไปนอกราชอาณาจักรโดย ต้องมีการขนถ่ายในเขตที่จอดเรือภายนอก ผู้ส่ง ของออกต้องยื่นใบขนสินค้าโดยเสียค่าอากรและ ค่าภาระติดพันให้ครบถ้วนก่อน และให้จัดท าและ ยื่นบัญชีสินค้าที่ขนถ่ายโดยเรือล าเลียงแต่ละล า ต่อพนักงานศุลกากรประจ าด่านศุลกากรตาม หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศ ก าหนด เมื่อพนักงานศุลกากรได้รับบัญชีสินค้าที่ขนถ่าย ตามวรรคหนึ่งและได้ลงลายมือชื่อรับรองความ ถูกต้องของบัญชีสินค้าดังกล่าวแล้ว ให้ส่งบัญชี สิินค้านั้นไปกับเรือล าเลียง และเมื่อเรือล าเลียงได้ ไปถึงเขตที่จอดเรือภายนอกแล้ว ให้นายเรือ ประจ าเรือล าเลียงยื่นบัญชีสินค้าแก่พนักงาน ศุลกากรผู้ก ากับที่จอดเรือภายนอกนั้น ในกรณีที่พนักงานศุลกากรผู้ก ากับที่จอดเรือ ภายนอกตรวจสอบแล้วพบว่า รายละเอียดที่แสดง ไว้ในบัญชีสินค้าไม่ตรงกับของที่บรรทุกมาในเรือ ล าเลียงนั้น ให้พนักงานศุลกากรมีอ านาจกักของที่ บรรทุกมาในเรือล าเลียงได้จนกว่าจะแก้ไขบัญชี สินค้าให้ถูกต้อง
ในกรณีที่น าของไปยังเขตที่จอดเรือภายนอกตาม มาตรา ๘๒ แล้วแต่ไม่มีการบรรทุกของนั้นลงใน เรือหรือบรรทุกลงไม่หมด ให้นายเรือหรือผู้ส่งของ ออกด าเนินการอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้
ก่อนที่เรือจะออกจากเขตที่จอดเรือภายนอก นาย เรือซึ่งได้รับอนุญาตให้ท าการขนถ่ายของในเขตที่ จอดเรือภายนอก ไม่ว่าจะเป็นการขนถ่ายของที่ น าเข้ามาในหรือจะส่งออกไปนอกราชอาณาจักร ต้องไปรับเอาใบปล่อยเรือจากพนักงานศุลกากร ประจ าด่านศุลกากรตามหลักเกณฑ์วิธีการและ เงื่อนไขที่อธิบดีประกาศก าหนด โดยต้องใช้ค่า ภาระติดพันให้ครบถ้วน และส่งมอบใบปล่อยเรือ ดังกล่าวให้แก่พนักงานศุลกากรผู้ก ากับที่จอดเรือ ภายนอกนั้น ในกรณีพนักงานศุลกากรผู้ก ากับที่จอดเรือ ภายนอกตรวจสอบพบว่า ยังมีของที่ยังมิได้เสีย อากรค่าธรรมเนียม หรือค่าใช้จ่ายอื่นใดที่พึงต้อง ช าระให้ครบถ้วน ให้พนักงานศุลกากรนั้นมีอ านาจ ยึดใบปล่อยเรือไว้ได้จนกว่าจะได้มีการช าระเงิน ดังกล่าวหรือวางประกันเป็นอย่างอื่น
ให้น าบทบัญญัติมาตรา ๗๑ และมาตรา ๗๗ มา ใช้กับเรือที่มีการขนถ่ายของในเขตที่จอดเรือ ภายนอกด้วย
การขนส่งของเข้ามาในหรือส่งออกไปนอก ราชอาณาจักรตั้งแต่เขตแดนทางบกมายังด่าน ศุลกากร หรือจากด่านศุลกากรไปยังเขตแดนทาง บก ต้องขนส่งตามทางอนุมัติและภายใน ก าหนดเวลาที่อธิบดีประกาศก าหนด การขนส่งของตามทางอื่นนอกจากทางอนุมัติหรือ ในเวลาอื่นนอกจากที่ก าหนดไว้ในวรรคหนึ่งต้อง ได้รับอนุญาตจากอธิบดีตามหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศก าหนด
ในกรณีที่การขนส่งของตามมาตรา ๘๖ เป็นการ ขนส่งตามล าน ้าที่เป็นเขตแดนทางบก ให้อธิบดีมี อ านาจประกาศก าหนดเขตพื้นที่ตามล าน ้าที่เป็น เขตแดนทางบกนั้น เพื่อให้นายเรือจอดเทียบท่า และขนถ่ายของที่น าเข้ามาในหรือส่งออกไปนอก ราชอาณาจักร
ในการขนส่งของผ่านเขตแดนทางบกเข้ามาใน ราชอาณาจักร ให้ผู้ขนส่งปฏิบัติดังต่อไปนี้
ในการขนส่งของผ่านเขตแดนทางบกออกไปนอก ราชอาณาจักร ให้ผู้ขนส่งปฏิบัติดังต่อไปนี้
ในกรณีที่ผู้ส่งของออกได้ยื่นใบขนสินค้าขาออก ตามมาตรา ๕๑ ต่อพนักงานศุลกากรแล้วแต่มิได้ น าของนั้นส่งออกไปภายในก าหนดเจ็ดวันนับแต่ วันตรวจปล่อย ให้ผู้ส่งของออกแจ้งเหตุที่ไม่ สามารถส่งของนั้นออกไปได้ต่อพนักงานศุลกากร ภายในก าหนดสิบวันนับแต่วันที่ท าการตรวจ ปล่อยโดยให้พนักงานศุลกากรบันทึกเหตุดังกล่าว ไว้ในใบขนสินค้านั้น และให้น าของที่ยังมิได้ ส่งออกนั้นไปเก็บไว้ในสถานที่ที่พนักงานศุลกากร ก าหนด ทั้งนี้ให้ผู้ส่งของออกเป็นผู้รับผิดชอบ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการเก็บของดังกล่าว ให้ผู้ส่งของออกด าเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งกับ ของที่เก็บไว้ตามวรรคหนึ่ง ดังต่อไปนี้
กรณีการขนส่งของผ่านเขตแดนทางบกเข้ามาใน หรือส่งออกไปนอกราชอาณาจักร โดยมิได้ใช้ ยานพาหนะ หรือใช้ยานพาหนะที่ไม่มีเครื่องยนต์ หรือใช้สัตว์พาหนะ ผู้ขนส่งต้องหยุดที่ด่าน พรมแดน และให้พนักงานศุลกากรมีอ านาจตรวจ ของที่ขนส่ง ตลอดจนยานพาหนะหรือสัตว์พาหนะ ที่ใช้ในการขนส่งนั้น และให้ผู้ขนส่งท าบัญชี เกี่ยวกับของที่ขนส่งนั้น โดยมีรายละเอียดตาม สมควร
อากาศยานล าใดที่จะเข้ามาในหรือออกไปนอก ราชอาณาจักร เว้นแต่อากาศยานของทางราชการ ต้องลงในหรือขึ้นจากสนามบินที่เป็นด่านศุลกากร
ในกรณีที่มีเหตุฉุกเฉินหรือจ าเป็นอย่างยิ่งท าให้ อากาศยานที่เข้ามาในหรือจะออกไปนอก ราชอาณาจักรต้องลงในหรือขึ้นจากที่ใดนอกจาก สนามบินที่เป็นด่านศุลกากร ให้ผู้ควบคุมอากาศ ยานรายงานต่อพนักงานศุลกากรหรือพนักงาน ฝ่ายปกครองหรือต ารวจโดยพลันตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศก าหนด และ ห้ามมิให้ผู้ควบคุมอากาศยานอนุญาตให้ขนของ ใด ๆออกจากหรือขึ้นในอากาศยานนั้น โดยมิได รับความยินยอมจากพนักงานศุลกากร เมื่ออากาศยานลงหรือขึ้น ณ สนามบินอื่นตาม วรรคหนึ่ง ให้เจ้าของหรือพนักงานประจ า สนามบินนั้นรายงานการลงหรือขึ้นของอากาศ ยานล านั้นต่อพนักงานศุลกากรผู้รับผิดชอบพื้นที่ที่ สนามบินนั้นตั้งอยู่โดยพลัน และต้องไม่ยอมให้ขน ของใด ๆออกจากหรือขึ้นในอากาศยาน โดยมิได้ รับความยินยอมจากพนักงานศุลกากร เมื่อได้ด าเนินการตามที่ก าหนดในวรรคหนึ่งแล้ว ให้ถือว่าอากาศยานนั้นได้ลงในหรือขึ้นจาก สนามบินที่เป็นด่านศุลกากร
ื่ออากาศยานล าใดเข้ามาในราชอาณาจักรเว้น แต่อากาศยานของทางราชการให้ผู้ควบคุมอากาศ ยานท ารายงานอากาศยาน พร้อมทั้งยื่นบัญชี สินค้าส าหรับอากาศยานต่อพนักงานศุลกากร ประจ าสนามบินที่เป็นด่านศุลกากรเพื่อตรวจสอบ การท ารายงานอากาศยานและการยื่นบัญชีสินค้า ส าหรับอากาศยานตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศ ก าหนด ในกรณีที่อากาศยานตามวรรคหนึ่งมาถึง สนามบินที่เป็นด่านศุลกากร และมีของจาก ต่างประเทศอยู่ในอากาศยานและประสงค์จะ ส่งออกไปนอกราชอาณาจักร ให้น าบทบัญญัติ มาตรา ๖๔ วรรคสามมาใช้บังคับโดยอนุโลม
เมื่ออากาศยานล าใดเข้ามาในราชอาณาจักรเว้น แต่อากาศยานของทางราชการให้ผู้ควบคุมอากาศ ยานมีหน้าที่ดังต่อไปนี้
อากาศยานล าใดที่จะออกไปนอกราชอาณาจักร จากสนามบินที่เป็นด่านศุลกากร เว้นแต่อากาศ ยานของทางราชการจะต้องได้รับใบปล่อยอากาศ ยาน โดยให้ผู้ควบคุมอากาศยานมีหน้าที่ท า รายงานอากาศยานและยื่นบัญชีสินค้าส าหรับ อากาศยานต่อพนักงานศุลกากรประจ าสนามบิน ที่เป็นด่านศุลกากรเพื่อตรวจสอบ เมื่อพนักงานศุลกากรได้รับรองรายงานอากาศ ยานแล้ว ให้ถือว่ารายงานดังกล่าวเป็นใบปล่อย อากาศยานเพื่อให้อากาศยานเดินทางออกนอก ราชอาณาจักรได้ การท ารายงานอากาศยานและการยื่นบัญชีสินค้า ส าหรับอากาศยานตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศ ก าหนด
ถ้าอากาศยานที่ได้รับใบปล่อยอากาศยานแล้วได้ ออกจากสนามบินที่เป็นด่านศุลกากรแห่งหนึ่งไป ยังสนามบินที่เป็นด่านศุลกากรแห่งอื่นใน ราชอาณาจักร ให้ผู้ควบคุมอากาศยานท ารายงาน อากาศยานและยื่นบัญชีสินค้าส าหรับอากาศยาน ต่อพนักงานศุลกากรประจ าสนามบินที่เป็นด่าน ศุลกากรนั้น พร้อมทั้งแนบใบปล่อยอากาศยานที่ ออกให้ภายหลังติดไว้กับใบปล่อยอากาศยาน ฉบับแรก และต้องท าเช่นนี้ต่อไปทุก ๆ สนามบินที่ เป็นด่านศุลกากรจนกว่าจะได้รับใบปล่อยอากาศ ยานท้ายสุดออกนอกราชอาณาจักร เมื่อพนักงานศุลกากรได้ลงลายมือชื่อรับรองใน รายงานอากาศยานแล้ว ให้ถือว่ารายงานดังกล่าว เป็นใบปล่อยอากาศยานของสนามบินที่เป็นด่าน ศุลกากรนั้น เพื่อให้อากาศยานเดินทางออกนอก ราชอาณาจักรได้ การท ารายงานและการยื่นบัญชีสินค้าส าหรับ อากาศยานตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศ ก าหนด
ในกรณีที่ผู้ส่งของออกได้ยื่นใบขนสินค้าขาออก ตามมาตรา ๕๑ ต่อพนักงานศุลกากรแล้วแต่มิได้ น าของนั้นบรรทุกลงในอากาศยานให้แล้วเสร็จ ก่อนอากาศยานออก ให้ผู้ส่งของออกแจ้งเหตุที่ไม่ สามารถน าของนั้นบรรทุกลงในอากาศยานให้แล้ว เสร็จต่อพนักงานศุลกากรภายในก าหนดสามวัน นับแต่วันที่อากาศยานออกจากสนามบินที่เป็น ด่านศุลกากร โดยให้พนักงานศุลกากรบันทึกเหตุ ดังกล่าวไว้ในใบขนสินค้านั้น และให้น าของที่ยัง มิได้บรรทุกลงในอากาศยานนั้นไปเก็บไว้ใน สถานที่ที่พนักงานศุลกากรก าหนด ทั้งนี้ให้ผู้ส่ง ของออกเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจาก การเก็บของดังกล่าว ให้ผู้ส่งของออกด าเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งกับ ของที่เก็บไว้ตามวรรคหนึ่ง ดังต่อไปนี้
บุคคลใดประสงค์จะเป็นผู้รับมอบอ านาจจากผู้น า ของเข้า ผู้ส่งของออก หรือผู้น าของผ่านแดนหรือผู้ ขอถ่ายล า ให้เป็นตัวแทนเพื่อด าเนินการอย่างใด ๆเกี่ยวกับของที่น าเข้ามาในหรือส่งออกไปนอก ราชอาณาจักรของเพื่อการผ่านแดน หรือของเพื่อ การถ่ายล า หรือกิจการอื่นใดตามพระราชบัญญัติ นี้ต้องได้รับอนุญาตจากอธิบดีตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศก าหนด ให้ถือว่าบุคคลที่ได้รับอนุญาตให้เป็นตัวแทนตาม วรรคหนึ่ง เป็นเจ้าของของที่ได้น าเข้า ส่งออกผ่าน แดนหรือถ่ายล าด้วย
บุคคลใดประสงค์จะเป็นผู้รับมอบอ านาจจากผู้ ควบคุมยานพาหนะให้เป็นตัวแทนเพื่อกระท า หน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ต้องได้รับอนุญาต จากอธิบดีตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่ อธิบดีประกาศก าหนด
ตัวแทนที่ได้รับอนุญาตตามมาตรา ๙๙ หรือ มาตรา ๑๐๐ ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศก าหนด ในกรณีที่ตัวแทนฝ่ าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามวรรค หนึ่ง ให้อธิบดีมีอ านาจสั่งพักใช้หรือเพิกถอนการ อนุญาตของตัวแทนดังกล่าว โดยไม่ตัดสิทธิที่จะ บังคับหลักประกันที่ตัวแทนให้ไว้ตามจ านวนที่ เห็นสมควรและไม่ท าให้ผู้นั้นหลุดพ้นจากความรับ ผิดทางอาญาตามพระราชบัญญัตินี้หรือตาม กฎหมายอื่น
้ใดน าของเข้ามาเพื่อการผ่านแดนหรือการถ่าย ล าออกนอกราชอาณาจักรให้ยื่นใบขนสินค้าตาม แบบ และปฏิบัติตามหลักเกณฑ์วิธีการและ เงื่อนไขที่อธิบดีประกาศก าหนด ของตามวรรคหนึ่งไม่อยู่ภายใต้ความรับผิดที่ จะต้องเสียอากร หากได้ปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง และ ได้น าของออกไปนอกราชอาณาจักรภายใน สามสิบวันนับแต่วันที่น าเข้ามาในราชอาณาจักร การผ่านแดนที่มีการข้ามแดนทางบกให้กระท าได้ ต่อเมื่อมีความตกลงระหว่างประเทศ
ในกรณีที่ผู้น าของเข้าเพื่อการผ่านแดนหรือการ ถ่ายล าไม่น าของออกไปนอกราชอาณาจักร ภายในระยะเวลาตามมาตรา ๑๐๒ วรรคสอง หรือขอเปลี่ยนการผ่านพิธีการศุลกากรเป็นการ น าเข้าและได้ปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้แล้ว แต่ไม่เสียอากรหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมายอื่นที่ เกี่ยวข้องกับการศุลกากรภายในระยะเวลา ดังกล่าว ให้ของนั้นตกเป็นของแผ่นดิน
ในกรณีที่มีเหตุอันควรเชื่อได้ว่าของที่น าเข้ามา เพื่อการผ่านแดนหรือการถ่ายล าเป็นของที่มี ลักษณะดังต่อไปนี้ให้พนักงานศุลกากรมีอ านาจ ตรวจหรือค้นของนั้นได้โดยไม่ต้องมีหมายค้น
การตรวจหรือค้นตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศ ก าหนด
ในกรณีที่มีหลักฐานชัดแจ้งว่าของใดเป็นของที่มี ลักษณะตามมาตรา ๑๐๔ ให้ของนั้นเป็นของอัน จะพึงต้องริบ ไม่ว่าจะมีผู้ถูกลงโทษตามค า พิพากษาหรือไม่และอธิบดีอาจสั่งให้ท าลายโดย ิธีการที่ปลอดภัยต่อบุคคล สัตว์พืช ทรัพย์สิน และสิ่งแวดล้อม หรือให้ส่งกลับออกไปโดยพลัน หรืออาจสั่งให้ด าเนินการอื่นใดตามสมควรเพื่อให้ ไม่สามารถน าของนั้นมาใช้ได้อีกหรือเพื่อให้ของ ดังกล่าวสามารถน ามาใช้ได้โดยไม่ผิดกฎหมาย โดยให้ผู้ขนส่งหรือผู้ควบคุมยานพาหนะเป็นผู้เสีย ค่าใช้จ่ายในการนั้น
ให้น าข้อห้ามหรือข้อจ ากัดส าหรับการน าผ่านตาม กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องมาใช้บังคับกับของที่ น าเข้ามาเพื่อการผ่านแดนหรือการถ่ายล า โดย ค านึงถึงศีลธรรมอันดีของประชาชน นโยบาย สาธารณะ ความปลอดภัยของสาธารณชน การ ปกป้องชีวิตและสุขภาพของมนุษย์สัตว์หรือพืช และการปกป้องการครอบครองสมบัติของชาติใน ด้านศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์หรือค่านิยม ทางโบราณคดีหรือการปกป้องทรัพย์สินทางการ ค้าหรืออุตสาหกรรม รวมทั้งการปฏิบัติตาม พันธกรณีระหว่างประเทศที่ประเทศไทยมีอยู่ด้วย
ให้ของที่อยู่ในอารักขาของศุลกากรที่มีลักษณะ อย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้เป็นของตกค้าง
ในการด าเนินการกับของตกค้างตาม พระราชบัญญัตินี้ให้อธิบดีมีอ านาจ ดังต่อไปนี้
การด าเนินการกับของตกค้างตามวรรคหนึ่ง ให้ เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดี ประกาศก าหนด และในกรณีที่เป็นการด าเนินการ กับของตกค้างตามมาตรา ๑๐๗ (๑) ต้องค านึงถึง อันตรายที่อาจเกิดขึ้นประกอบด้วย การท าลายของตกค้างตาม (๑) หรือ(๒) แล้วแต่ กรณีให้ด าเนินการโดยวิธีที่ปลอดภัยต่อบุคคล สัตว์พืช ทรัพย์สิน และสิ่งแวดล้อม ถ้าอธิบดีเห็นว่า การขายทอดตลาดตาม (๑) จะ ไม่ได้เงินเท่าที่ควรหรือมีเหตุอันสมควรประการอื่น อธิบดีจะสั่งให้ขายโดยวิธีอื่นก็ได้แต่ในกรณีที่ อธิบดีเห็นว่า การขายทอดตลาดหรือขายโดยวิธ อื่นนั้นจะไม่ได้เงินหรือประโยชน์เท่าที่ควร หรือ อาจท าให้เกิดความเสียหายอย่างหนึ่งอย่างใด อธิบดีจะสั่งให้จัดการกับของนั้นตามวิธีการที่ อธิบดีเห็นสมควรก็ได้
ถ้าของที่ยังมิได้รับมอบไปจากอารักขาของ ศุลกากรเป็นของที่มีสภาพเป็นของสด ของเสียได้ และปรากฏว่าของนั้นได้บูดเน่าหรือเสียแล้ว อธิบดีจะสั่งให้ท าลายหรือจัดการกับของนั้นตาม วิธีการที่อธิบดีเห็นสมควรเมื่อใดก็ได้โดยอาจ เรียกเก็บค่าใช้จ่ายจากผู้น าของเข้าหรือผู้ขนส่ง ด้วยก็ได้
เงินที่ได้จากการขายทอดตลาดหรือขายโดยวิธีอื่น ตามมาตรา ๑๐๘ ให้หักใช้ค่าอากร ค่าเก็บรักษา ค่าขนย้าย หรือค่าภาระติดพันอย่างอื่นที่ค้างช าระ แก่กรมศุลกากร รวมทั้งค่าภาษีอากรตาม กฎหมายอื่นก่อน เหลือเท่าใดให้ใช้ค่าภาระติดพัน ต่างๆ ที่ต้องช าระแก่ผู้เก็บรักษาและผู้ขนส่ง ตามล าดับ เมื่อได้หักใช้เช่นนี้แล้วยังมีเงินเหลืออยู่ อีกเท่าใดให้ตกเป็นของแผ่นดิน เว้นแต่เจ้าของจะ ได้ขอคืนภายในก าหนดหกเดือนนับแต่วันที่ได้ขาย ของนั้น
การจัดตั้งคลังสินค้าทัณฑ์บนให้ด าเนินการได้เพื่อ วัตถุประสงค์ตามที่ก าหนดไว้ในมาตรา ๑๑๖ ตาม หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศ ก าหนด การจัดตั้งโรงพักสินค้าหรือที่มั่นคงให้ด าเนินการ ได้เพื่อเป็นสถานที่ส าหรับตรวจเก็บ หรือตรวจ ปล่อยของน าเข้าหรือของส่งออกที่ยังมิได้เสีย อากร การจัดตั้งท่าเรือรับอนุญาตให้ด าเนินการได้เพื่อ น าของเข้ามาในหรือส่งของออกไปนอก ราชอาณาจักร การผ่านแดน หรือการถ่ายล า
ผู้ใดประสงค์จะจัดตั้งคลังสินค้าทัณฑ์บน โรงพัก สินค้า ที่มั่นคง หรือท่าเรือรับอนุญาต ต้องได้รับ ใบอนุญาตจากอธิบดี การขออนุญาตและการอนุญาตตามวรรคหนึ่ง ให้ เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่ ก าหนดในกฎกระทรวงและเมื่อได้รับอนุญาตแล้ว จึงจะด าเนินการจัดตั้งคลังสินค้าทัณฑ์บน โรงพัก สินค้าที่มั่นคง หรือท่าเรือรับอนุญาตนั้นได้ ในระหว่างที่มีการยื่นค าขออนุญาตจัดตั้งโรงพัก สินค้า ที่มั่นคง หรือท่าเรือรับอนุญาตหากอธิบดี เห็นว่ามีความจ าเป็นอาจอนุญาตให้จัดตั้งโรงพัก สินค้า ที่มั่นคง หรือท่าเรือรับอนุญาตชั่วคราวไป พลางก่อนได้โดยผู้ขอรับใบอนุญาตต้องแสดง แผนผังเกี่ยวกับสถานที่ตั้งและด าเนินการตาม หลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศ ก าหนด
นอกจากค่าธรรมเนียมใบอนุญาต ผู้ได้รับ ใบอนุญาตตามมาตรา ๑๑๒ ต้องเสีย ค่าธรรมเนียมรายปีทุกปี ในกรณีที่ผู้ได้รับใบอนุญาตตามวรรคหนึ่งไม่ช าระ ค่าธรรมเนียมรายปีเมื่อครบก าหนดที่ต้องช าระให อธิบดีมีหนังสือแจ้งเตือนให้ผู้ได้รับใบอนุญาต ช าระภายในระยะเวลาที่ก าหนด
ในกรณีที่ใบอนุญาตตามมาตรา ๑๑๒ สูญหาย ถูกท าลาย หรือช ารุดในสาระส าคัญ ให้ผู้ได้รับ ใบอนุญาตยื่นค าขอรับใบแทนใบอนุญาตภายใน ก าหนดสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับทราบถึงการสูญ หาย ถูกท าลาย หรือช ารุดดังกล่าว การขอรับใบแทนใบอนุญาตและการออกใบแทน ใบอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการและ เงื่อนไขที่อธิบดีประกาศก าหนด
ผู้ได้รับใบอนุญาตตามมาตรา ๑๑๒ ต้องแสดง ใบอนุญาตหรือใบแทนใบอนุญาต แล้วแต่กรณีไว้ ในที่เปิดเผยเห็นได้ง่าย ณ สถานที่ท าการของผู้ ได้รับใบอนุญาตนั้น
ในคลังสินค้าทัณฑ์บนให้ด าเนินการได้ในเรื่อง ดังต่อไปนี้
อธิบดีอาจเรียกประกันจากผู้ได้รับใบอนุญาตให้ จัดตั้งคลังสินค้าทัณฑ์บนโดยให้ท าทัณฑ์บนหรือ ให้ประกันอย่างอื่น เพื่อเป็นประกันค่าอากรหรือ ค่าใช้จ่ายอย่างอื่นซึ่งกรมศุลกากรอาจเรียกร้องได้ ตามกฎหมายหรือข้อตกลงก็ได้
การตรวจของที่เก็บไว้ในคลังสินค้าทัณฑ์บน โรงพักสินค้า หรือที่มั่นคงใดให้กระท า ณ คลังสินค้าทัณฑ์บน โรงพักสินค้า หรือที่มั่นคงนั้น ในกรณีที่เห็นสมควรอธิบดีจะสั่งให้ท าการตรวจ ของเข้าหรือตรวจของออก ณ สถานที่ใดสถานที่ หนึ่งนอกจากที่ก าหนดในวรรคหนึ่งก็ได้ ทั้งนี้ตาม หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศ ก าหนด
ในกรณีที่มีความจ าเป็นเพื่อประโยชน์ในการ ด าเนินพิธีการศุลกากร พนักงานศุลกากรผู้ก ากับ ท่าเรือรับอนุญาต จะสั่งให้เอาของที่ยังไม่ได้ตรวจ เข้าเก็บไว้ในโรงพักสินค้าหรือที่มั่นคงก็ได้
ของที่เก็บในโรงพักสินค้าหรือที่มั่นคง ต้องเก็บไว้ ในหีบห่อหรือภาชนะบรรจุเดิมตามที่ได้น าเข้ามา เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากพนักงานศุลกากรให้ เคลื่อนย้ายหีบห่อหรือภาชนะบรรจุได้ณ ท่าเรือ รับอนุญาต หรืออนุญาตให้น ามารวม คัดเลือก แบ่งแยก บรรจุหรือกลับบรรจุใหม่ ในโรงพักสินค้า หรือที่มั่นคงนั้น และให้พนักงานศุลกากรจด รายการของที่เก็บนั้นไว้ การเปลี่ยนแปลง การเคลื่อนย้าย หรือการ ด าเนินการใด ๆแก่ของ หีบห่อ หรือภาชนะบรรจุ เครื่องหมายและเลขหมายก ากับหีบห่อไปจากที่ เก็บไว้ตามวรรคหนึ่ง ต้องได้รับอนุญาตจาก พนักงานศุลกากร หรือมีอ านาจด าเนินการได้ตาม กฎหมาย ของ หีบห่อ หรือภาชนะบรรจุใด ที่มีการ เปลี่ยนแปลง การเคลื่อนย้าย หรือการด าเนินการ ใด ๆโดยมิได้เป็นไปตามที่ก าหนดในวรรคสอง ให้ ริบเสียทั้งสิ้น
ของที่ยังไม่ได้ตรวจจะเคลื่อนย้าย น ามารวม คัดเลือก แบ่งแยก บรรจุหรือกลับบรรจุใหม่ซึ่ง ของนั้น ณ ท่าเรือรับอนุญาต หรือสถานที่ส าหรับ ขนถ่ายของจากยานพาหนะมิได้เว้นแต่จะได้รับ อนุญาตจากพนักงานศุลกากรและต้องมีพนักงาน ศุลกากรก ากับตรวจตราอยู่ด้วย ของที่มีการเคลื่อนย้าย น ามารวม คัดเลือก แบ่งแยก บรรจุหรือกลับบรรจุใหม่ โดยมิได้เป็นไป ตามที่ก าหนดในวรรคหนึ่ง ให้ริบเสียทั้งสิ้น
ของที่เก็บในคลังสินค้าทัณฑ์บนหนึ่งจะย้ายไป เก็บไว้ในคลังสินค้าทัณฑ์บนอื่นหรือของที่เก็บใน โรงพักสินค้าหรือที่มั่นคงหนึ่งจะย้ายไปเก็บไว้ใน โรงพักสินค้าหรือที่มั่นคงอื่นก็ได้โดยให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดี ประกาศก าหนด
การน าของเข้าไปในหรือการปล่อยของออก การ เก็บของ การขนถ่ายของ การตรวจตราและการ ควบคุมของ ในคลังสินค้าทัณฑ์บน โรงพักสินค้า ที่มั่นคงและท่าเรือรับอนุญาตให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศ ก าหนด
เมื่อผู้น าของเข้าหรือผู้ส่งของออกได้ยื่นใบขน สินค้าและได้ขนของเข้าเก็บในคลังสินค้าทัณฑ์บน โดยได้ปฏิบัติตามกฎหมาย รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศก าหนดแล้ว ให้พนักงานศุลกากรรับรองรายละเอียดแห่งของ นั้น และให้ถือว่าของที่ขนเข้าเก็บนั้นได้เก็บใน คลังสินค้าทัณฑ์บนโดยถูกต้องแล้ว รายละเอียดแห่งของซึ่งพนักงานศุลกากรได้รับรอง ตามวรรคหนึ่ง ให้ใช้ส าหรับประเมินอากรแก่ของ นั้น แต่ในกรณีที่ได้ใช้ของดังกล่าวเพื่อการผลิต ผสม ประกอบ บรรจุหรือด าเนินการด้วยวิธีอื่นใด ในคลังสินค้าทัณฑ์บน ให้ค านวณปริมาณที่ใช้ ตามหลักเกณฑ์ที่อธิบดีประกาศก าหนดหรือ เห็นชอบ ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตให้จัดตั้งคลังสินค้าทัณฑ์บน จัดท าและยื่นรายงานการขนของตามวรรคหนึ่ง เข้าเก็บในคลังสินค้าทัณฑ์บนตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศก าหนด
ในกรณีที่ปรากฏว่าของในคลังสินค้าทัณฑ์บน โรงพักสินค้า หรือที่มั่นคง มีปริมาณแตกต่างจาก ที่ผู้ได้รับใบอนุญาตแจ้งไว้ต่อพนักงานศุลกากรใน เวลาที่น าของนั้นเข้าเก็บโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ให้ถือว่าของตามปริมาณที่แตกต่างกันนั้นเป็นของ ที่ยังมิได้ผ่านพิธีการศุลกากร
ให้ยกเว้นการเก็บอากรขาเข้าและอากรขาออกแก่ ของที่ปล่อยออกไปจากคลังสินค้าทัณฑ์บนเพื่อ ส่งออกนอกราชอาณาจักร ทั้งนี้ไม่ว่าจะปล่อย ออกไปในสภาพเดิมที่น าเข้าหรือในสภาพอื่น การปล่อยของออกไปจากคลังสินค้าทัณฑ์บน หากเป็นการโอนเข้าไปในคลังสินค้าทัณฑ์บนอื่น หรือจ าหน่ายให้แก่ผู้น าของเข้าตามมาตรา ๒๙ หรือผู้มีสิทธิได้รับยกเว้นอากรตามกฎหมายว่า ด้วยพิกัดอัตราศุลกากรหรือกฎหมายอื่น ให้ถือว่า เป็นการส่งออกไปนอกราชอาณาจักรในเวลาที่ ปล่อยของเช่นว่านั้นออกไปจากคลังสินค้าทัณฑ์ บน โดยให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์วิธีการและ เงื่อนไขที่อธิบดีประกาศก าหนด การรับของที่ได้โอนหรือจ าหน่ายตามวรรคสอง ให้ ถือว่าเป็นการน าเข้ามาในราชอาณาจักรหรือ น าเข้าส าเร็จในเวลาที่ปล่อยของเช่นว่านั้นออกไป จากคลังสินค้าทัณฑ์บน โดยให้ปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศ ก าหนด มิให้น าความในวรรคหนึ่งมาใช้บังคับกับการน า ของในราชอาณาจักรที่ต้องเสียอากรขาออกเข้าไป ในคลังสินค้าทัณฑ์บน และได้ส่งออกไปนอก ราชอาณาจักรในสภาพเดิม
ในกรณีที่ของใดมีกฎหมายบัญญัติให้ได้รับการ ยกเว้นหรือคืนอากรเมื่อส่งออกไปนอก ราชอาณาจักร หากน าของนั้นเข้าไปในคลังสินค้า ทัณฑ์บนตามมาตรา ๑๑๖ (๒) หรือ(๓) ให้ได้รับ การยกเว้นหรือคืนอากร โดยถือว่าของนั้นได้ ส่งออกนอกราชอาณาจักรในเวลาที่ได้น าของเช่น ว่านั้นเข้าไปในคลังสินค้าทัณฑ์บน ทั้งนี้โดยให้ ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดี ประกาศก าหนด
อธิบดีอาจยกเว้นหรือคืนอากรให้แก่ผู้น าของเข้า ส าหรับของที่สูญหายหรือถูกท าลายโดยเหตุ สุดวิสัยหรืออุบัติเหตุอันมิอาจหลีกเลี่ยงได้ในกรณี ดังต่อไปนี้
ผู้ได้รับใบอนุญาตตามมาตรา ๑๑๒ ผู้ใดประสงค์ จะเลิกการด าเนินการ ให้แจ้งเป็นหนังสือให้อธิบดี ทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสามสิบวันก่อนวันที่จะ เลิกการด าเนินการ การแจ้งเลิกการด าเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้ เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่ ก าหนดในกฎกระทรวง
ผู้ได้รับใบอนุญาตจัดตั้งคลังสินค้าทัณฑ์บน โรงพักสินค้า หรือที่มั่นคงที่แจ้งการเลิกการ ด าเนินการตามมาตรา ๑๒๙ ต้องหยุดการ ด าเนินการตามที่ได้รับอนุญาต ในกรณีที่เป็นคลังสินค้าทัณฑ์บนให้จัดการกับของ ที่เก็บในคลังสินค้าทัณฑ์บนอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้
ในกรณีที่เป็นโรงพักสินค้าหรือที่มั่นคง ให้ถือว่า ของที่เก็บในโรงพักสินค้าหรือที่มั่นคงนั้นเป็นของ ตกค้างและให้ด าเนินการกับของนั้นตามที่ก าหนด ไว้ในมาตรา ๑๐๘ อธิบดีจะอนุญาตให้ผู้ได้รับใบอนุญาตจัดตั้ง คลังสินค้าทัณฑ์บน โรงพักสินค้าหรือที่มั่นคงเลิก การด าเนินการได้ต่อเมื่อได้มีการด าเนินการตาม วรรคสองหรือวรรคสามแล้วและให้ใบอนุญาต สิ้นสุดลงนับแต่วันที่ได้รับอนุญาตให้เลิกการ ด าเนินการนั้น
ในกรณีที่ผู้ได้รับใบอนุญาตจัดตั้งคลังสินค้าทัณฑ์ บน ซึ่งได้แจ้งการเลิกการด าเนินการตามมาตรา ๑๒๙ แต่ไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๓๐ ภายใน ระยะเวลาที่อธิบดีก าหนดให้อธิบดีมีค าสั่งเพิก ถอนใบอนุญาตให้จัดตั้งคลังสินค้าทัณฑ์บน และ ให้ของที่อยู่ในคลังสินค้าทัณฑ์บนนั้นเป็นของที่ ต้องเสียอากรนับแต่วันที่อธิบดีมีค าสั่งเพิกถอน ใบอนุญาตดังกล่าว โดยให้ค านวณอากรตาม มาตรา ๑๔ (๑)
ผู้ได้รับใบอนุญาตตาม มาตรา ๑๑๒ ผู้ใดไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติไม่ถูกต้อง ตามพระราชบัญญัตินี้กฎกระทรวง หรือประกาศ ที่ออกตามพระราชบัญญัตินี้ หรือเงื่อนไขใน ใบอนุญาตให้อธิบดีมีหนังสือเตือนให้ปฏิบัติหรือ ปฏิบัติให้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่ก าหนด ถ้าผู้ นั้นไม่ปฏิบัติตามให้อธิบดีสั่งพักใช้ใบอนุญาต ผู้ได้รับใบอนุญาตซึ่งถูกพักใช้ใบอนุญาตต้องหยุด ด าเนินการตามใบอนุญาตเป็นการชั่วคราวภายใน ระยะเวลาที่อธิบดีก าหนด
อธิบดีมีอ านาจสั่งยกเลิกค าสั่งพักใช้ใบอนุญาต ตามมาตรา ๑๓๒ ก่อนก าหนดเวลาได้เมื่อปรากฏ ว่าผู้ถูกพักใช้ใบอนุญาตนั้นได้ปฏิบัติถูกต้องตาม พระราชบัญญัตินี้กฎกระทรวง หรือประกาศที่ ออกตามพระราชบัญญัตินี้หรือเงื่อนไขใน ใบอนุญาตแล้ว
ให้อธิบดีมีอ านาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตตาม มาตรา ๑๑๒ เมื่อผู้ได้รับใบอนุญาตกระท าการ อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้
ค าสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือค าสั่งเพิกถอน ใบอนุญาตตามมาตรา ๑๓๒ หรือมาตรา ๑๓๔ ให้ท าเป็นหนังสือแจ้งผู้ได้รับใบอนุญาตทราบ และ ให้ปิดประกาศหนังสือแจ้งการพักใช้ใบอนุญาต หรือเพิกถอนใบอนุญาตดังกล่าวไว้ในที่เปิดเผย ณ สถานที่ท าการของผู้ได้รับใบอนุญาต ให้น าบทบัญญัติมาตรา ๑๓๐ และมาตรา ๑๓๑ มาใช้บังคับกับผู้ได้รับใบอนุญาตซึ่งถูกเพิกถอน ใบอนุญาตโดยอนุโลม
ผู้ใดประสงค์จะจัดตั้งเขตปลอดอากรเพื่อ ประโยชน์ทางอากรศุลกากรในการประกอบ อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม หรือกิจการอื่นที่เป็น ประโยชน์แก่การเศรษฐกิจของประเทศต้องได้รับ ใบอนุญาตจากอธิบดี การขออนุญาตและการอนุญาตตามวรรคหนึ่ง ให้ เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่ ก าหนดในกฎกระทรวงและเมื่อได้รับอนุญาตแล้ว จึงจะด าเนินการจัดตั้งเขตปลอดอากรนั้นได้
ของที่น าเข้าไปในเขตปลอดอากรให้ได้รับยกเว้น หรือคืนอากรตามที่กฎหมายบัญญัต
ผู้ยื่นค าขอรับใบอนุญาตจัดตั้งเขตปลอดอากรต้อง มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้
นอกจากค่าธรรมเนียมใบอนุญาตจัดตั้งเขตปลอด อากร ผู้ได้รับใบอนุญาตจัดตั้งเขตปลอดอากรต้อง เสียค่าธรรมเนียมรายปีทุกปี ในกรณีที่ผู้ได้รับใบอนุญาตตามวรรคหนึ่งไม่ช าระ ค่าธรรมเนียมรายปีเมื่อครบก าหนดที่ต้องช าระให้ อธิบดีมีหนังสือแจ้งเตือนให้ผู้ได้รับใบอนุญาต ช าระภายในระยะเวลาที่ก าหนด
ในกรณีที่ใบอนุญาตจัดตั้งเขตปลอดอากรสูญหาย ถูกท าลาย หรือช ารุดในสาระส าคัญ ให้ผู้ได้รับ ใบอนุญาตยื่นค าขอรับใบแทนใบอนุญาตภายใน ก าหนดสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับทราบถึงการสูญ หาย ถูกท าลาย หรือช ารุดดังกล่าว การขอรับใบแทนใบอนุญาตและการออกใบแทน ใบอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการและ เงื่อนไขที่อธิบดีประกาศก าหนด
ผู้ได้รับใบอนุญาตจัดตั้งเขตปลอดอากรต้องแสดง ใบอนุญาตหรือใบแทนใบอนุญาต แล้วแต่กรณีไว้ ในที่เปิดเผยเห็นได้ง่าย ณ สถานที่ท าการของผู้ ได้รับใบอนุญาตนั้น
ผู้ได้รับใบอนุญาตจัดตั้งเขตปลอดอากรผู้ใด ประสงค์จะเลิกการด าเนินการให้แจ้งเป็นหนังสือ ให้อธิบดีทราบล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่าเก้า สิบวันก่อนวันที่จะเลิกการด าเนินการ การแจ้งเลิกการด าเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้ เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่ ก าหนดในกฎกระทรวง
ผู้ได้รับใบอนุญาตจัดตั้งเขตปลอดอากรที่แจ้งการ เลิกการด าเนินการตามมาตรา ๑๔๒ ต้องหยุดการ ด าเนินการตามที่ได้รับอนุญาตและแจ้งให้ผู้ได้รับ ใบอนุญาตประกอบกิจการในเขตปลอดอากร ด าเนินการอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้
อธิบดีจะอนุญาตให้ผู้ได้รับใบอนุญาตจัดตั้งเขต ปลอดอากรเลิกการด าเนินการได้ต่อเมื่อได้มีการ ด าเนินการตามวรรคหนึ่งแล้วและให้ใบอนุญาต สิ้นสุดลงนับแต่วันที่ได้รับอนุญาตให้เลิกการ ด าเนินการนั้น
ในกรณีที่ผู้ได้รับใบอนุญาตจัดตั้งเขตปลอดอากร ซึ่งได้แจ้งการเลิกการด าเนินการตามมาตรา ๑๔๒ แต่ไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๔๓ ภายในระยะเวลาที่ อธิบดีก าหนด ให้อธิบดีมีค าสั่งเพิกถอน ใบอนุญาตจัดตั้งเขตปลอดอากร และให้สิทธิ ประโยชน์ส าหรับของที่อยู่ในเขตปลอดอากรนั้น สิ้นสุดลงและให้ของที่อยู่ในเขตปลอดอากรนั้น เป็นของที่ต้องเสียอากรนับแต่วันที่อธิบดีมีค าสั่ง เพิกถอนใบอนุญาตดังกล่าว โดยให้ค านวณอากร ตามมาตรา ๑๕๔
ให้น าบทบัญญัติมาตรา ๑๓๒ มาตรา ๑๓๓ มาตรา ๑๓๔ มาตรา ๑๓๕ วรรคหนึ่ง มาตรา ๑๔๓ และมาตรา ๑๔๔ มาใช้บังคับกับการพักใช้ และการเพิกถอนใบอนุญาตจัดตั้งเขตปลอดอากร โดยอนุโลม
ผู้ใดประสงค์จะประกอบกิจการในเขตปลอดอากร ต้องได้รับใบอนุญาตจากอธิบดี การขออนุญาตและการอนุญาตตามวรรคหนึ่ง ให้ เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่ ก าหนดในกฎกระทรวงและเมื่อได้รับอนุญาตแล้ว จึงจะประกอบกิจการในเขตปลอดอากรนั้นได้
ผู้ยื่นค าขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการในเขต ปลอดอากรต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะ ต้องห้าม ดังต่อไปนี้
ให้น าบทบัญญัติมาตรา ๑๓๙ มาตรา ๑๔๐ มาตรา ๑๔๑ มาตรา ๑๔๒ มาตรา ๑๔๓ มาตรา ๑๔๔ และมาตรา ๑๔๕ รวมทั้งบทก าหนดโทษที่ เกี่ยวข้อง มาใช้บังคับแก่ผู้ได้รับใบอนุญาตให้ ประกอบกิจการในเขตปลอดอากรโดยอนุโลม
ผู้ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบกิจการในเขตปลอด อากรต้องประกอบกิจการตามที่ขออนุญาตอัน เป็นกิจการที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการ จัดตั้งเขตปลอดอากรนั้น ในกรณีที่ผู้ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบกิจการใน เขตปลอดอากรมีความประสงค์จะเปลี่ยนแปลง เพิ่ม หรือลดประเภทกิจการที่จะด าเนินการ ต้อง ขออนุญาตต่ออธิบดีตามหลักเกณฑ์วิธีการและ เงื่อนไขที่อธิบดีประกาศก าหนด และเมื่อได้รับ อนุญาตแล้วจึงจะด าเนินการต่อไปได้
เพื่อประโยชน์ในการควบคุมเขตปลอดอากร ให้ อธิบดีมีอ านาจออกประกาศก าหนดประเภทหรือ ชนิดแห่งของที่จะน าเข้าไปในหรือปล่อยออกจาก เขตปลอดอากรและก าหนดหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่เห็นสมควร
ให้ของที่น าเข้ามาในราชอาณาจักรเพื่อน าเข้าไป ในเขตปลอดอากรได้รับยกเว้นอากรขาเข้า ใน กรณีดังต่อไปนี้
การยกเว้นอากรขาเข้าและอากรขาออกตามวรรค หนึ่งและวรรคสอง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่ก าหนดในกฎกระทรวง
ในกรณีการน าของเข้ามาในราชอาณาจักรหรือน า วัตถุดิบภายในราชอาณาจักรเข้าไปในเขตปลอด อากรเพื่อผลิต ผสม ประกอบ บรรจุหรือ ด าเนินการด้วยวิธีอื่นใดกับของนั้นโดยมี วัตถุประสงค์เพื่อส่งออกไปนอกราชอาณาจักร ให้ ของนั้นได้รับยกเว้นไม่อยู่ภายใต้บังคับของ กฎหมายในส่วนที่เกี่ยวกับการควบคุมมาตรฐาน หรือคุณภาพ การประทับตราหรือเครื่องหมาย ใด ๆแก่ของนั้น การน าของหรือวัตถุดิบตามที่ก าหนดในวรรคหนึ่ง เข้าไปในเขตปลอดอากรให้ของนั้นได้รับยกเว้นไม่ อยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายในส่วนที่เกี่ยวกับ การควบคุมการน าเข้ามาในราชอาณาจักร การ ส่งออกไปนอกราชอาณาจักร การครอบครองหรือ การใช้ประโยชน์ซึ่งของดังกล่าวเฉพาะในพื้นที่ ตามที่ก าหนดในกฎกระทรวง การปล่อยของที่ได้รับยกเว้นตามวรรคหนึ่งและ วรรคสองออกจากเขตปลอดอากรเพื่อใช้หรือ จ าหน่ายในราชอาณาจักรจะต้องปฏิบัติตาม กฎหมายในส่วนที่เกี่ยวกับการควบคุมการน าเข้า มาในราชอาณาจักร การครอบครองหรือใช้ ประโยชน์ซึ่งของดังกล่าว หรือเกี่ยวกับการควบคุม มาตรฐานหรือคุณภาพ การประทับตรา หรือ เครื่องหมายใด ๆแก่ของนั้นนับแต่วันที่น าออก จากเขตปลอดอากร โดยถือเสมือนว่าของนั้นได้ น าเข้ามาในราชอาณาจักรในวันที่น าออกจากเขต ปลอดอากร การน าของเข้าหรือการปล่อยของออกจากเขต ปลอดอากรตามวรรคหนึ่ง วรรคสองและวรรค สาม ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการและ เงื่อนไขที่อธิบดีประกาศก าหนด
ในกรณีที่มีกฎหมายบัญญัติให้ของใดได้รับยกเว้น หรือคืนอากรเมื่อส่งออกไปนอกราชอาณาจักร หากน าของนั้นเข้าไปในเขตปลอดอากร ให้ได้รับ ยกเว้นหรือคืนอากร โดยให้ถือว่าของนั้นได้ส่งออก ไปนอกราชอาณาจักรในเวลาที่ได้น าของเช่นว่า นั้นเข้าไปในเขตปลอดอากร ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศก าหนด
ของที่ปล่อยออกไปจากเขตปลอดอากรเพื่อน าเข้า มาในราชอาณาจักรไม่ว่าของนั้นจะน าเข้ามาจาก นอกราชอาณาจักรหรือจากในราชอาณาจักร ให้ ค านวณอากรตามสภาพแห่งของราคาศุลกากร และพิกัดอัตราศุลกากรที่เป็นอยู่ในเวลาที่ปล่อย ของนั้นออกไปจากเขตปลอดอากร ในกรณีที่น าของที่มีอยู่ในราชอาณาจักรเข้าไปใน เขตปลอดอากร โดยของที่น าเข้าไปนั้นไม่มีสิทธ หรือไม่ได้ใช้สิทธิยกเว้นหรือคืนอากรเมื่อส่งออก ไม่ต้องน าของดังกล่าวมาค านวณอากร การค านวณอากรตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศ ก าหนด
การน าของออกจากเขตปลอดอากรเพื่อใช้หรือ จ าหน่ายภายในราชอาณาจักรหรือเพื่อโอนเข้าไป ในคลังสินค้าทัณฑ์บน หรือจ าหน่ายให้แก่ผู้น า ของเข้าตามมาตรา ๒๙ หรือผู้มีสิทธิได้รับยกเว้น อากรตามกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราศุลกากรหรือ กฎหมายอื่น ให้ถือว่าเป็นการน าเข้ามาใน ราชอาณาจักรและเป็นการน าเข้าส าเร็จในเวลาที่ น าของเช่นว่านั้นออกจากเขตปลอดอากร ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดี ประกาศก าหนด การน าของในเขตปลอดอากรไปใช้เพื่อประโยชน์ อย่างอื่นนอกวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งเขตปลอด อากร หรือการประกอบกิจการในเขตปลอดอากร ให้ถือว่าเป็นการน าของออกจากเขตปลอดอากร เว้นแต่เป็นการน าออกไปเพื่อก าจัดหรือท าลาย ของที่เสียหาย ของที่ใช้ไม่ได้หรือของที่ไม่ได้ใช้ซึ่ง อยู่ภายในเขตปลอดอากร โดยได้รับอนุญาตจาก อธิบดี ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่ อธิบดีประกาศก าหนด
การน าของเข้าไปในหรือปล่อยของออก การเก็บ ของ การขนถ่ายของ การตรวจตราและการ ควบคุมของในเขตปลอดอากร ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศ ก าหนด
ในกรณีที่มีเหตุอันควรสงสัยว่า มีการฝ่ าฝืนหรือไม่ ปฏิบัติตามบทบัญญัติของพระราชบัญญัตินี้หรือ กฎหมายอื่นที่เกี่ยวกับการศุลกากร ให้พนักงาน ศุลกากรซึ่งอธิบดีมอบหมายมีอ านาจดังต่อไปนี้
ให้พนักงานศุลกากรมีอ านาจตรวจของที่ก าลัง ผ่านพิธีการศุลกากรหรืออยู่ในอ านาจก ากับตรวจ ตราของศุลกากรและเอาตัวอย่างของไปเพื่อ ตรวจสอบ หรือประเมินราคา หรือเพื่อประโยชน์ อย่างอื่นของทางราชการได้ตามความจ าเป็น โดย ไม่ต้องชดใช้ราคา ทั้งนี้ต้องกระท าด้วยวิธีการที่ จะท าให้เจ้าของเสียหายหรือมีภาระน้อยที่สุด และถ้ามีของคงเหลือให้ส่งคืนแก่เจ้าของโดยมิ ชักช้า
การใช้อ านาจของพนักงานศุลกากรซึ่งอธิบดี มอบหมายตามมาตรา ๑๕๗ หรือพนักงาน ศุลกากรตามมาตรา ๑๕๘ ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศ ก าหนด ให้พนักงานศุลกากรมีอ านาจเข้าไปในสถาน ประกอบการเพื่อตรวจสอบหรือเรียกบัญชี เอกสารหลักฐาน และข้อมูลอื่นใดที่เกี่ยวกับของที่ ก าลังผ่านหรือได้ผ่านพิธีการศุลกากรภายใน ก าหนดระยะเวลาไม่เกินห้าปีนับแต่วันที่น าของ เข้าหรือส่งของออกไปนอกราชอาณาจักรหรือน า ผ่านราชอาณาจักร
เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่า มีการใช้ยานพาหนะใด ในการน าหรือพาของที่ยังมิได้เสียอากร ของ ต้องห้าม ของต้องก ากัด หรือของที่ยังมิได้ผ่านพิธี การศุลกากรเข้ามาในราชอาณาจักรหรือส่งหรือ พาของดังกล่าวออกไปนอกราชอาณาจักร ให้ พนักงานศุลกากรมีอ านาจสั่งให้หยุดยานพาหนะ เพื่อตรวจหรือค้นยานพาหนะ หรือบุคคลที่อยู่ใน ยานพาหนะนั้น
พนักงานศุลกากรอาจตรวจหรือค้นหีบห่อของ ผู้โดยสารที่เข้ามาในหรือออกไปนอก ราชอาณาจักรได้หากพบว่ามีของที่ยังมิได้เสีย อากรของต้องห้าม ของต้องก ากัด หรือของที่ยัง มิได้ผ่านพิธีการศุลกากร ให้พนักงานศุลกากรมี อ านาจยึดหีบห่อหรือของนั้นไว้ได้
ให้พนักงานศุลกากรมีอ านาจเข้าไปตรวจของ ณ สถานประกอบการ สถานที่อื่นที่เกี่ยวข้อง หรือ ยานพาหนะใดตามที่ผู้น าของเข้า ผู้ส่งของออก หรือบุคคลซึ่งเกี่ยวข้องร้องขอ
อธิบดีมีอ านาจตั้งด่านตรวจเรือเข้าและออก และ จะมอบหมายให้พนักงานศุลกากรประจ าอยู่ใน เรือล าใด ๆในเวลาที่เรือนั้นอยู่ในเขตน่านน ้าไทย ก็ได้ เรือทุกล าที่จะผ่านด่านตรวจต้องมีพนักงาน ศุลกากรขึ้นเรือก ากับไปด้วย เว้นแต่จะได้รับ อนุญาตจากพนักงานศุลกากรก ากับด่านตรวจ และเมื่อเรือล านั้นจะออกจากเขตท่า ให้หยุดลอย ล าที่ด่านตรวจเพื่อส่งพนักงานศุลกากรขึ้นจากเรือ
ื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่า เรือล า ใดเป็นเรือที่พึง ต้องถูกยึดหรือตรวจตามพระราชบัญญัตินี้ให้ พนักงานศุลกากรมีอ านาจสั่งให้นายเรือล านั้น หยุดลอยล าหรือน าเรือไปยังที่ใดที่หนึ่งหากนาย เรือฝ่าฝืนให้พนักงานศุลกากรเตือนให้นายเรือ ปฏิบัติตามค าสั่ง และหากนายเรือฝ่าฝืนค าเตือน ดังกล่าว ให้พนักงานศุลกากรมีอ านาจด าเนินการ ใด ๆเพื่อบังคับให้ปฏิบัติตาม หรือเพื่อน าเรือไป หรือเพื่อป้องกันการหลบหนี
เรือที่มีระวางบรรทุกไม่เกินสองร้อยห้าสิบตันกรอส ยานพาหนะอื่นใด เว้นแต่อากาศยาน หีบห่อ ภาชนะบรรจุหรือสิ่งใด ๆ หากได้ใช้หรือมีไว้เพื่อ ใช้ในการย้าย ซ่อนเร้น หรือขนของที่มิได้เสียอากร ของต้องห้าม ของต้องก ากัด หรือของที่ยังมิได้ผ่าน พิธีการศุลกากร ให้ริบเสียทั้งสิ้นไม่ว่าจะมีผู้ถูก ลงโทษตามค าพิพากษาหรือไม่ ถ้าเรือที่ได้ใช้หรือมีไว้เพื่อใช้ในการกระท าตาม วรรคหนึ่งมีระวางบรรทุกเกินสองร้อยห้าสิบตัน กรอสให้ศาลมีอ านาจสั่งริบเรือนั้นได้ตามควรแก่ การกระท าความผิด
ของที่ยังมิได้เสียอากร ของต้องห้าม ของต้อง ก ากัด หรือของที่ยังมิได้ผ่านพิธีการศุลกากร เป็น ของที่พึงต้องริบตามพระราชบัญญัตินี้
ให้พนักงานศุลกากร พนักงานฝ่ายปกครอง หรือ ต ารวจ มีอ านาจยึดหรืออายัดสิ่งใด ๆอันจะพึง ต้องริบหรือเป็นที่สงสัยว่าจะพึงต้องริบตาม พระราชบัญญัตินี้ไว้ได้ สิ่งที่อายัดไว้นั้น หากตรวจสอบแล้วพบว่าสิ่งนั้น ไม่เป็นของอันพึงต้องริบ ให้เพิกถอนการอายัดสิ่ง นั้น แต่กรณีเป็นสิ่งอันพึงต้องริบ ให้พนักงาน ศุลกากร พนักงานฝ่ ายปกครอง หรือต ารวจ มี อ านาจยึดสิ่งนั้น สิ่งที่ยึดไว้นั้น ถ้าเป็นยานพาหนะที่ใช้ในการ กระท าความผิด และเจ้าของหรือผู้มีสิทธิไม่มายื่น ค าร้องขอคืนภายในก าหนดหกสิบวันหรือถ้าเป็น สิ่งอื่นภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ยึด ให้ถือว่า เป็นสิ่งที่ไม่มีเจ้าของ และให้ตกเป็นของแผ่นดิน
ในกรณีของที่ริบได้เนื่องจากการกระท าความผิด ตามพระราชบัญญัตินี้มิได้เป็นของผู้กระท า ความผิด ให้ศาลมีอ านาจสั่งริบได้ถ้าเจ้าของนั้นรู้ หรือมีเหตุอันควรสงสัยว่ามีหรือจะมีการกระท า ความผิด แต่มิได้กระท าการใดเพื่อมิให้เกิดการ กระท าความผิดหรือแก้ไขมิให้การกระท านั้น บรรลุผล หรือมิได้ระมัดระวังมิให้ของนั้นไป เกี่ยวข้องกับการกระท าความผิด
ถ้าพนักงานศุลกากรพบว่าบุคคลใดมีสิ่งอันจะพึง ต้องริบตามพระราชบัญญัตินี้ไว้ในครอบครอง ให้ บันทึกข้อเท็จจริงที่ตนเองได้พบเห็นไว้เป็น หลักฐานโดยให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าข้อเท็จจริงที่ จดแจ้งไว้ในบันทึกนั้นเป็นความจริง และผู้นั้นได้ น าสิ่งนั้นเข้ามาโดยมิชอบด้วยกฎหมายหรือน าเข้า มาโดยยังมิได้ผ่านพิธีการศุลกากร เว้นแต่จะ พิสูจน์ได้เป็นอย่างอื่น ให้น าความในวรรคหนึ่งมาใช้บังคับกับการกระท า ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการส่งออกไปนอก และการน าเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งสินค้า และ กฎหมายว่าด้วยการควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน ด้วย
บรรดาของหรือสิ่งที่ยึดไว้ตามพระราชบัญญัตินี้ หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวกับการศุลกากรต้องส่ง มอบให้พนักงานศุลกากรเพื่อด าเนินการตาม กฎหมายต่อไป ของหรือสิ่งที่ยึดและตกเป็นของแผ่นดินหรือที่ศาล สั่งให้ริบตามพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นที่ เกี่ยวกับการศุลกากร ให้จ าหน่ายตามระเบียบท อธิบดีก าหนด
้าของที่ยึดไว้เป็นของสดของเสียได้หรือถ้าหน่วง ช้าไว้จะเป็นการเสี่ยงความเสียหาย หรือค่าใช้จ่าย ในการเก็บรักษาจะมากเกินสมควรอธิบดีจะสั่งให้ ขายทอดตลาดหรือขายโดยวิธีอื่นก่อนที่ของนั้นจะ ตกเป็นของแผ่นดินก็ได้ ทั้งนี้ตามระเบียบที่ อธิบดีก าหนด เงินที่ได้รับจากการขายของตามวรรคหนึ่ง เมื่อได้ หักค่าใช้จ่ายและค่าภาระติดพันแล้ว ให้ถือไว้แทน ของ
ในการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานศุลกากรตาม พระราชบัญญัตินี้ให้บุคคลซึ่งเกี่ยวข้องอ านวย ความสะดวกตามสมควร
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ พนักงานศุลกากรต้องแสดงบัตรประจ าตัวต่อ บุคคลซึ่งเกี่ยวข้อง บัตรประจ าตัวพนักงานศุลกากร ให้เป็นไปตาม แบบที่อธิบดีประกาศก าหนด
ในกรณีที่ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้เกิดขึ้นใน ทะเลอาณาเขต เมื่อพนักงานศุลกากรจับผู้กระท า ความผิดและส่งให้พนักงานสอบสวนแห่งท้องที่ใด ให้พนักงานสอบสวนแห่งท้องที่นั้นเป็นพนักงาน สอบสวนผู้รับผิดชอบ และมิให้นับระยะเวลา เดินทางตามปกติที่น าตัวผู้กระท าความผิดส่งให้ พนักงานสอบสวนเป็นเวลาควบคุมผู้ต้องหาของ พนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธี พิจารณาความอาญา
เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและปราบปรามการ กระท าความผิดเกี่ยวกับศุลกากรในเขตท้องที่ใด ให้ก าหนดเขตท้องที่นั้นเป็นเขตควบคุมศุลกากร โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา ภายในเขตควบคุมศุลกากรที่ก าหนดตามวรรค หนึ่ง ให้พนักงานศุลกากรมีอ านาจตรวจหรือค้น โรงเรือน สถานที่ ยานพาหนะ หรือบุคคลใด ๆไม่ ว่าในเวลากลางวันหรือกลางคืนโดยไม่ต้องมี หมายค้น ทั้งนี้พนักงานศุลกากรต้องแสดง เหตุผลอันสมควรก่อนที่จะใช้อ านาจนั้นด้วย ในกรณีที่มีเหตุอันควรสงสัยว่า บุคคลที่ถูกตรวจ หรือค้นตามวรรคสอง ได้กระท าความผิดตาม พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวกับการ ศุลกากรและบุคคลนั้นไม่สามารถแสดงเหตุผล อันสมควรได้ให้พนักงานศุลกากรมีอ านาจจับกุม บุคคลนั้นโดยไม่ต้องมีหมายจับเพื่อส่งพนักงาน สอบสวนด าเนินการต่อไป
ภายใต้บังคับมาตรา ๑๗๕ วรรคหนึ่งอธิบดีมี อ านาจออกประกาศก าหนดประเภทหรือชนิดแห่ง ของที่ผู้ท าการค้าภายในเขตควบคุมศุลกากรต้อง จัดให้มีบัญชีเพื่อแสดงรายละเอียดแห่งของนั้น ตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดี ประกาศก าหนด ให้พนักงานศุลกากรมีอ านาจตรวจบัญชีและของ ที่ระบุไว้ในบัญชีตามวรรคหนึ่ง หากพบว่าของนั้น มีจ านวนหรือปริมาณแตกต่างจากที่ระบุไว้ใน บัญชีโดยไม่สามารถแสดงเหตุผลอันสมควรได้ให้ สันนิษฐานไว้ก่อนว่าของที่มีจ านวนหรือปริมาณ แตกต่างนั้นเป็นของที่มีไว้หรือได้มาโดยยังไม่ได้ เสียอากร
ภายในเขตควบคุมศุลกากรอธิบดีมีอ านาจ ประกาศก าหนดบริเวณพิเศษเพื่อควบคุมการขน ย้ายของในบริเวณดังกล่าว โดยให้มีแผนที่แสดง เขตและระบุท้องที่ที่อยู่ในบริเวณพิเศษนั้นแนบ ท้ายประกาศด้วย การขนย้ายของเข้าหรือออก หรือภายในบริเวณ พิเศษ ต้องได้รับอนุญาตจากพนักงานศุลกากร ตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดี ประกาศก าหนด
ในส่วนนี้ “พื้นที่ควบคุมร่วมกัน” หมายความว่า พื้นที่ ที่ ก าหนดให้เป็นพื้นที่ควบคุมร่วมกันตาม กฎหมาย ว่าด้วยการอ านวยความสะดวก ในการขนส่งข้าม พรมแดน “ความตกลง” หมายความว่า ความตกลง ระหว่าง รัฐบาลไทยกับรัฐบาลต่างประเทศ เกี่ยวกับการ อ านวยความสะดวกในการขนส่งข้ามพรมแดน
ให้กรมศุลกากรมีอ านาจ ทางศุลกากรทั้งปวงใน พื้นที่ควบคุมร่วมกัน เช่นเดียวกับในเขตศุลกากร
การปฏิบัติหน้าที่ของ พนักงานศุลกากรในพื้นที่ ควบคุมร่วมกัน นอกราชอาณาจักร ให้ถือว่าเป็น การปฏิบัติหน้าที่ในราชอาณาจักร
การด าเนินการในกรณีที่มีการกระท าความผิด ตามพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวกับ การศุลกากร ที่ตรวจพบในพื้นที่ควบคุมร่วมกัน ใน ราชอาณาจักร ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และ วิธีการ ดังต่อไปนี้
การด าเนินการในกรณีที่มีการกระท าความผิด ตามพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวกับ การศุลกากร ที่ตรวจพบในพื้นที่ควบคุมร่วมกัน นอก ราชอาณาจักร ให้พนักงานศุลกากรของ รัฐบาลไทยร้องขอต่อเจ้าหน้าที่ของรัฐบาล ประเทศภาคีตามความตกลงให้ส่งบุคคล สัตว พืชของ ตลอดจนพาหนะ ผู้ควบคุม พาหนะ และ คนประจ าพาหนะที่ใช้ขนส่งสิ่งดังกล่าวมายัง ราชอาณาจักรเพื่อด าเนินการตามพระราชบัญญัติ นี้หรือกฎหมายอื่นที่ เกี่ยวกับการศุลกากรต่อไป การด าเนินการในกรณีที่มีการกระท าความผิดทั้ง ตามกฎหมายไทยและกฎหมายของ ประเทศภาคี ตามความตกลงที่เกี่ยวกับการขนส่งข้ามพรมแดน ที่ตรวจพบในพื้นที่ ควบคุมร่วมกันนอก ราชอาณาจักรพนักงานศุลกากรของรัฐบาลไทย จะร้องขอต่อเจ้าหน้าที่ของรัฐบาลประเทศภาคี ตาม ความตกลงให้ส่งบุคคล สัตว์พืชของ ตลอดจนพาหนะ ผู้ควบคุมพาหนะและคนประจ า พาหนะที่ใช้ขนส่งสิ่งดังกล่าวมายัง ราชอาณาจักร เพื่อด าเนินการตามพระราชบัญญัตินี้หรือ กฎหมายอื่นที่ เกี่ยวข้องกับการศุลกากรก็ได้
ให้อธิบดีมีอ านาจก าหนดระเบียบและวิธีปฏิบัติ เกี่ยวกับการศุลกากรในพื้นที่ควบคุมร่วมกัน
การค้าชายฝั่ง หมายถึง การขนส่งของทางทะเล จากท่าหนึ่ง ในราชอาณาจักรไปยังอีกท่าหนึ่ง ใน ราชอาณาจักร เพื่อรับค่าตอบแทน ในการขนส่ง ของ รวมทั้งการซื้อขายของ ที่ขนมานั้น ให้อธิบดีมีอ านาจประกาศก าหนดรูปแบบ และ ลักษณะที่ถือว่าเป็นการค้าชายฝั่งตามวรรคหนึ่ง
ือที่ท าการค้าชายฝั่งที่จะออกจากท่า ให้นายเรือ ท าบัญชีสินค้าแสดงรายละเอียดแห่งของในเรือ ยื่นต่อ พนักงานศุลกากร ตามหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศก าหนด เมื่อพนักงานศุลกากรได้รับบัญชีสินค้าตามวรรค หนึ่งและได้ลงลายมือชื่อรับรอง ความถูกต้องของ บัญชีสินค้าดังกล่าวแล้ว ให้ถือว่าบัญชีสินค้า ดังกล่าวเป็นใบปล่อยสินค้าและปล่อยเรือ เมื่อเรือที่ท าการค้าชายฝั่งมาถึงท่าอีกแห่ง หนึ่ง แล้ว ให้นายเรือแสดงใบอนุญาตปล่อยสินค้าและ ปล่อยเรือแก่พนักงานศุลกากร ผู้รับผิดชอบพื้นที่ที่ เรือนั้นมาถึงภายในยี่สิบสี่ชั่วโมงนับแต่เรือมาถึง เพื่อตรวจสอบของที่บรรทุกหรือขนส่งมาในเรือนั้น ว่าถูกต้องตรงกับบัญชีสินค้าที่บรรทุกหรือขนส่ง มาจากท่าเรือต้นทาง ในกรณีที่ตรวจสอบพบว่าของที่บรรทุกหรือขนส่ง มาในเรือมีชนิด ประเภท ปริมาณ แตกต่างจาก บัญชีสินค้า ให้สันนิษฐานว่า ของที่มีชนิด ประเภท หรือปริมาณแตกต่างนั้นเป็นของที่น าเข้า หรือส่งออกโดยยังมิได้เสียอากร ก่อนการขนถ่ายของขึ้นจากเรือ นายเรือต้องยื่น ใบอนุญาตปล่อยสินค้าและใบปล่อยเรือแก่ พนักงานศุลกากร เมื่อได้รับอนุญาตจากพนักงาน ศุลกากรแล้วจึงจะท าการขนถ่ายของขึ้นได้โดย ต้องท าเช่นนี้ต่อไปทุก ๆ ท่าที่เรือนั้นเดินทางไปถึง
ให้นายเรือเก็บรักษาบัญชีสินค้าตามมาตรา ๑๘๕ ทุกเที่ยวการเดินเรือไว้ในเรือนั้นเป็น ระยะเวลาสามเดือน เพื่อให้พนักงานศุลกากร ตรวจสอบและจดบันทึกการตรวจสอบลงในบัญชี สินค้านั้น
ห้ามมิให้ขนถ่ายของจากเรือที่ท าการค้าชายฝั่งใน ระหว่างเดินทาง เว้น แต่จะมีเหตุจ าเป็นอันมิอาจ หลีกเลี่ยงได้ และได้แจ้งเหตุดังกล่าวต่อพนักงาน ศุลกากรผู้รับผิดชอบพื้นที่ที่เรือนั้นมาถึง
เรือทุกล าที่เข้ามาหรือหยุด ลอยล าหรือจอดเรือใน เขตต่อเนื่องต้องตอบค าถามของพนักงานศุลกากร เกี่ยวกับเรือ คนประจ าเรือ คนโดยสาร การ เดินทาง ลักษณะแห่งของในเรือและสิ่งที่น ามา ในเรือและต้องปฏิบัติตามค าสั่งอันควรของ พนักงานศุลกากร
ห้ามมิให้เรือที่อยู่ในเขตต่อเนื่องขนถ่ายของใด ๆ โดยไม่มีเหตุอันสมควรหรือไม่ได้รับอนุญาตจาก พนักงานศุลกากร ของใดที่เกี่ยวกับการกระท าความผิดตาม มาตรา นี้ให้ริบเสียทั้งสิ้น ไม่ว่าจะมีผู้ถูกลง โทษตามค า พิพากษาหรือไม
ให้น าบทบัญญัติมาตรา ๖๖ มาตรา ๖๗ มาตรา ๑๕๗ (๒) มาตรา ๑๖๐ มาตรา ๑๖๔ มาตรา ๑๖๕ มาตรา ๑๖๗ มาตรา ๑๖๙ และมาตรา ๑๗๐ มาใช้บังคับกับการกระท าที่เกิดขึ้นในเขต ต่อเนื่องและ ให้น าบทก าหนดโทษที่เกี่ยวกับ บทบัญญัติดังกล่าว รวมทั้งบทก าหนดโทษตาม มาตรา ๒๑๒ มาตรา ๒๑๗ มาตรา ๒๑๙ และ มาตรา ๒๔๑ มาใช้บังคับด้วย
ในกรณีที่มีเหตุอันควรสงสัยว่ามีการลักลอบหรือ จะลักลอบหนีศุลกากรหรือมีการกระท าความผิด ตามพระราชบัญญัตินี้ในเขตต่อเนื่อง ให้พนักงาน ศุลกากรมีอ านาจสั่งให้นายเรือหยุดลอยล าหรือน า เรือไปยังที่ใดที่หนึ่ง เพื่อการตรวจหรือค้น จับกุม หรือด าเนินคดีได้ เมื่อพนักงานศุลกากรได้จับผู้กระท าความผิดและ ส่งให้พนักงานสอบสวนแห่งท้องที่ใดแล้ว ให้ พนักงานสอบสวนแห่งท้องที่นั้นมีอ านาจสอบสวน ในระหว่างรอค าสั่งแต่งตั้งพนักงานสอบสวน ผู้รับผิดชอบจากอัยการสูงสุดหรือผู้รักษาการแทน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ทั้งนี้มิให้นับระยะเวลาเดินทางตามปกติที่น าตัว ผู้กระท าความผิดส่งให้พนักงานสอบสวนเป็น เวลาควบคุมผู้ต้องหาของพนักงานสอบสวนตาม ประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความอาญา
ในส่วนนี้ “พื้นที่พัฒนาร่วม” หมายความว่า พื้นที่ พัฒนา ร่วมตามกฎหมายว่าด้วยองค์กรร่วมไทย – มาเลเซีย “ของที่ได้รับความเห็นชอบทางศุลกากร” หมายความว่าของที่ได้รับยกเว้นอากรศุลกากรทั้ง ตามกฎหมายของราชอาณาจักรไทยและมาเลเซีย ที่เกี่ยวกับศุลกากร
การจัดระเบียบการเคลื่อนย้ายของที่น าเข้ามาใน หรือส่งออกไปจากพื้นที่พัฒนาร่วมให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศ ก าหนดโดยความเห็นชอบของรัฐมนตรี
ภายใต้บังคับมาตรา ๑๙๕ มาตรา ๑๙๖ และ มาตรา ๑๙๙ (๔) กรม ศุลกากรยังคงใช้อ านาจ ทางศุลกากรทั้งปวงที่เกี่ยวกับของที่น าเข้ามาใน หรือส่งออกไปจากพื้นที่พัฒนาร่วม
การเคลื่อนย้ายของใด ๆเข้ามาในหรือส่งออกไป จากพื้นที่พัฒนาร่วม ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้
ของใด ๆ ที่จัดอยู่ในบัญชีของต้องห้ามตาม กฎหมายของราชอาณาจักรไทยและมาเลเซีย จะ ไม่ได้รับอนุญาตให้น าเข้าไปในพื้นที่พัฒนาร่วม เว้นแต่ในกรณีที่จ าเป็นจะต้องมีการยกเว้นในส่วน ที่เกี่ยวกับการน าเข้ารายใดรายหนึ่ง โดยเฉพาะ การยกเว้นนั้นจะกระท าได้ก็ด้วยความตกลง ระหว่างหน่วยงานที่มีอ านาจของราชอาณาจักร ไทยและมาเลเซีย
การน าเข้า การส่งออก และการเคลื่อนย้ายภายใน ส าหรับของในพื้นที่ พัฒนาร่วมให้ใช้แบบศุลกากร ตามที่อธิบดีประกาศก าหนด
พนักงานศุลกากรย่อมมีอ านาจในส่วนที่เกี่ยวกับ การผ่านพิธีการ ศุลกากรรวมทั้งการเก็บอากรใน เรื่องที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้และใช้ อ านาจนั้นได้ภายในบริเวณที่ท าการศุลกากรร่วม “ที่ท าการศุลกากรร่วม” หมายความว่า ที่ท าการ ของคณะกรรมการศุลกากรร่วมที่จัดตั้งขึ้นใน ส านักงานใหญ่ขององค์กรร่วม เพื่อวัตถุประสงค์ ของการประสานงานด้านการด าเนินการตาม กฎหมายศุลกากรและสรรพสามิตในพื้นที่พัฒนา ร่วม “คณะกรรมการศุลกากรร่วม” หมายความว่า คณะกรรมการที่ประกอบด้วยพนักงาน ศุลกากร และเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานศุลกากรและ สรรพสามิตของมาเลเซียที่จัดตั้งขึ้นเพื่อ วัตถุประสงค์ของการประสานงานด้านการ ด าเนินการตามกฎหมายศุลกากรและสรรพสามิต ในพื้นที่พัฒนาร่วม
การกระท าที่ได้ท าลงในพื้นที่พัฒนาร่วม
เพื่อประโยชน์แห่งส่วนนี้ค าว่า “ราชอาณาจักร” ในพระราชบัญญัตินี้ให้หมายความถึง “พื้นที่ พัฒนาร่วม”
ให้ศาลภาษีอากรกลาง ศาลจังหวัดสงขลา หรือ ศาลอาญา มีเขตอ านาจที่จะพิจารณาพิพากษา คดีศุลกากรที่เกี่ยวกับพื้นที่พัฒนาร่วม
ผู้ใดยื่น จัดให้หรือยอมให้ผู้อื่นยื่นใบขนสินค้า เอกสาร หรือข้อมูล ซึ่งเกี่ยวกับการเสียอากรหรือ การปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ไม่ถูกต้องหรือไม่ บริบูรณ์อันอาจก่อให้เกิดความส าคัญผิดใน รายการใด ๆ ที่ได้แสดงไว้ในใบขนสินค้า เอกสาร หรือข้อมูลดังกล่าวต่อพนักงานศุลกากร ต้อง ระวางโทษปรับไม่เกินห้าแสนบาท
ผู้ใดแจ้งข้อความ ให้ถ้อยค า หรือตอบค าถามด้วย ถ้อยค าอันเป็นเท็จ หรือไม่ตอบค าถามของ พนักงานศุลกากรตามที่พระราชบัญญัตินี้ ก าหนดให้ตอบ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินหก เดือน หรือปรับไม่เกินห้าแสนบาท หรือทั้งจ าทั้ง ปรับ
ผู้ใดปลอมหรือแปลงเอกสารที่ใช้ในการด าเนินการ ตามพระราชบัญญัตินี้หรือแก้ไขเอกสารที่ทาง ราชการออกให้เพื่อประโยชน์ในการด าเนินการ ตามพระราชบัญญัตินี้หรือปลอมดวงตราลายมือ ชื่อ หรือเครื่องหมายอื่นใดของพนักงานศุลกากรที่ ใช้เพื่อการอย่างใดอันเกี่ยวด้วยพระราชบัญญัตินี้ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่ เกินห้าแสนบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ ผู้ใดใช้เอกสาร ดวงตรา ลายมือชื่อ หรือ เครื่องหมาย ที่เกิดจากการกระท าความผิดตาม วรรคหนึ่งต้องระวางโทษเช่นเดียวกัน
ผู้ส่งของออกผู้ใดยื่นใบขนสินค้าขาออกเพื่อขอคืน อากรโดยแสดงข้อมูลเกี่ยวกับของไม่ถูกต้องและ พนักงานศุลกากรพบว่าของนั้นไม่ตรงตามที่แสดง ไว้หรือมีปริมาณน้อยกว่าที่แสดงหรือไม่มีการ ส่งออกตามที่แสดง ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกิน หกเดือน หรือปรับไม่เกินห้าแสนบาท หรือปรับ เป็นเงินสี่เท่าของจ านวนเงินอากรที่ขอคืน แล้วแต่ จ านวนใดจะมากกว่า หรือทั้งจ าทั้งปรับ และให้ริบ ของนั้น
ผู้น าของเข้าผู้ใดขอคืนอากรตามมาตรา ๒๘ หรือ มาตรา ๒๙ โดยความเท็จโดยฉ้อโกงหรืออุบาย หลอกลวง หรือโดยวิธีการอื่นใดท านองเดียวกัน เพื่อขอคืนอากรเกินกว่าจ านวนที่มีสิทธิได้รับจริง ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกิน ห้าแสนบาท หรือปรับเป็นเงินสี่เท่าของจ านวนเงิน อากรที่ขอคืนเกินกว่าจ านวนที่มีสิทธิได้รับจริง แล้วแต่จ านวนใดจะมากกว่า หรือทั้งจ าทั้งปรับ
ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์เกี่ยวกับ การเก็บหรือขนถ่ายสินค้าอันตรายตามที่ก าหนด ในกฎกระทรวง ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่ง แสนบาท
ผู้น าของเข้าหรือผู้ส่งของออกผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ ปฏิบัติตามมาตรา ๕๑ ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน ห้าหมื่นบาท
ผู้ควบคุมยานพาหนะผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม มาตรา ๕๖ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าหมื่น บาท
ผู้ใดขนถ่ายของที่น าเข้ามาในหรือจะส่งออกไป นอกราชอาณาจักร นอกเขตขนถ่ายของตาม มาตรา ๕๘ โดยไม่ได้รับอนุญาตจากอธิบดีต้อง ระวางโทษจ าคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินหนึ่ง แสนบาท หรือปรับเป็นเงินสามเท่าของราคาของ แล้วแต่จ านวนใดจะมากกว่า หรือทั้งจ าทั้งปรับ และให้ริบของนั้น
ผู้น าของเข้าหรือผู้ส่งของออกผู้ใดไม่จัดให้มี เครื่องหมายหรือเลขหมายก ากับหีบห่อหรือ ภาชนะบรรจุของ หรือไม่แสดงเครื่องหมายหรือ เลขหมายไว้ในเอกสารที่เกี่ยวกับของนั้น ต้อง ระวางโทษปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท
ผู้ควบคุมยานพาหนะผู้ใดควบคุมยานพาหนะที่มี ของเป็นหีบห่อหรือภาชนะบรรจุซึ่งมีขนาดหรือ ลักษณะขัดต่อกฎหมาย หรือไม่มีเครื่องหมายหรือ ฉลากที่กฎหมายก าหนดให้ต้องมีต้องระวางโทษ ปรับไม่เกินห้าแสนบาท และให้ริบของนั้น
ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๖๓ ต้อง ระวางโทษจ าคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินห้า หมื่นบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ
นายเรือผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๖๔ มาตรา ๗๑ มาตรา ๘๕ ประกอบกับมาตรา ๗๑ หรือมาตรา ๑๖๓ วรรคสอง ต้องระวางโทษปรับ ไม่เกินหนึ่งแสนบาท
นายเรือผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามค าสั่งของ พนักงานศุลกากรตามมาตรา ๖๕ ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท
นายเรือหรือผู้ควบคุมอากาศยานผู้ใดฝ่ าฝืน หรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๖๗ หรือมาตรา ๙๕ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
ผู้ใดนอกจากนายเรือ ลูกเรือ ผู้โดยสารและผู้มี หน้าที่ต้องปฏิบัติบนเรือขึ้นไปบนเรือเดิน ต่างประเทศขณะที่อยู่ในราชอาณาจักร โดยมิได้ รับอนุญาตจากพนักงานศุลกากร ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท
นายเรือผู้ใดควบคุมเรือที่บรรทุกของอยู่ในเขตท่า ที่เป็นด่านศุลกากรและปรากฏว่าเรือล าดังกล่าว เบาลอยตัวขึ้น โดยนายเรือไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่า ได้มีการขนของขึ้นโดยชอบด้วยกฎหมาย ต้อง ระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งล้านบาท และให้ศาลมี อ านาจสั่งริบเรือนั้นได้
นายเรือหรือผู้ควบคุมยานพาหนะทางบกผู้ใด กระท าการดังต่อไปนี้ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน ห้าแสนบาท
ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์วิธีการ หรือเงื่อนไขที่ก าหนดตามมาตรา ๗๐ หรือมาตรา ๑๗๖ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้า หมื่นบาท
นายเรือผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๗๒ มาตรา ๗๔ มาตรา ๗๗ มาตรา ๘๐ มาตรา ๘๒ วรรคสอง มาตรา ๘๔ วรรคหนึ่ง มาตรา ๘๕ ประกอบกับมาตรา ๗๗ หรือมาตรา ๑๘๕ ต้อง ระวางโทษปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท
ผู้ส่งของออกผู้ใดฝ่ าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๗๖ วรรคสอง มาตรา ๙๐ วรรคสองหรือมาตรา ๙๘ วรรคสอง ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่น บาท
นายเรือผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๗๙ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าแสนบาท และให้ริบ ของที่เกี่ยวกับการกระท าความผิดดังกล่าว
ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๘๑ มาตรา ๙๒ มาตรา ๑๒๐ หรือมาตรา ๑๒๑ ต้องระวาง โทษปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท
ผู้ส่งของออกผู้ใดฝ่ าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๘๒ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าหมื่น บาท
นายเรือหรือผู้ส่งของออกผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติ ตามมาตรา ๘๓ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้า หมื่นบาท
ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๘๖ ต้อง ระวางโทษจ าคุกตั้งแต่สามเดือนถึงสิบปีหรือปรับ เป็นเงินสี่เท่าของราคาของซึ่งได้รวมค่าอากรเข้า ด้วยแล้ว หรือทั้งจ าทั้งปรับ และให้ริบของที่ เกี่ยวกับการกระท าความผิดดังกล่าว ไม่ว่าจะมีผู้ ถูกลงโทษตามค าพิพากษาหรือไม
นายเรือผู้ใดจอดเทียบท่าหรือขนถ่ายของที่น าเข้า มาในหรือส่งออกไปนอกราชอาณาจักรนอกจาก เขตพื้นที่ตามล าน ้าที่เป็นเขตแดนทางบกตามที่ อธิบดีประกาศก าหนดตามมาตรา ๘๗ ต้องระวาง โทษปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท
ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๘๘ หรือ มาตรา ๘๙ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสน บาท และให้อายัดของที่เกี่ยวกับการกระท า ความผิดนั้นจนกว่าจะได้ปฏิบัติให้ถูกต้อง
ผู้ควบคุมอากาศยานผู้ใดฝ่ าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์วิธีการ หรือเงื่อนไขที่ก าหนดตาม มาตรา ๙๓ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน ห้าหมื่นบาท เจ้าของหรือพนักงานประจ าสนามบินผู้ใดฝ่าฝืน หรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๙๓ วรรคสอง ต้อง ระวางโทษปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท
ผู้ควบคุมอากาศยานผู้ใดฝ่ าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม มาตรา ๙๔ หรือมาตรา ๙๖ ต้องระวางโทษปรับ ไม่เกินหนึ่งแสนบาท และให้อายัดของที่เกี่ยวกับ การกระท าความผิดนั้นจนกว่าจะได้ปฏิบัติให้ ถูกต้อง
ผู้ควบคุมอากาศยานผู้ใดฝ่ าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม มาตรา ๙๗ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าหมื่น บาท
ผู้ได้รับใบอนุญาตตามมาตรา ๑๑๒ ผู้ใดฝ่าฝืน หรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๑๕ หรือมาตรา ๑๒๙ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท ผู้ได้รับใบอนุญาตจัดตั้งคลังสินค้าทัณฑ์บน โรงพักสินค้า หรือที่มั่นคงผู้ใด เมื่อได้แจ้งการเลิก การด าเนินการตามมาตรา ๑๒๙ แล้วแต่ฝ่าฝืน หรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๓๐ วรรคหนึ่ง ต้อง ระวางโทษปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท
ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามค าสั่งของพนักงาน ศุลกากรผู้ก ากับท่าเรือรับอนุญาตตามมาตรา ๑๑๙ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท
ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์วิธีการ หรือเงื่อนไขที่ก าหนดตามมาตรา ๑๒๒ ต้องระวาง โทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท และให้ริบของที่ เกี่ยวกับการกระท าความผิดดังกล่าว
ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๒๓ หรือ มาตรา ๑๗๒ หรือฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์วิธีการ หรือเงื่อนไขที่ก าหนดตาม มาตรา ๑๕๖ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่น บาท
ผู้ใดลักลอบเปิดคลังสินค้าทัณฑ์บน โรงพักสินค้า หรือที่มั่นคง หรือล่วงเข้าไปถึงของที่อยู่ใน คลังสินค้าทัณฑ์บน โรงพักสินค้า หรือที่มั่นคงนั้น โดยไม่มีเหตุอันชอบด้วยกฎหมาย ต้องระวางโทษ จ าคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ
ผู้ได้รับใบอนุญาตจัดตั้งเขตปลอดอากรผู้ใดฝ่าฝืน หรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๔๑ มาตรา ๑๔๒ หรือ มาตรา ๑๔๓ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษปรับไม่ เกินห้าหมื่นบาท
ผู้ใดขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่หรือไม่ปฏิบัติตาม ค าสั่งของพนักงานศุลกากรซึ่งอธิบดีมอบหมาย ตามมาตรา ๑๕๗ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกิน หนึ่งปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจ าทั้ง ปรับ
ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามค าสั่งของพนักงาน ศุลกากรหรือขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่ของ พนักงานศุลกากรตามมาตรา ๑๖๐ ต้องระวาง โทษปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท
นายเรือผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามค าเตือนของ พนักงานศุลกากรหรือขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่ ของพนักงานศุลกากรตามมาตรา ๑๖๔ ต้อง ระวางโทษจ าคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินหนึ่ง แสนบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ
ผู้ใดน าเข้ามาในหรือส่งออกไปนอกราชอาณาจักร ซึ่งของที่ยังมิได้ผ่านพิธีการศุลกากร หรือ เคลื่อนย้ายของออกไปจากยานพาหนะ คลังสินค้าทัณฑ์บน โรงพักสินค้า ที่มั่นคง ท่าเรือ รับอนุญาต หรือเขตปลอดอากร โดยไม่ได้รับ อนุญาตจากพนักงานศุลกากร ต้องระวางโทษ จ าคุกไม่เกินสิบปีหรือปรับเป็นเงินสี่เท่าของราคา ของซึ่งได้รวมค่าอากรเข้าด้วยแล้ว หรือทั้งจ าทั้ง ปรับ และให้ริบของนั้นไม่ว่าจะมีผู้ถูกลงโทษตาม ค าพิพากษาหรือไม่ ผู้ใดพยายามกระท าความผิดตามวรรคหนึ่ง ต้อง ระวางโทษเช่นเดียวกัน
ผู้ใดน าของที่ผ่านหรือก าลังผ่านพิธีการศุลกากร เข้ามาในราชอาณาจักร หรือส่งของดังกล่าว ออกไปนอกราชอาณาจักร โดยหลีกเลี่ยงหรือ พยายามหลีกเลี่ยงการเสียอากร โดยเจตนาจะฉ้อ อากรที่ต้องเสียส าหรับของนั้น ๆ ต้องระวางโทษ จ าคุกไม่เกินสิบปีหรือปรับเป็นเงินตั้งแต่ครึ่งเท่า แต่ไม่เกินสี่เท่าของค่าอากรที่ต้องเสียเพิ่ม หรือทั้ง จ าทั้งปรับ และศาลอาจสั่งริบของนั้นก็ได้ไม่ว่าจะ มีผู้ถูกลงโทษตามค าพิพากษาหรือไม่ ผู้ใดพยายามกระท าความผิดตามวรรคหนึ่ง ต้อง ระวางโทษเช่นเดียวกัน
ผู้ใดน าของที่ผ่านหรือก าลังผ่านพิธีการศุลกากร เข้ามาในราชอาณาจักร หรือส่งของดังกล่าว ออกไปนอกราชอาณาจักร หรือน าของเข้าเพื่อการ ผ่านแดนหรือการถ่ายล าโดยหลีกเลี่ยงข้อจ ากัด หรือข้อห้ามอันเกี่ยวกับของนั้น ต้องระวางโทษ จ าคุกไม่เกินสิบปีหรือปรับไม่เกินห้าแสนบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ และศาลอาจสั่งริบของนั้นก็ได้ ไม่ว่าจะมีผู้ถูกลงโทษตามค าพิพากษาหรือไม่ ผู้ใดพยายามกระท าความผิดตามวรรคหนึ่ง ต้อง ระวางโทษเช่นเดียวกัน
ผู้ใดเป็นผู้ใช้หรือผู้สนับสนุน หรือสมคบกันในการ กระท าความผิดตามมาตรา ๒๔๒ มาตรา ๒๔๓ หรือมาตรา ๒๔๔ ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับ ตัวการในการกระท าความผิดนั้น
ผู้ใดช่วยซ่อนเร้น ช่วยจ าหน่าย ช่วยพาเอาไปเสีย ซื้อรับจ าน าหรือรับไว้โดยประการใดซึ่งของอันตน พึงรู้ว่าเป็นของอันเนื่องด้วยความผิดตามมาตรา ๒๔๒ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับ เป็นเงินสี่เท่าของราคาของซึ่งได้รวมค่าอากรเข้า ด้วยแล้วหรือทั้งจ าทั้งปรับ การกระท าความผิดตามวรรคหนึ่ง หากเป็นการ กระท าโดยรู้ว่าเป็นของอันเนื่องด้วยความผิดตาม มาตรา ๒๔๓ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับเป็นเงินตั้งแต่ครึ่งเท่าแต่ไม่เกินสี่เท่าของ ค่าอากรที่ต้องเสียเพิ่ม หรือทั้งจ าทั้งปรับ การกระท าความผิดตามวรรคหนึ่ง หากเป็นการ กระท าโดยรู้ว่าเป็นของอันเนื่องด้วยความผิดตาม มาตรา ๒๔๔ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินห้าแสนบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ
ผู้ใดน าหรือยอมให้ผู้อื่นน าของต้องห้าม ของต้อง ก ากัด หรือของที่ยังมิได้ผ่านพิธีการศุลกากร ขึ้น บรรทุกหรือออกจากยานพาหนะ ต้องระวางโทษ ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๒๔๒ หรือมาตรา ๒๔๔ แล้วแต่กรณี
ในกรณีที่มีการกระท าความผิดตามมาตรา ๒๔๒ เกิดขึ้นในเรือที่มีระวางบรรทุกเกินสองร้อยห้าสิบ ตันกรอสหรืออากาศยาน หากนายเรือหรือผู้ ควบคุมอากาศยานนั้นไม่ใช้ความระมัดระวังใน การป้องกันมิให้มีการกระท าความผิดนั้น ต้อง ระวางโทษปรับไม่เกินห้าแสนบาท
ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์วิธีการ หรือเงื่อนไขที่ก าหนดตามมาตรา ๑๗๗ วรรคสอง หรือฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๘๗ ต้อง ระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
นายเรือผู้ใดไม่ตอบค าถามหรือไม่ปฏิบัติตาม ค าสั่งของพนักงานศุลกากรตามมาตรา ๑๘๘ ต้อง ระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๘๙ ต้อง ระวางโทษจ าคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินห้า หมื่นบาท หรือปรับเป็นเงินสองเท่าของราคาของ แล้วแต่จ านวนใดจะมากกว่า หรือทั้งจ าทั้งปรับ
การกระท าความผิดตามมาตรา ๒๐๒ มาตรา ๒๔๒ หรือมาตรา ๒๔๔ ให้ผู้กระท าต้องรับผิดแม้ ได้กระท าโดยไม่มีเจตนา
ในกรณีที่ผู้กระท าความผิดเป็นนิติบุคคล ถ้าการ กระท าความผิดของนิติบุคคลนั้นเกิดจากการสั่ง การหรือการกระท าของกรรมการ หรือผู้จัดการ หรือบุคคลใดซึ่งรับผิดชอบในการด าเนินงานของ นิติบุคคลนั้น หรือในกรณีที่บุคคลดังกล่าวมีหน้าที่ ต้องสั่งการหรือกระท าการและละเว้นไม่สั่งการ หรือไม่กระท าการจนเป็นเหตุให้นิติบุคคลนั้น กระท าความผิด ผู้นั้นต้องรับโทษตามที่บัญญัติไว้ ส าหรับความผิดนั้น ๆ ด้วย
การประเมินราคาของเพื่อก าหนดค่าปรับตาม พระราชบัญญัตินี้ให้ถือตามราคาแห่งของชนิด เดียวกันซึ่งได้เสียอากรครบถ้วนแล้วตามที่ซื้อขาย ในเวลาหรือใกล้เวลาที่กระท าความผิดนั้น เว้นแต่ ไม่มีราคาดังกล่าวให้ถือตามราคาที่อธิบดีก าหนด
ให้อธิบดีมีอ านาจสั่งจ่ายเงินสินบนและรางวัลตาม ระเบียบที่อธิบดีก าหนดโดยได้รับอนุมัติจาก รัฐมนตรีในกรณีดังต่อไปนี้
ภายใต้บังคับมาตรา ๒๕๗ บรรดาความผิดตาม พระราชบัญญัตินี้ถ้าบุคคลนั้นยินยอมใช้ค่าปรับ หรือได้ท าความตกลง หรือท าทัณฑ์บน หรือให้ ประกันตามที่อธิบดีเห็นสมควรแล้วอธิบดีจะงด การฟ้องร้องเสียก็ได้และให้ถือว่าคดีเลิกกันตาม บทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญา ในกรณีที่อธิบดีเห็นสมควรจะฟ้องบุคคลใดตาม พระราชบัญญัตินี้ให้บันทึกเหตุผลในการฟ้อง ผู้กระท าความผิดไว้ด้วย
ความผิดตามมาตรา ๒๒๗ มาตรา ๒๔๒ มาตรา ๒๔๓ มาตรา ๒๔๔ และมาตรา ๒๔๗ ถ้าราคา ของกลางรวมค่าอากรเข้าด้วยแล้วเกินกว่าสี่แสน บาท ให้คณะกรรมการเปรียบเทียบมีอ านาจ เปรียบเทียบได้ คณะกรรมการเปรียบเทียบตามวรรคหนึ่ง ประกอบด้วยผู้แทนกรมศุลกากร ผู้แทน กระทรวงการคลังและผู้แทนส านักงานต ารวจ แห่งชาติ เมื่อคณะกรรมการเปรียบเทียบได้ท าการ เปรียบเทียบกรณีใด และผู้ต้องหาได้ช าระเงิน ค่าปรับหรือได้ท าความตกลง หรือท าทัณฑ์บน หรือให้ประกัน ตามค าเปรียบเทียบภายใน ระยะเวลาที่คณะกรรมการเปรียบเทียบก าหนด แล้ว ให้ถือว่าคดีเลิกกันตามบทบัญญัติแห่ง ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการวินิจฉัย อากรศุลกากรตามพระราชบัญญัติศุลกากร พุทธศักราช ๒๔๖๙ ซึ่งด ารงต าแหน่งอยู่ในวัน ก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ เป็นกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการวินิจฉัยอากร ศุลกากรตามพระราชบัญญัตินี้ต่อไปจนกว่าจะได้ มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิใน คณะกรรมการวินิจฉัยอากรศุลกากรตาม พระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ต้องไม่เกินหนึ่งร้อยแปด สิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
เมื่อพระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ
บทบัญญัติเกี่ยวกับระยะเวลาในการน าของ ออกไปนอกราชอาณาจักรตามมาตรา ๑๐๒ วรรค สองและมาตรา ๑๐๓ จะไม่น ามาใช้บังคับกับ กรณีที่มีความตกลงระหว่างประเทศที่มีผลผูกพัน ไว้แล้ว
ให้อธิบดีมีอ านาจพิจารณาสั่งจ่ายเงินสินบนหรือ รางวัลในกรณีที่ตรวจพบการกระท าความผิดหรือ ตรวจพบการเก็บอากรขาดก่อนวันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับตามอัตราที่ก าหนดไว้ ในมาตรา ๑๐๒ ตรีแห่งพระราชบัญญัติศุลกากร พุทธศักราช ๒๔๖๙ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๔๙๗ ได้ต่อไป
บรรดาพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือค าสั่ง ที่ออกตาม พระราชบัญญัติศุลกากร พุทธศักราช ๒๔๖๙ พระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่ ๗) พุทธศักราช ๒๔๘๐ พระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่ ๘) พุทธศักราช ๒๔๘๐ พระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่ ๙) พุทธศักราช ๒๔๘๒ หรือ พระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๔๙๗ แล้วแต่กรณีที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ยังคงใช้บังคับได้ ต่อไปเพียงเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัติ นี้จนกว่าจะมีพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ระเบียบ ประกาศ หรือค าสั่ง ตามพระราชบัญญัติ นี้ใช้บังคับ การด าเนินการออกพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ระเบียบ ประกาศ หรือค าสั่งตามวรรคหนึ่งให้ ด าเนินการให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวัน นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ หากไม่ สามารถด าเนินการได้ให้รัฐมนตรีรายงานเหตุผลที่ ไม่อาจด าเนินการได้ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ
ผู้รับสนองพระราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
「2017년 관세법」
• 국 가 ‧ 지 역: 태국 • 제 정 일: 2017년 5월 14일
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นปีที่ ๒ ในรัชกาลปัจจุบัน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วย ศุลกากร จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติ ขึ้นไว้โดยค าแนะน าและยินยอมของสภานิติบัญญัติ แห่งชาติท าหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้ 마하와치라롱껀 국왕 폐하께서 현 왕조 2번째 해인 2017년(불기 2560년) 5월 14일에 하사하셨다. 마하와치라롱껀 국왕 폐하께서는 다음과 같이 공포하도록 하셨다. 관세 관련 법률을 개정하는 것이 타당하므로 국회 직무를 담당하는 국가입법의 회 조언과 동의를 통하여 다음과 같이 법에 날인하도록 하셨다.
이 법은 “2017년 관세법”이라고 칭한다.
이 법은 관보에 게재한 날에서 180일의 기한이 지난 날부터 시 행한다.
다음 각 항의 법률은 폐지하도록 한다.
이 법에서 사용하는 용어의 뜻은 다음과 같다. “세금”이란 이 법과 관세율에 관 한 법률 또는 관세로 정하도록 하는 기타 법률에 의거하여 왕국 내로 수입하거나 왕국 외로 수출 하는 물품에 부과하는 관세를 뜻 한다. “수입업자”란 해당 물품이 왕국 내에 수입되는 때부터 세관 공무 원의 보호에서 세관 공무원이 정 당하게 인도하는 때까지의 과정 에 있는 어떠한 물품에 대한 소 유주나 관리자 또는 이해당사자 를 포함하여 뜻하도록 한다. “수출업자”란 해당 물품이 세관 공무원의 보호 하에 들어오는 때 부터 왕국 외로 수출되는 때까지 의 과정에 있는 어떠한 물품의 소유주나 관리자 또는 이해당사 자를 포함하여 뜻하도록 한다. “금지물품”이란 법률이 왕국 내 수입이나 왕국 외 수출 또는 왕 국통과를 하지 아니하도록 금지 한 물품을 뜻한다. “제한물품”이란 만약 왕국 내 수 입이나 왕국 외 수출 또는 왕국 을 통과한다면 허가를 받거나 법 률에 정하는 바에 따라 완벽하게 이행하여야 한다고 법률이 정하 는 물품을 뜻한다. “세관”이란 통관 업무 수행의 편 의를 위하여 물품 수입, 물품 수 출, 통과, 환적 및 기타 통관에 사용되는 항구, 장소, 공항을 뜻 한다. “국경검문소”란 해당 경로를 통 하여 운송하는 물품 조사의 편의 를 위하여, 허가 경로 위 육상접 경 부근에 설치하는 검문소를 뜻 한다. “선박”이란 물품이나 사람을 운 송하는 데 사용하는 해상 교통수 단을 뜻하며, 어선을 포함하여 뜻 하도록 한다. “선장”이란 선박을 통솔하거나 감독하는 사람을 뜻한다. “육상 접경”이란 왕국과 외국 영 토 사이의 육상 접경을 뜻하며, 왕국의 접경 또는 해당 접경의 한 부분인 수상을 포함하여 뜻하 도록 한다. “허가 경로”란 육상 접경에서 세 관으로 또는 세관에서 육상 접경 으로 왕국 내에 수입하거나 왕국 외로 수출하는 물품의 운송에 사 용되는 경로를 뜻한다. “통과”란 해당 운송이 운송 편의 를 위한 교통수단 교체, 물품 보 관, 물품 컨테이너 교체 또는 운 송 방식 교체를 위하여 물품을 이송하는 것에 관계없이, 세관의 통제 하에서 물품을 반입하는 어 는 한 세관에서 물품을 반출하는 다른 한 세관으로 물품을 운송하 여 왕국을 통과하는 것을 뜻한다. 이와 관련하여, 왕국 내에서 해당 물품과 관련한 교역의 편의를 위 하여 해당 물품을 이용하거나 어 떠한 행위가 발생하지 아니하여 야 한다. “환적”이란 같은 운송의 시작 지 점과 종료 지점이 왕국 외에 위 치하여, 동일한 장소의 세관에서 세관의 통제 하에서 왕국 내로 반입해 온 교통수단에서 왕국 외 로 반출해 갈 다른 운송 수단으 로 물품을 이송하는 것을 뜻한다. “세관 공무원”이란 다음 각 항을 뜻한다.
“국장”이란 관세국장 또는 국장 이 위임한 사람을 뜻한다. “장관”이란 이 법에 따라 관장하 는 사람을 뜻한다.
재무부장관이 이 법에 따라 관장 하도록 하며, 세관 공무원 임명과 다음 각 항과 같은 부령 제정권 을 갖도록 한다.
이 법을 시행함에 있어 편의를 위한 특별한 사정이 있는 경우 장관은 수입업자 또는 수출업자 가 이 법 전체 또는 일부분을 실 행할 필요가 없도록 반드시 이행 하여야 하는 조건을 정하여 예외 를 규정하는 부령을 제정할 수도 있다. 첫번째 단락에 따른 특별한 사정 이 항공기에서 발생하고 국제커 뮤니케이션의 편의를 위하여 필 요성이 있는 경우 장관은 개별 사안 문서로 어떠한 수입업자나 수출업자 또는 항공기를 통제하 는 사람에게 제3장에 규정하는 바에 따라 이행할 필요가 없도록 하는 반드시 이행하여야 하는 조 건을 정하여 예외 명령을 할 수 도 있는 권한이 있다.
국장은 수입업자나 수출업자 또 는 세관과 관련한 사람을 소환하 여 세관에 관한 원칙과 방법 및 조건을 이행하겠다고 보장하기 위하여 어떠한 보증을 하도록 할 수도 있다. 첫번째 단락에 따른 보증을 하도 록 하는 것은 국장이 규정하는 원칙과 방법 및 조건을 따르도록 한다.
세금 납부 또는 이 법에 따른 이 행과 관련한 모든 각종 장부와 문서 및 증빙서류가 만약 외국어 로 작성되었다면, 국장은 해당 장 부나 문서 또는 증빙서류를 제출 한 사람에게 적합한 기한 내에 태국어로 번역을 완료하여 제출 하도록 명할 수도 있다.
수입업자나 수출업자 또는 관계 자가 이 법 또는 관세율에 관한 법률에 의거하여 통관 또는 세관 의 어떠한 서비스를 요청하는 경 우, 국장의 승인을 받은 때에는 요청한 바에 따라 실행하도록 한 다.
기밀이 아닌 세관 관련 증서, 화 물 운송장, 장부 또는 기타 문서 복사 신청은 국장이 타당하다고 판단하였을 때 신청자에게 국장 이 고시에서 정하는 바에 따라 비용을 납부하도록 하여 발급할 수 있다.
세관 업무 처리가 만약 전자 자 료 형태로 행하여 졌다면 문서에 의한 세관 업무 처리와 같은 법 적 효력이 있는 것으로 간주하도 록 한다.
이 법에서 불법으로 규정하였으 며 처벌을 규정하는 문서에 의한 어떠한 업무 처리가 만약 전자 자료 형태로 행하여 졌다면 문서 에 의한 업무 처리와 같은 불법 으로 간주하고 처벌하도록 한다.
왕국 내 수입 또는 왕국 외 수출 은 이 법과 관세율에 관한 법률 에 따라 수입업자 또는 수출업자 에게 세금을 징수하도록 한다. 왕국 내 수입 또는 왕국 외 수출 에 대하여 세금을 납부하여야 하 는 책임은 제50조에 의거하여 수 입 또는 수출이 완료된 때에 발 생한다. 수입업자 또는 수출업자는 세관 공무원에게 화물 운송장을 제출 하였으며, 세관 공무원이 접수하 고 화물 운송장 번호를 발급한 때에는 세금을 납부하도록 한다.
왕국 내 수입 물품에 대한 세금 산정은 수입이 완료된 시점의 물 품 상태와 세관 가격 및 관세율 에 따라 산정하도록 한다. 다만, 다음 각 항에 해당하는 것은 예 외로 한다. 보세창고에 보관해 둔 물품의 경 우 수입이 완료된 시점의 물품 상태와 세관 가격 및 관세율에 따라 세금을 산정하도록 한다. 그 러나 세관 요율은 해당 물품이 보세창고에서 출고된 시점의 세 관 요율에 따르도록 한다. 이와 관련하여 물품이 수입된 원상태 또는 다른 상태로 출고되는 것은 상관이 없다. 보세창고에 보관된 물품이 멸실 또는 파손된 경우에는 물품이 해 당 보세창고에 입고된 시점의 물 품 상태와 세관 가격 및 관세율 에 따라 세금을 산정하도록 한다. 왕국 내에 들어온 물품이 통과 또는 환승을 위한 물품이었으나 그 후 제102조 두번째 단락에 규 정하는 기한 내에 왕국 내 수입 품으로 통관 변경 요청이 있는 경우, 해당 물품이 왕국 내에 들 어온 시점의 물품 상태와 세관 가격 및 관세율에 따라 세금을 산정하도록 한다.
왕국 외로 수출할 물품에 대한 세금 산정은 세관 공무원이 물품 을 접수하고 화물 운송장 번호를 발급한 시전의 물품 상태와 세관 가격 및 관세율에 따라 산정하도 록 한다.
이 법에 따라 세금을 산정함에 있어 이 법을 시행함에 있어 편 의를 위하여 “세관 가격”이란 다 음 각 항에 해당하는 가격을 뜻 하도록 한다.
(ㄱ) 수입한 물품의 매매 가격 (ㄴ) 동일한 물품의 매매 가격 (ㄷ) 유사한 물품의 매매 가격 (ㄹ) 공제 가격 (ㅁ) 산정 가격 (ㅂ) 복귀 가격
수입하는 경우의 세관 가격 규정 은 보험료, 운송료, 양하비, 적재 비 및 세관으로 입하하는 물품 운송과 관련한 각종 처리 비용을 합산하여야 한다. 첫번째 단락에 규정하는 바에 따 른 보험료 또는 운송료 목록의 가격이 없거나 양하비나 적재비 또는 각종 처리 비용이 없는 경 우 해당 목록의 가격 규정은 국 장이 고시에서 정하는 바에 따르 도록 한다.
어떠한 사람이 세관 가격이나 물 품의 원산지 또는 관세율을 알고 자 원한다면 그 사람은 다음 각 항에 해당하는 사안에서의 사전 검토를 위하여 국장에게 신청서 를 제출할 수도 있다.
납세 의무자가 세금을 미납하였 거나 완납하지 아니한 것을 적발 한 때에는 세관 공무원이 이 법 과 관세율에 관한 법에 따라 세 금을 산정할 권한을 갖도록 한다. 첫번째 단락에 의거한 세금 산정 은 화물 운송장을 제출한 날부터 3년의 기한 내에 조처하도록 한 다. 다만, 해당 기한이 만료된 경 우에는 2년을 초과하지 아니하는 기간 내에서 국장에게 연장을 요 청할 수 있도록 한다. 납세 의무자가가 세금 탈루 의도 가 있다고 국장이 믿을 수 있는 증거가 드러나는 경우에는 두번 째 단락의 기한이 만료된 날부터 5년 이내에 세금을 재산정 할 수 있는 권한을 갖도록 한다.
세금 산정을 완료한 때에는 세금 산정이 완료된 날부터 7일 이내 에 세관 공무원이 수입업자 또는 수출업자에게 세금 산정통지서식 을 발송하도록 한다. 이와 관련하 여 국장에 고시에서 정하는 원칙 과 방법 및 조건을 따르도록 한 다. 수입업자 또는 수출업자는 세금 산정통지서식을 수령한 날부터 30일 이내에 세금을 완납하여야 한다.
미납되거나 완납되지 아니한 세 금을 징수할 관세국의 권리는 화 물 운송장이 제출된 날부터 10년 의 시효를 두도록 한다. 다만, 세 금 산정 오류에서 기인하여 미납 되거나 완납되지 아니한 세금에 대한 징수는 화물 운송장이 제출 된 날부터 2년의 시효를 두도록 한다. 첫번째 단락에 따른 완납되지 아 니한 세금 징수가 한 부의 운송 장에 대하여 200바트를 초과하지 아니한 금액에서의 권리인 경우, 만약 해당 물품이 세관의 보호에 서 벗어났다면 국장은 완납되지 아니한 세금에 대한 징수를 중지 하도록 명할 수도 있다.
수입업자 또는 수출업자가 세금 을 미납하거나 완납하지 아니한 경우, 세관의 보호에서 물품을 출 하하거나 왕국 외로 수출되는 날 부터 세금을 납부하는 날까지, 1 개월의 잔여일은 1개월로 계산하 여 납부하여야 하거나 추가로 납 부하여야 하는 세금의 월 1%의 추가금을 복리 계산없이 부과되 는 추가금을 납부하여야 하거나 추가로 납부하여야 하는 세금을 초과하지 아니 하도록 하여 징수 하도록 한다. 수입업자 또는 수출업자가 제20 조에 따른 세금 산정 통지 서식 을 수령한 날부터 30일의 기한 내에 세금을 납부하지 아니하는 경우, 납부하여야 하거나 추가로 납부하여야 하는 세금의 20%에 해당하는 벌과금을 부과하도록 한다. 추가금 또는 벌과금은 세금으로 간주하도록 한다. 추가금은 부령에서 정하는 원칙 에 따라 할인이 가능할 수도 있 다. 벌과금에 대해서는 장관의 승 인에 의하여 국장이 정하는 규칙 에 따라 면제 또는 할인이 가능 할 수도 있다.
수입업자 또는 수출업자가 세금 을 체납하는 경우, 국장이 해당자 가 수입 또는 수출하는 물품이며 통관 수속 중이거나 세관의 감독 에 있는 물품을 수입업자 또는 수출업자가 체납한 세금을 완납 할 때까지 압류할 수 있도록 하 고, 만약 해당 물품을 압류한 날 부터 30일의 기한 내에 납부하지 아니한다면 국장이 해당 물품을 경매할 권한을 갖도록 한다. 첫번째 단락에 따른 경매 수익금 은 체납된 세금, 경매한 물품에 대한 세금, 보관료, 운송료 또는 기타 법률에 따른 세금을 포함하 여 관세국에 체납한 기타 관련 부담금을 우선 공제하도록 하며 잔액은 차례대로 경매한 물품을 입하한 보관자 또는 운송자에게 지불하여야 하는 각종 관련 부담 금으로 사용하도록 한다. 이와 같 이 공제를 완료하고 잔액이 남은 때에는 물품의 소유자에게 반환 하도록 하나 경매가 완료된 날부 터 6개월의 기한이 만료된 때까 지 물품 소유주가 잔액의 반환을 청구하지 아니하는 경우 국고로 환수하도록 한다.
체납된 세금에 대해 강제함에 있 어 만약 세관이 제23조에 의거하 여 집행을 완료하였으나 세금을 수납하지 못하거나 전액을 수납 하지 못하였다면 법원의 명령을 요청할 필요없이 국장이 왕국 전 역에서 납세 의무자의 재산을 압 수 또는 압류하고 경매할 권한을 갖도록 한다. 재산의 압수 및 경매 방법은 「민 사소송법전」을 준용하여 집행하 도록 한다. 압류 방법에 대해서는 장관의 승인에 의하여 국장이 정 하는 규칙에 따라 집행하도록 한 다. 해당 경매의 수익금은 수수료와 압수 및 경매 비용과 납부하지 아니하거나 완납하지 아니한 세 금을 공제하도록 한다. 만약 잔액 이 있다면 물품 소유주에게 반환 하도록 한다.
납부하여야 하는 금액을 초과한 세금 납부가 있었다고 나타난 때 에는 다음 각 항 중 한가지를 시 행하도록 한다.
왕국에서 물품을 수출하기 위하 여 세금을 납부하였으나 해당 물 품을 수출하지 아니 한 경우, 수 출업자에게 세관 공무원이 화물 운송장을 수령한 날부터 90일의 기한 내에 세금 환급신청서를 제 출할 권리를 갖도록 한다. 첫번째 단락에 따른 세금 환급신 청서 신청 및 세금 환급은 국장 에 고시에서 정하는 원칙과 방법 및 조건을 따르도록 한다.
납부 또는 추가 납부하여야 하는 금액을 초과하여 부과한 이유로 인하여 세금 또는 관세보증금을 환급하여야 하는 경우, 마지막으 로 세금을 납부하거나 관세보증 금을 납입한 날부터 환급이 승인 된 날까지 환급하여야 하는 금액 에 대하여 복리 계산 없이 월 0.25%의 이자를 가산하여 환급하 도록 한다. 세관의 보호로부터 물품을 출하 하거나 왕국 외로 물품을 수출한 후 여타의 보증을 보증금으로 변 경한 경우에는 보증을 대신하여 마지막으로 보증금을 납입한 날 부터 환급하도록 승인된 날까지 계산하여 환급하여야 하는 보증 금에 대한 이자를 산정하도록 한 다. 첫번째 단락 및 두번째 단락에 의거하여 지급하는 이자는 환급 하여야 하는 세금 또는 관세보증 금을 초과하지 아니 하도록 한다. 첫번째 단락 및 두번째 단락에 의거하여 이자를 산정함에 있어 서 1개월의 잔여일은 1개월로 간 주하도록 하며, 지급하여야 하는 이자는 환급하여야 하는 세금으 로 간주하도록 한다.
왕국 내에 물품을 수입하고 세금 을 납부한 사람은, 만약 해당 물 품이 왕국 외로 반송되거나 왕국 외로 회항하는 선박 또는 항공기 의 소비품으로 보낸다면, 금액이 더 높은 것을 화물 운송장 각각 의 부에 따라 계산하여 징수한 금액의 90% 또는 1천 바트를 초 과한 부분 중 더 금액이 높은 것 을 따라, 다음 각 항의 원칙에 의 거하여 해당 물품에 대한 수입세 환급을 신청할 권리를 갖도록 한 다.
생산, 혼합, 조립, 포장 또는 기 타 방법으로 처리하기 위하여 왕 국 내에 물품을 수입하고 세금을 납부한 사람은, 만약 해당 처리에 서 얻은 물품을 왕국 외로 수출 하거나 왕국 외로 회항하는 선박 또는 항공기의 소비품으로 보낸 다면 왕국에 수입한 물품에 대하 여 다음 각 항에 의거하여 수입 세 환급을 신청할 권리를 갖도록 한다.
왕국 외로 물품을 수출하거나 왕 국 외로 회항하는 선박이나 항공 기의 소비품으로 보내기 위하여 제29조에 따라 생산, 혼합, 조립, 포장 또는 기타 방법의 처리 용 도로 물품을 왕국에 수입한 사람 은 국장에게 수입세 납부를 대신 하여 다른 한가지의 보증 설정을 요청할 수도 있다. 이와 관련하여 국장이 고시에서 정하는 원칙과 방법 및 조건을 따르도록 한다. 수입업자가 첫번째 단락에 의거 하여 세금 납부 대신 설정하는 보증의 반환은 국장이 고시에서 정하는 원칙과 방법 및 원칙에 따르도록 한다.
제29조에 따른 생산, 혼합, 조립, 포장 또는 기타 방법의 조치로 얻은 물품을 보세창고에 입고하 는 이전이나 관세율에 관한 법률 또는 기타 법률에 의거하여 면세 권을 가진 사람에게 판매하는 것 은 왕국 외로 수출되는 것이며 해당 물품의 이전 또는 판매 시 한에 수출을 완료한 것으로 간주 하도록 한다. 이와 관련하여 제 29조 및 제30조를 수입업자에 대 한 세금 또는 기타 보증 환급에 준용하도록 한다. 첫번째 단락에 따라 이전 또는 판매되는 물품의 수령은 해당 물 품이 이양 또는 판매된 시점부터 왕국 내에 수입된 것으로 간주하 도록 하며, 수입에 관한 조항을 준용하도록 한다. 보세창고에 물품을 입고시키는 이전과 면세권자에게 물품을 판 매하는 것 및 해당 물품의 수령 은 국장이 고시에서 정하는 원칙 과 방법 및 조건을 따르도록 한 다.
재무부 차관을 위원장으로 하고 법령위원회 사무총장, 국세국장, 소비세국장, 재무경제사무처장 및 장관이 임명하는 3인 이하의 권 위자를 위원으로 하여 구성되는 관세심사위원회를 설치하도록 한 다. 국장은 관세국의 공무원 1인을 간사로 임명하고 2인 이하를 간 사보로 임명하도록 한다.
제32조에 따른 권위자 위원의 임 기는 기당 3년이며, 재임명될 수 도 있다. 첫번째 단락에 따른 위원이 임기 만료 전 사퇴하는 경우 위원의 직위가 공석이 된 날부터 90일의 기한 내에 대신할 위원 임명 조 치를 취하도록 한다. 다만, 위원 의 잔여 임기가 30일 미만이라면 대신할 위원을 임명하지 아니 할 수도 있다. 첫번째 단락에 따른 위원이 임기 만료 전 사퇴하는 경우 공석인 직위에 임명된 사람의 임기는 기 존에 임명되었던 위원의 잔여 임 기와 동일하도록 한다. 첫번째 단락에 따른 임기가 만료 된 때에 만약 새로운 위원이 임 명되지 아니 하였다면, 새로 임명 되는 위원이 취임하는 때까지 임 기가 만료된 위원이 계속하여 직 무를 수행하도록 한다.
제33조에 따른 임기 만료에 따른 퇴임 이외에 제32조에 따른 권위 자 위원은 다음 각 항에 해당하 는 때에 퇴임한다.
관세심사위원회의 회의는 전체 위원의 과반수 이상의 위원이 참 석하여야 정족수가 된다. 관세심사위원회의 회의에 만약 위원장이 불참하였거나 직무를 수행할 수 없는 경우 회의에서 위원 중 1인을 의장으로 선출하 도록 한다. 직무를 수행하는 때에 만약 위원 장 또는 위원이 이해관계가 있는 안건을 검토한다면 해당 위원장 또는 위원은 회의에 참석할 권리 가 없다. 의결은 다수결을 따르도록 한다. 위원 1인은 1개의 표결권을 행사 하도록 하며 만약 동률이라면 의 장이 1개의 표결권을 추가로 행 사하도록 한다.
관세심사위원회는 다음 각 항의 권한과 직무를 담당한다.
제(1)항 및 제(2)항의 규정은 장 관의 승인을 받고 관보에 고시를 완료하였을 때 세관 공무원이 이 를 준수하도록 한다. 제(3)항에 따른 관세심사위원회의 판결은 최종 판결이 되도록 한다.
수입업자 또는 수출업자는 세금 산정통지서식을 수령한 날부터 30일의 기한 내에 관세심사위원 회에 세금 사정에 대한 이의를 제기할 권리가 있다. 첫번째 단락에 따른 재심청구 및 이의심판절차는 국장이 부령 에서 정하는 원칙과 방법 및 조 건을 따르도록 한다.
제37조에 의거한 세금 산정에 대 한 재심청구는 세관 공무원이 산 정하는 바에 따른 세금 납부 유 예의 사유가 되지 못한다. 다만 재심청구자가 재심 판결 또는 최 종 판결을 기다리도록 국장에게 허가를 받은 경우는 예외로 한다. 첫번째 단락에 따라 세금 납부 유예 허가를 받은 재심청구자는 재심 기각 통지나 재심에 대한 판결을 수령한 날 또는 최종 판 결을 인지한 날부터 30일의 기한 내에 세금을 완납하여야 한다. 재심에 대한 판결이 세금을 추가 로 납부하도록 하는 경우, 재심청 구자는 두번째 단락과 동일한 기 한 내에 세금을 납부하여야 한다.
관세국장을 위원장으로 하고 국 세국 대리인, 소비세국 대리인, 법령위원회사무국 대리인 및 대 검찰청 대리인을 위원으로 하여 구성되는 재심검토위원회를 두도 록 한다. 국장은 관세국의 공무원 1인을 간사로 임명하고 2인 이하를 간 사보로 임명하도록 한다.
필요성이 있으며, 장관이 타당하 다고 판단하는 경우에는 하나 또 는 다수의 재심청구검토위원회를 추가로 두도록 규정할 수도 있으 며 해당 재심청구위원회는 제39 조에 규정하는 바에 따라 구성되 도록 한다.
재심청구검토위원회는 세 관 공무원이 재심청구를 접수하 고 해당 재심청구 관련 서류가 구비된 날부터 180일의 기한 내 에 재심청구에 대한 검토를 완료 하도록 한다. 불가피한 이유가 있는 경우 재심 청구검토위원회는 재심청구에 대 한 검토 기간을 연장할 수 있으 나 90일을 초과하여서는 아니 된 다.
만약 재심청구검토위원회가 제41 조에 따른 기한 내에 재심청구에 대한 검토를 완료하지 아니하였 다면 수입업자 또는 수출업자는 사건을 법원에 제소할 권리가 있 다. 수입업자 또는 수출업자가 사건 을 법원에 제소한 경우 재심청구 검토위원회는 해당 수입업자 또 는 수출업자의 재심청구를 취소 하도록 한다.
제35조를 재심청구검토위원회의 회의에 준용하도록 한다.
재심청구검토위원회는 위임하는 바에 따른 어떠한 하나의 임무를 수행하도록 하기 위하여 소위원 회를 임명할 권한이 있다. 제35조를 첫번째 단락에 따른 소 위원회의 회의에 준용하도록 한 다.
재심청구검토위원회 또는 제44조 첫번째 단락에 따른 소위원회는 재심청구자에게 소환장을 발급하 거나 관련자에게 진술 또는 양식 에 관계없이 재심청구건과 관련 한 장부, 서류, 증거, 자료 또는 물품을 제출하도록 요청할 권한 이 있으며 해당자에게 소환장을 수령하거나 요청 통지를 수령한 날부터 최소한 15일의 기한을 주 어야 한다. 어떠한 재심청구자가 첫번째 단 락에 의거한 소환장에 따라 이행 하지 아니 하거나 타당한 사유없 이 진술을 거부한다면 재심청구 검토위원회는 해당 재심청구를 취소하도록 한다.
재심청구자가 재심청구 철회 요 청서를 제출하는 경우 재심청구 검토위원회는 해당 재심청구를 기각하도록 한다.
재심청구검토위원회의 결정은 문 서로 작성하고 재심청구자에게 고지하여 최종 판결이 되도록 한 다.
재심 청구자가 재심청구검토위원 회의 결정에 불복하는 경우 재심 청구자는 재심에 대한 판결을 고 지 받은 날부터 30일의 기한 내 에 법언에 사건으로 제소할 권리 가 있다. 다만 제46조에 의거하 여 재심청구검토위원회가 재심청 구를 기각한 것은 제외한다.
관세심사위원회의 위원과 재심청 구검토위원회의 위원 및 재심청 구검토위원회가 임명한 소위원회 의 위원은 「형법전」에 의거한 담 당관이 되도록 한다.
다음 각 항의 경우 수입 및 수출 이 완료된 것이다.
어떠한 물품을 세관의 보호에서 출하하기 전 또는 어떠한 물품이 왕국 밖으로 나가기 전에 수입업 자 또는 수출업자는 이 법 및 세 관에 관한 기타 법률에 따라 온 전히 이행하여야 하며, 정확한 화 물 운송장을 제출하여야 하고 세 금을 완납하거나 담보를 설정하 여야 한다. 첫번째 단락에 따른 화물 운송장 제출과 세금 납부 및 담보 설정 은 청장이 고시하여 정하는 원칙 과 방법 및 조건을 따르도록 한 다. 긴급하게 어떠한 물품을 세관의 보호에서 출하하여야 하거나, 어 떠한 물품을 왕국 밖으로 내보내 야 한다고 관계자가 요청하고 청 장이 필요하다고 판단하는 때에 는 청장은 화물 운송장을 완전하 게 제출하거나 세금을 완납하기 전에 해당 물품을 세관의 보호에 서 출하하거나 왕국 밖으로 내보 내도록 허가할 권한이 있다. 이과 관련하여 청장은 신청자가 준수 하도록 조건을 설정할 수도 있으 며 반드시 세금을 납부하여야 하 는 경우에는 청장이 정하는 원칙 과 방법 및 조건에 따라 신청자 가 세금 담보를 설정하도록 한다.
왕국 내로 물품을 수입하거나 왕 국 외로 수출할 때에는 수입업자 또는 수출업자가 세관 공무원에 게 청장이 고시하여 정하는 양식 에 따라 최소한 반드시 다음 각 항의 목록을 포함하는 화물 운송 장을 제출하도록 한다.
세관 공무원이 화물 운송장에 표 시해 놓은 목록을 조사하여 해당 목록이 누락없이 완전하다고 판 단하였을 때 세관 공무원은 화물 운송장에 보증 서명을 하거나 해 당 목록이 누락없이 완전하다는 것을 보증하기 위하여 청장이 정 하는 바에 따른 기타 방법을 이 용하도록 한다.
왕국 내로 수입하는 물품이 만약 승객의 개인 물품이며 가격이 청 장이 고시하여 정하는 액수를 초 과하지 아니한다면 수입업자는 해당 물품에 대한 화물 운송장을 제출할 필요가 없다. 첫번째 단락에 따른 물품이 반드 시 세금을 납부하여야 하는 물품 인 경우 수입업자는 해당 물품을 세관 공무원에게 제시할 때 또는 세관 공무원이 조사하여 해당 물 품이 반드시 세금을 납부하여야 하는 물품이라는 것을 발견하였 을 때 세금을 납부하도록 한다.
물품과 관련한 전체 상세 목록을 알지 못하여 수입업자가 화물 운 송장을 작성할 수 없는 경우 수 입업자가 청장에 고시하여 정하 는 원칙과 방법 및 조건을 이행 하도록 하여 세관의 보호 내에 있는 물품을 개봉 조사하도록 허 가요청서를 제출할 수도 있다. 첫번째 단락에 따라 수입업자가 개봉 조사를 하도록 허가 받은 날부터 30일의 기한이 만료되었 으며 해당 기한 내에 수입업자가 아직 화물 운송장을 빠짐없이 제 출하지 아니하거나 세금 완납 또 는 담보 설정을 아니한 때에는 개봉 조사된 물품을 기관경과물 품으로 간주하도록 한다.
세관 공무원이 통관절차를 진행 중인 물품에 대한 세금 금액과 관련하여 문제가 있다고 판단하 는 경우 해당 물품을 세관으로 인도하도록 하거나 확실하고 안 전한 어떠한 한 곳에 보관해 두 도록 한다. 다만 화물 운송장에 표시된 금액에 따라 세금을 납부 하고 추가금을 담보로 설정하거 나 해당 물품에 대하여 납부하여 야만 할 수도 있는 최고 세액 전 부를 다른 것으로 담보를 설정하 는 것을 포함하여 세관 공무원과 수입업자 또는 수출업자가 해당 문제를 판단하기 위하여 물품 견 본을 보관하도록 결정하는 것은 예외로 한다. 세관 공무원이 납부하여야 하는 세금을 산정하고 수입업자 또는 수출업자에게 세금을 납부하도록 통지하였을 때에는 수입업자 또 는 수출업자는 통지를 받은 날부 터 30일의 기한 내에 통지를 받 은 금액에 따라 세금을 완납하여 야 한다. 다만, 첫번째 단락에 따 라 담보를 설정하였고, 해당 금액 이 세금을 충족하는 것은 예외로 하여 세관 공무원이 해당 담보를 산정하는 금액에 따라 세금액으 로 징수하도록 할 수 있으며 수 입업자 또는 수출업자가 세금을 완납한 것으로 간주하도록 한다.
차량관리자가 부령에서 정하는 기한 내에 세관 공무원이 감독하 여야 하는 적재나 운송을 하거나 수입품 또는 수출품과 관련한 어 떠한 한가지를 행하도록 한다. 다 만 해당 물품 적재 또는 운송을 다른 시간에 행하도록 청장의 허 가를 받은 것은 예외로 한다.
반드시 수출업자 또는 수입업자 가 비용을 지불하여 물품 상차, 또는 하차, 물품 운송, 검문소로 의 인도, 물품 계량, 재포장, 집 적, 선택, 분류, 표시, 번호 매기 기 또는 해당 행위에 대한 허가 나 수입업자 또는 수출업자의 책 임이 되도록 인도받을 때까지 보 관장소에 물품을 운송 보관하여 야 한다.
수입품 또는 수출품 운송은 운송 지역내에서만 운송하여야 한다. 다만 청장이 경우에 따라 수입업 자나 수출업자 또는 다른 장소 소유주 또는 관리인이 담보를 설 정하도록 청구하여 다른 장소에 서 운송하도록 청장이 허가하는 것은 제외한다.
수입품 또는 수출품의 포장재 또 는 컨테이너는 반드시 해당 포장 재 또는 컨테이너 관리 기호 또 는 숫자가 있어야 하며 해당 물 품 관련 서류에 반드시 해당 기 호 또는 숫자를 표시하여야 한다.
제50조 제(4)항에 따른 우편을 통 한 수입품 또는 수출품은 수입 또는 수출 관계자가 해당 물품과 관련한 목록을 제시하도록 한다. 첫번째 단락에 따른 수입 또는 물품에 위법 행위의 발생이 있는 경우 다음 각 항에 해당하는 사 람에게 책임을 지도록 하고 처벌 한다.
제242조, 제243조, 제244조 및 제245조를 우편을 통한 수입품 또는 수출품에 준용하도록 한다.
세관 공무원은 수입 또는 수출 소포 우편물을 조사할 수 있다. 의심할 만한 사유가 있는 경우 세관 공무원은 수출업자나 수입 업자 또는 수취인으로 성명이 기 재되어 있는 사람이나 수취인이 세관 공무원에게 서신 또는 소포 에 금지 물품이나 제한 물품 또 는 세근을 미납한 물품이 없다는 것을 나타낼 때가지 해당 우편 서신 또는 소포를 압류할 수도 있다.
수입업자, 수출업자, 운송업자 및 청장이 고시하여 정하는 바에 따 른 관계자는 수입 또는 수출한 날부터 최소한 5년간 장부와 서 류, 증거 자료 및 통관 중이거나 통관을 완료와 물품과 관련한 기 타 자료를 보관 및 보존할 의무 가 있다. 첫번째 단락에 따른 사람이 폐업 하는 경우 해당자 또는 청산인은 폐업일로부터 2년간 장부와 서류, 증거 자료 및 해당 자료를 보관 하고 보존하도록 한다. 첫번째 단락과 두번째 단락에 따 른 장부와 서류, 증거 자료 및 해 당 자료의 보관 및 보존은 청장 이 고시하여 정하는 원칙과 방법 및 조건을 따르도록 한다.
공선(公船)을 제외한 왕국 입국 선박은 조사를 위하여 선장이 세 관 공무원에게 입항을 보고하고 선박에 대한 상품 목록 제출 및 선박등록증을 제시할 의무가 있 다. 첫번째 단락에 따른 입항 보고 및 선반에 대한 물품 목록 제출 은 청장이 고시하여 정하는 원칙 과 방법 및 조건을 따르도록 한 다. 첫번째 단락에 따른 선박이 세관 인 항구에 도착하였으며, 선박 내 에 외국으로부터의 물품이 있고 물품을 왕국 외로 수출하고자 하 거나 왕국 내의 다른 곳으로 운 송하고자 하는 경우 선장은 반드 시 입항 보고에서 해당 물품과 관련한 내용도 진술하여야 한다.
세관 공무원이 선장으로부터 정 확한 보고를 받거나, 선장이 입항 보고에서 물품을 표시할 수 없는 사유를 설명할 수 있을 때까지 입항 보고에 표시하지 아니한 선 박 내 물품 이동 금지를 명할 권 한을 갖도록 한다.
만약 선장이 세관 공무원에게 선 박에 적재해 온 포장화물이나 컨 테이너 내에 있는 화물이 어떠한 물건인지 모른다고 보고한다면 세관 공무원은 조사를 위하여 포 장화물이나 컨테이너를 개봉하도 록 명하고, 만약 해당 포장화물이 나 컨테이너에 금지 물품이 있다 고 드러난다면 법적 조치를 취하 기 위하여 해당 물품을 압수하도 록 한다.
외국에서 운항해 온 선박이 항만 구역에 도착한 때에는 반드시 지 정된 검사장에 정박하여야 하며 선장이 다음 각 항과 같은 책임 을 맡도록 한다.
선박이 세관인 항만구역에 도착 한 날부터 10일의 기한이 만료된 때에 만약 선장이 선박에서 화물 하역 이행을 완료하지 아니하였 거나 수입업자가 화물 운송장의 제출을 이행하지 아니하였거나 또는 세관 공무원이 물품을 조사 하도록 하거나 물품을 올바르게 인도하도록 하기 위한 조치를 취 하지 아니하였다면 세관 공무원 이 선장 또는 수입업자가 해당 물품의 이동 및 보관 비용을 지 불하도록 하여 세관 공무원이 정 하는 장소에 해당 물품을 인도하 여 보관하도록 명할 수도 있다. 물품과 관련한 비용의 지불이 완 료되었을 때 세관 공무원은 첫번 째 단락에 따라 인도하여 보관한 물품을 반환하도록 수입업자에게 허가할 수 있다.
선박이 세관인 항만 구역에 도착 한 날부터 21일의 기한이 만료한 때에, 만약 선장이 선박에서 화물 하역 이행을 완료하지 아니하였 다면 세관 공무원은 선장이 필요 한 기타 비용을 포함하여 해당 물품을 간수하는 비용을 지불하 도록 하여 선장이 선박에서 물품 을 전부 하역하는 때까지 해당 선박을 억류하도록 명할 권한이 있다. 만약 선장이 불가항력의 사유 또 는 회피할 수 없는 사유로 인하 여 해당 지연이 발생하였다는 타 당한 근거를 제시한다면 청장은 첫번째 단락에 따른 비용 청구를 면제할 수 있다.
세관 공무원이 해당 선박에 대한 입항허가증을 발급할 때까지 어 떠한 선박에 수출할 물품을 운송 하여 하역하는 것을 금지한다. 다 만 입항허가서를 받기 전에 해당 선박에 물품을 운송하여 하역하 도록 허가 받은 것은 예외로 한 다. 이와 관련하여 청장이 고시하 여 정하는 원칙과 방법 및 조건 에 따른다.
공선을 제외하고 세관인 항구에 서 왕국 외로 출항할 선박은 선 장이 심사를 위해 세관 공무원에 게 출항을 보고하고 선박용 상품 대장을 제출해 출항허가서를 받 아야 한다. 세관 공무원이 출항보고서에 승 인 서명을 완료한 때에는 해당 보고서를 출항허가서로 간주하도 록 한다. 첫번째 단락에 따른 선박 출항 보고와 상품 대장 제출은 국장이 고시하여 정하는 원칙과 방법 및 규정에 따르도록 한다.
만약 출항허가서를 받은 선박이 세관인 어떠한 한 곳의 항구에서 왕국 내 세관인 다른 한 곳의 항 구로 간다면, 선장이 해당 세관인 항구의 세관 공무원에게 최초의 출항허가서와 이후에 발급된 출 항허가서를 붙여서 함께 첨부해 출항을 보고하고 해당 선박에 선 적한 상품 대장을 제출하도록 한 다. 또한 왕국 외로 출국하는 마 지막 출항허가서를 받을 때까지 세관인 모든 항구에서 이와 같이 행하여야 한다. 세관 공무원이 출항보고서에 승 인 서명을 완료한 때에는 해당보 고서를 선박이 왕국 외로 출국하 도록 하기 위한 출항허가서로 간 주하도록 한다. 첫번째 단락에 따른 선박 출항 보고와 상품 대장 제출은 국장이 고시하여 정하는 원칙과 방법 및 규정에 따르도록 한다.
제67조 제(4)항에 따라 세관 공무 원에게 총기나 총탄, 화약 또는 폭발물을 인도한 경우, 해당 선박 이 세관인 항구 구역을 떠나는 때에 해당 물품을 선장에게 반환 하도록 한다.
모든 선박은 해양으로 나가기 위 해 관세국의 검문소를 통과하는 때에는 감속하여야 한다. 또한 세 관 공무원은 선장을 소환해 선박 명과 이동할 장소에 대한 질문에 답변하도록 할 권한을 갖도록 한 다.
선적 완료 여부에 상관없이, 선박 에서 출항 물품을 선적한 날부터 14일의 기한이 만료한 때에 선박 이 항구 구역에 머물러 있다면, 세관 공무원은 해당 선박에서의 체류에 대한 수수료를 청구할 수 도 있다. 만약 선장이 그러한 지체가 불가 항력의 상황 또는 불가피한 사유 로 인하여 발생하였다는 타당한 근거를 제시한다면, 국장은 첫번 째 단락에 따른 수수료를 면제할 수도 있다. 세관 공무원은 수수료와 해당 선 박에 대한 억류 비용을 납부할 때까지 첫번째 단락에 따른 화물 선적 선박을 억류할 수도 있다.
수출업자가 제51조에 따라 세관 공무원에게 수출화물 운송장을 제출하였으나 선박이 출항하기 전에 선박에 해당 화물을 선적하 지 아니한 경우, 수출업자는 선박 이 출항한 날부터 3일의 기한 내 에 세관 공무원에게 선박에 해당 물품을 선적하지 못한 사유를 신 고하도록 하며, 세관 공무원은 그 사유를 해당 화물 운송장에 기록 하도록 하고, 선박에 선적하지 못 한 물품을 세관 공무원이 정하는 장소에 보관하도록 한다. 이와 관 련하여 수출업자가 해당 물품의 보관으로 인하여 발생하는 비용 에 대하여 책임지도록 한다. 수출업자는 첫번째 단락에 따라 보관한 물품에 대하여 다음 각 항 중 어느 하나에 해당하는 조 치를 취하도록 한다.
공선을 제외한, 출항할 모든 선박 은 전면 게양대에 기를 게양하여 야 한다. 만약 선박이 오후 시간 에 출항한다면 이은 아침부터 게 양하도록 하고, 만약 선박이 아침 시간에 출항한다면 전날 오후부 터 게양하도록 한다.
국장은 세관인 항구 구역에 입항 할 필요없이 선박이 화물을 운송 하도록 하기 위해 외부 정박 구 역을 지정할 권한이 있으며, 해당 외부 정박 구역을 이용하는 시간 을 정하도록 한다. 긴급사태 또는 급박한 필요성이 있는 경우 국장은 특정 회차에 한해 외부 정박 구역 외의 화물 을 운송하도록 허가할 수도 있다.
외부 정박 구역의 화물을 운송하 고자 하는 선장은 국장에게 허가 신청서를 제출하도록 한다. 첫번째 단락에 따른 외부 정박 구역의 화물 운송 허가 신청 및 허가는 국장이 고시하여 정하는 원칙과 방법 및 조건을 따르도록 한다.
외부 정박 구역의 화물을 운송하 도록 허가를 받은 선장은 국장이 고시하여 정하는 원칙과 방법 및 조건에 따라 외부 정박지를 관할 하는 세관 공무원에게 각 운송선 에 의해 운송할 상품 대장을 작 성하고 제출하도록 한다. 외부 정박지를 관할하는 세관 공 무원이 첫번째 단락에 따라 운송 할 상품 대장을 수령하고 해당 상품 대장의 정확성을 보증하는 서명을 한 때에는 해당 상품 대 장이 그 운송선의 화물을 세관인 항구 구역으로 들여 가도록 하는 허가증으로 간주하도록 한다. 세관인 항구에 운송선이 도착한 때에는 해당 운송선의 선장이 그 세관에 주재하는 세관 공무원에 게 상품 대장을 인도하도록 하여 화물을 운송하고 통관절차를 계 속해서 진행하도록 한다.
총기나 총탄, 화약, 폭발물 또는 제한 물품은 세관 공무원의 허가 를 받은 것을 제외하고, 외부 정 박지에 운송하지 아니하도록 금 지한다.
외부 정박지에서 운송하는 것을 필수로 하여 왕국 외로 수출하는 경우, 수출업자는 먼저 세금과 부 대비용을 완납하여 화물 운송장 을 제출하여야 하며, 국장이 고시 하여 정하는 원칙과 방법 및 조 건에 따라 각 운송선으로 운송하 는 상품 목록을 작성하고 세관에 주제하는 세관 공무원에게 제출 하도록 한다. 세관 공무원이 첫번째 단락에 따 른 상품 대장을 수령하고 해당 상품 운송장의 정확성을 보증하 는 서명을 한 때에는 해당 상품 대장을 운송선에 보내고, 운송선 이 외부 정박지에 도착하였을 때 운송선 선장이 외부 해당 정박지 를 관할하는 세관 공무원에게 상 품 운송장을 제출하도록 한다. 외부 정박지를 관할하는 세관 공 무원이 조사하여 상품 대장에 표 시해 놓은 세부 목록이 해당 운 송선에 선적한 화물과 일치하지 아니한다는 것을 발견한 경우, 세 관 공무원은 상품 대장이 올바르 게 수정될 때까지 운송선에 선적 되어 온 화물을 압류할 권한을 갖도록 한다.
제28조에 따라 외부 정박지로 화 물을 운송해 가나 선박에서 하역 하지 아니하거나, 전체를 하역하 지 아니하는 경우에는 선장 또는 수출업자가 다음 각 항 중 하나 에 해당하는 조치를 취하도록 한 다.
선박이 외부 정박지에서 출항하 기 전, 외부 정박지에서 화물을 운송하도록 허가를 받은 선장은, 수입 화물 운송이나 수출 화물 운송인 것에 관계없이 부대비용 을 완납하여, 국장이 고시하여 정 하는 원칙과 방법 및 조건에 따 라 세관에 주재하는 세관 공무원 으로부터 출항허가서를 받아야 하며, 해당 출항허가서를 외부 정 박지를 관할하는 세관 공무원에 게 인도하여야 한다. 외부 정박지를 관할하는 세관 공 무원이 조사하여 납부하여야 하 는 세금 또는 기타 비용이 완납 되지 아니하였다는 것을 발견한 때에는, 해당 세관 공무원이 해당 금액이 완납되거나, 다른 것으로 담보가 설정될 때까지 출항허가 서를 압수할 권한을 갖도록 한다.
제71조 및 제77조를 외부 정박 구역 내에서 화물을 운송하는 선 박에 준용하도록 한다.
내륙 접경지역부터 세관으로 향 하거나 세관에서 내륙 접경지역 으로 향하는 수입 또는 수출 화 물 운송은 허가된 경로를 따라 국장이 고시하여 정하는 시간 내 에 운송하여야 한다. 허가된 경로 이외의 다른 경로를 따르거나 첫번째 단락에서 규정 된 이외의 시간의 운송은 국장이 고시하여 정하는 원칙과 방법 및 조건에 따라 국장의 허가를 받아 야 한다.
제86조에 따른 화물 운송이 내륙 접경지역인 물줄기를 따르는 운 송인 경우, 선장이 항구에 정박하 고 수입 또는 수출 물품을 운송 하도록 하기 위하여 국장이 내륙 접경지역인 해당 물줄기를 따르 는 구역을 고시하여 정하는 권한 을 갖도록 한다.
내륙 접경지역을 통과하여 화물 을 왕국 내로 운송함에 있어서 운송자는 다음 각 항을 이행하도 록 한다.
내륙 접경지역을 통과하여 화물 을 왕국 외로 운송함에 있어서 운송자는 다음 각 항을 이행하도 록 한다.
수출업자가 제51조에 따라 세관 공무원에게 수출화물운송장을 제 출하였으나 해당 화물을 통관 검 사한 날부터 7일의 기한 내에 수 출하지 아니한 경우, 수출업자는 통관 검사한 날부터 10일 이내에 해당 화물을 수출하지 못한 사유 를 세관 공무원에게 신고하도록 하며, 세관 공무원은 그 사유를 해당 화물 운송장에 기록하도록 하고, 수출하지 못한 물품을 세관 공무원이 정하는 장소에 보관하 도록 한다. 이와 관련하여 수출업 자가 해당 물품의 보관으로 인하 여 발생하는 비용에 대하여 책임 지도록 한다. 수출업자는 첫번째 단락에 따라 보관하는 화물에 대하여 다음 각 항 중 하나에 해당하는 조치를 취하도록 한다.
차량을 이용하지 아니하였거나 무동력 차량 또는 축력차를 이용 하여 내륙 경계지역을 통과하여 수출 또는 수입 화물을 운송하는 경우, 운송자는 국경검문소에서 정지하여야 하며, 세관 공무원이 운송하는 화물에서 운송에 이용 되는 차량 또는 축력차까지 조사 할 권한을 갖도록 하고 운송자는 합당한 바에 따라 상세 목록을 포함하여 해당 운송 화물과 관련 한 대장을 작성하도록 한다.
공항공기를 제외하고 입국 또는 출국할 항공기는 세관인 공항에 착륙하거나 이륙하여야 한다.
입국하거나 출국할 항공기가 세 관인 공항 이외의 장소에 착륙하 거나 이륙하여야 하는 긴급하거 나 긴요한 상황이 있는 경우 항 공기 관리자는 국장이 정하는 원 칙과 방법 및 조건에 따라 신속 하게 세관 공무원이나 행정담당 관 또는 경찰관에게 보고하도록 하며, 세관 공무원의 승인을 받지 아니하고 항공기 관리자가 항공 기에 어떠한 물품도 적재 또는 하역하는 것을 허가하지 아니하 도록 금지한다. 항공기가 첫번째 단락에 따라 다 른 공항에 착륙하거나 이륙하였 을 때에는 해당 공항의 소유주 또는 상주하는 직원이 신속히 해 당 공항 지역을 담당하는 세관 공무원에게 해당 항공기의 착륙 또는 이륙을 보고하도록 하며, 세 관 공무원의 승인을 받지 아니하 고 항공기에 어떠한 물품도 적재 또는 하역하는 것을 허락하지 아 니하도록 한다. 첫번째 단락의 규정에 따라 이행 하였을 때에는 해당 항공기가 세 관인 공항에 착륙 또는 이륙하였 다고 간주하도록 한다.
공항공기를 제외한 어떠한 항공 기가 왕국 내에 입국하는 때에는 조사를 위하여, 항공기 관리자가 세관인 공항에 주재하는 세관 공 무원에게 항공기의 상품 대장 제 출과 동시에 항공기 보고서를 작 성하여야 한다. 첫번째 단락에 따른 항공기 보고 서 작성과 항공기용 상품 대장 제출은 국장이 고시하여 정하는 원칙과 방법 및 조건을 따르도록 한다. 첫번째 단락에 따라 항공기가 세 관인 공항에 도착하고 항공기에 외국으로부터의 화물이 있으며 외국으로 수출하고자 하는 경우, 제64조 세번째 단락의 조항을 준 용하도록 한다.
공항공기를 제외한 어떠한 항공 기가 왕국 내에 입국한 때에는 항공기 관리자에게 다음 각 항과 같은 책임을 부여한다.
공항기를 제외한 어떠한 항공기 가 세관인 공항에서 이륙할 때에 는 조사를 위하여, 항공기 관리자 는 세관인 공항에 주재하는 세관 공무원에게 항공기의 상품 대장 제출과 동시에 항공기 보고서를 작성하는 책임을 부여하여 이륙 허가서를 받아야 한다. 세관 공무원이 항공기 보고서를 승인한 때에는 해당 보고서를 항 공기가 왕국 외로 출국하도록 하 기 위한 이륙허가서로 간주하도 록 한다. 첫번째 단락에 따른 보고서 작성 과 항공기의 상품 대장 제출은 국장이 고시하여 정하는 원칙과 방법 및 조건을 따르도록 한다.
만약 이륙허가서를 받은 항공기 가 세관인 어떠한 한 곳의 공항 에서 왕국 내에 있는 세관인 다 른 한 곳의 공항으로 간다면, 항 공기 관리자는 해당 세관인 공항 의 세관 공무원에게 최초의 이륙 허가서와 이후에 발급된 이륙허 가서를 붙여서 첨부하여 항공기 보고서를 작성하고, 항공기의 상 품 대장을 제출하도록 한다. 또한 왕국 외로 출국하는 마지막 이륙 허가서를 받는 때까지 세관인 모 든 공항에서 이와 같이 행하여야 한다. 세관 공무원이 항공기 보고서에 승인 서명을 완료한 때에는 해당 보고서를 항공기가 왕국 외로 출 국하도록 하기 위한 이륙허가서 로 간주하도록 한다. 첫번째 단락에 따른 보고와 상품 대장 제출은 국장이 고시하여 정 하는 원칙과 방법 및 규정에 따 르도록 한다.
수출업자가 제51조에 따라 세관 공무원에게 수출화물 운송장을 제출하였으나 항공기가 이륙하기 전에 항공기에 해당 화물을 적재 하지 아니한 경우, 수출업자는 항 공기가 이륙한 날부터 3일의 기 한 내에 세관 공무원에게 항공기 에 해당 물품을 적재하지 못한 사유를 신고하도록 하며, 세관 공 무원은 그 사유를 해당 화물 운 송장에 기록하도록 하고, 항공기 에 적재하지 못한 물품을 세관 공무원이 정하는 장소에 보관하 도록 한다. 이와 관련하여 수출업 자가 해당 물품의 보관으로 인하 여 발생하는 비용에 대하여 책임 지도록 한다. 수출업자는 첫번째 단락에 따라 보관한 물품에 대하여 다음 각 항 중 어느 하나에 해당하는 조 치를 취하도록 한다.
수입물품이나 수출물품, 국경 통 과를 위한 물품, 환적을 위한 물 품 관련 업무 또는 이 법률에 따 른 기타 업무를 진행하기 위한 대리인으로 수입업자나 수출업자 또는 국경 통과 물품 운송업자 또는 환적화물 운송업자로부터 위임을 받고자 하는 사람은 반드 시 국장이 고시하여 정하는 원칙 과 방법 및 조건에 따라 국장의 허가를 받아야 한다. 첫번째 단락에 따라 대리인으로 허가 받은 사람은 수입이나 수출, 통과, 환적 물품의 소유주로 간주 하도록 한다.
이 법률에 따른 직무를 수행하기 위한 대리인이 되도록 차량 관리 자로부터 위임을 받고자 하는 사 람은 반드시 국장이 고시하여 정 하는 원칙과 방법 및 조건에 따 라 국장의 허가를 받아야 한다.
제99조 또는 제100조에 따라 허 가를 받은 대리인은 반드시 국장 이 고시하여 정하는 원칙과 방법 및 조건을 이행하여야 한다. 대리인이 첫번째 단락을 위반하 거나 이행하지 아니한 경우 국장 은 대리인이 합당하다고 판단하 는 액수에 따라 설정하는 담보 집행권을 박탈하지 아니하고 이 법률 또는 기타 법률에 따른 해 당 대리인의 형사적 책임을 면하 지 아니하도록 하여 대리인의 허 가증 사용을 중지하거나 취소할 권한을 갖도록 한다.
국경 통과 또는 왕국 외로 환적 하기 위하여 물품을 반입하는 사 람은 양식에 따라 화물 운송장을 제출하도록 하며, 국장이 고시하 여 정하는 원칙과 방법 및 조건 에 따라 이행하도록 한다. 만약 첫번째 단락에 따라 이행하 고, 왕국에 반입한 날부터 30일 이내에 왕국 외로 반출한다면, 첫 번째 단락의 물품은 세금을 납부 하여야 하는 책임 하에 있지 아 니하다. 육상을 통한 국경 통과는 국가간 협정이 있을 때 가능하도록 한다.
국경 통과나 환적을 위하여 물품 을 반입하는 사람이 제102조 두 번째 단락에 따른 기한 내에 물 품을 왕국 외로 반출하지 아니하 거나, 통관을 수입으로 변경 신청 하고 이 법률에 따라 이행하였으 나 해당 기한 내에 세금을 납부 하지 아니하였거나, 세관 관련 기 타 법률을 이행하지 아니한 경우 해당 물품을 국가 소유가 되도록 한다.
국경 통과 또는 환적을 위하여 반입한 물품이 다음 각 항에 해 당하는 유형의 물품이라고 믿을 사유가 있는 경우, 세관 공무원이 수색영장 없이 해당 물품을 검사 하거나 수색하는 권한을 갖도록 한다.
첫번째 단락에 따른 검사나 수색 은 국장이 고시하여 정하는 원칙 과 방법 및 조건을 따르도록 한 다.
어떠한 물품이 제104조에 따른 유형을 가진 물품이라는 확실한 증거가 있는 경우, 판결에 따라 처벌된 사람의 유무와 관계없이 해당 물품을 압수하여야 하며, 국 장은 사람, 동식물, 재산 및 환경 에 안전한 방법으로 폐기하도록 명하거나, 즉시 반송하도록 명하 거나 또는 운송업자 또는 차량관 리자가 비용을 지불하도록 하여 해당 물품을 다시 사용하지 못하 도록 하거나 합법적으로 사용할 수 있도록 하기 위하여 합당한 기타 조치를 취하도록 명한다.
미풍양속, 공공정책, 국민의 안 전, 사람이나 동물 또는 식물의 생명과 건강 보호 및 문화예술이 나 역사적 측면 또는 고고학적 가치에서의 국가의 자산 보호나 무역 또는 산업적 재산 방어 및 태국이 맡고 있는 국제적 책임을 고려하여 국경 통과 또는 환적을 위하여 반입한 물품에 대하여 관 련 기타 법률에 따라 통과에 관 한 금지 항목 또는 제한 항목을 적용하도록 한다.
다음 각 항에 해당하는 유형의 세관 보호 하에 있는 물품은 기 간 경과 물품이 된다.
이 법률에 따른 기한 경과 물품 에 대하여 조치하는 데 있어 국 장이 다음 각 항의 권한을 갖도 록 한다.
첫번째 단락에 따라 기관이 경과 된 물품에 대하여 조치를 취하는 것은 국장이 고시하여 정하는 원 칙과 방법 및 조건을 따르도록 하며, 제107조제(1)항에 따른 기 간 경과 물품에 대한 조치인 경 우 발생할 여지가 있는 위험에 대하여도 고려하여야 한다. 경우에 따라 제(1)항 또는 제(2) 항에 따라 기간 경과 물품을 폐 기하는 것은 사람과 동식물, 재산 및 환경에 안전한 방법으로 이행 하도록 한다. 만약 국장이 제(1)항에 따른 공매 가 적합한 금액을 획득할 수 없 거나 다른 담보를 설정하여야 하 는 합당한 사유가 있다고 판단한 다면, 다른 방법으로 매각하도록 명할 수도 있다. 그러나 국장이 공매 또는 다른 방법을 통한 매 각이 적합한 금액 또는 이익을 거둘 수 없거나 어떠한 손해를 초래한다고 판단하는 경우, 국장 이 합당하다고 판단하는 방법에 따라 해당 물품에 대한 조치를 취하도록 명할 수도 있다.
만약 세관의 보호에서 아직 인도 받지 못한 물품이 신선품이고, 상 할 수 있는 물품이며, 해당 물품 이 부패하거나 상하였다고 나타 났다면, 국장은 수입업자 또는 운 송업자가 비용을 지불하도록 하 여 언제든 국장이 합당하다고 판 단하는 바에 따라 해당 물품을 폐기하거나 처리하도록 명할 수 도 있다.
제108조에 따라 공매 또는 다른 방법으로 거둔 금액은 기타 법률 에 따른 세금을 포함하여 관세국 에 미납된 관세나 보관료, 운송료 또는 부대비용을 우선 공제하며, 나머지는 차례대로 보관업자 및 운송업자에게 지불하여야 하는 지불하여야 하는 각종 부대비용 으로 사용하도록 한다. 이와 같이 공제를 완료하고 잔액이 있는 때 에는 국가의 소유로 귀속시킨다. 다만 해당 물품을 매각한 날부터 6개월 이내에 소유주가 반환을 요구하는 것은 제외한다.
보세창고 설치는 제116조에 규정 하는 바에 따른 목적을 위하여 국장이 고시하여 정하는 원칙과 방법 및 조건에 따라 시행하도록 한다. 장치장 또는 안전소 설치는 조사 나 검사 또는 세금을 납부하지 아니한 수입품 또는 수출품을 조 사하여 반출하는 장소가 되도록 시행하도록 한다. 허가항 설치는 물품의 왕국 내 수입이나 왕국 외 수출, 통과 또 는 환적을 위하여 시행하도록 한 다.
보세창고나 장치장, 안전소 또는 허가항을 설치하고자 하는 사람 은 국장으로부터 허가증을 받아 야 한다. 첫번째 단락에 따른 허가 신청과 허가는 부령에서 정하는 원칙과 방법 및 조건을 따르도록 하며, 허가를 취득을 완료하였을 때 보 세창고나 장치장, 안전소 또는 허 가항 설치를 실행할 수 있다. 보세창고나 장치장, 안전소 또는 허가항 설치 허가 신청서를 제출 한 동안 만약 국장이 보세창고나 장치장, 안전소 또는 허가항 설치 를 허가할 필요성이 있다고 판단 한다면, 허가신청자가 설치 장소 와 관련한 설계도를 표시하고 국 장이 고시하여 정하는 원칙과 방 법 및 조건을 따르도록 하여 우 선 임시로 허가증을 받을 수도 있다.
허가증 수수료 이외에, 허가증을 취득한 사람은 매년 연간수수료 를 납부하여야 한다. 첫번째 단락에 따라 허가증을 취 득한 사람이 납부 기간 만료까지 연간수수료를 납부하지 아니하는 경우, 국장은 허가증을 취득한 사 람이 정하는 기한 내에 납부하도 록 경고장을 송달하도록 한다.
제112조에 따른 허가증이 분실되 거나 파손되거나 주요 내용이 훼 손된 경우, 허가증을 취득한 사람 은 해당 분실이나 파손 또는 훼 손을 인지한 날부터 15일 이내에 허가증 대체 증서 발급 신청서를 제출하도록 한다. 허가증 대체 증서의 발급 신청 및 허가증 대체 증서의 발급은 국장이 고시하여 정하는 원칙과 방법 및 조건을 따르도록 한다.
제112조에 따라 허가증을 취득한 사람은 경우에 따라 허가증 또는 허가증 대체 증서를 취득한 사람 의 사업장 공개된 곳에 잘 보이 도록 진열하여야 한다.
보세창고에서는 다음 각 항의 일 을 운영하도록 할 수 있다.
관세국이 법률 또는 협정에 따라 징수할 수 있는 세금 또는 기타 비용에 대한 담보로, 보세창고 설 치 허가증을 취득한 사람에게 채 권 또는 기타 담보를 설정하도록 하는 담보를 요구할 수도 있다.
어떠한 보세창고나 장치장 또는 안전소에 보관한 물품에 대한 조 사는 그 보세창고나 장치장 또는 안전소에서 행하도록 한다. 합당하다고 판단하는 경우 국장 은 첫번째 단락에서 지정하는 이 외의 장소에서 반입 물품 또는 반출 물품을 검사하도록 명할 수 도 있다. 이와 관련하여 국장이 정하는 원칙과 방법 및 조건을 따르도록 한다.
통관의 편의를 위하여 필요한 경 우 허가항을 감독하는 세관 공무 원은 아직 검사하지 아니한 물품 을 장치장 또는 안전소에 보관하 도록 명할 수도 있다.
장치장 또는 안전소에 보관한 물 품은 반입된 바에 따른 원래의 상자 또는 컨테이너에 보관하여 야 한다. 다만 세관 공무원에게 허가항에서 상자 또는 컨테이너 를 이동하도록 허가를 받거나 장 치장 또는 안전소에서 취합이나 선별, 구분, 포장 또는 재포장하 도록 허가를 받은 것은 제외하며, 세관 공무원이 보관해 놓은 물품 의 목록을 작성하도록 한다. 첫번째 단락에 따른 보관소에서 물품이나 상자 또는 컨테이너, 상 자에 첨부한 기호 및 숫자를 변 경이나 이동하거나 기타 조치를 취하는 것은 세관 공무원에게 허 가를 받아야 하거나 법률에 의거 한 이행할 권한을 갖는다. 두번째 단락에 규정하는 바에 따 르지 아니한 변경이나 이동 또는 기타 조치를 취한 물품이나 상자 또는 컨테이너는 전부 압수하도 록 한다.
검사 받지 아니한 물품은 허가항 이나 차량 또는 물품을 운반하는 장소에서 취합이나 선별, 구분, 포장 또는 재포장하여서는 아니 된다. 다만 세관 공무원에게 허가 를 받은 것은 제외하며, 세관 공 무원의 검인 첨부가 있어야 한다. 첫번째 단락에 따르지 아니하고 이동이나 취합, 선별, 구분, 포장 또는 재포장된 물품을 전부 압류 하도록 한다.
국장이 고시하여 정하는 원칙과 방법 및 조건에 따라 어떠한 보 세창고에 보관한 물품을 다른 보 세창고로 이동하거나 어떠한 장 치소 또는 안전소에 보관한 물품 을 다른 장치소 또는 안전소에 보관할 수도 있다.
보세창고, 장치소, 안전소 및 허 가항에서의 물품의 반입이나 반 출, 물품 보관, 물품 운반, 물품 검인 및 관리는 국장이 고시하여 정하는 원칙과 방법 및 조건을 따르도록 한다.
수입업자 또는 수출업자가 화물 운송장을 제출하였으며 국장이 고시하여 정하는 원칙과 방법 및 조건을 포함하여 법률에 따라 이 행하여 물품을 보세창고에 보관 한 때에는 세관 공무원이 그 물 품의 상세 항목을 보증하도록 하 며, 보관한 물품은 정당하게 보세 창고에 보관하였다고 간주하도록 한다. 첫번째 단락에 따라 세관 공무원 이 보증한 물품의 상세 사항은 그 물품의 세금을 산정하는 데에 사용하도록 한다. 그러나 보세창 고에서 생산이나 혼합 조립, 포장 또는 기타 방법으로 조치를 취하 기 위하여 해당 물품을 사용한 경우에는 국장이 고시하여 정하 는 원칙을 사용하거나 승인한 양 을 계산하도록 한다. 보세창고 설치 승인을 받은 사람 은 국장이 고시하여 정하는 원칙 과 방법 및 조건에 따라 첫번째 단락에 따른 보세창고 보관 물품 의 운송보고서를 작성하여 제출 하도록 한다.
보세창고나 장치장 또는 안전소 에 보관한 물품이, 타당한 사유없 이 허가를 받은 사람이 그 물품 을 보관하는 때에 세관 공무원에 게 신고한 양과 차이가 있다고 드러난 경우, 차이가 있는 양에 따른 물품은 아직 통관하지 아니 한 것으로 간주하도록 한다.
수출을 위하여 보세창고에서 반 출되는 물품의 반입세 및 반출세 를 면제하도록 한다. 이와 관련하 여 반입한 원래 상태 또는 다른 상태에서 반출하는 것은 관계가 없다. 보세창고에서의 물품 반출이 만 약 다른 보세창고로 이전하여 반 입하는 것이거나, 제29조에 따른 수입업자 또는 관세율에 관한 법 률이나 기타 법률에 따라 세금 면세권이 있는 사람에게 판매하 는 것이라면 국장이 고시하여 정 하는 원칙과 방법 및 조건을 준 수하도록 하여 그와 같은 물품이 보세창고에서 반출되는 때에 왕 국 외로 수출하는 것으로 간주하 도록 한다. 두번째 단락에 따라 이전 또는 판매된 물품의 인수는 국장이 고 시하여 정하는 원칙과 방법 및 조건을 준수하도록 하여 그와 같 은 물품이 보세창고에서 반출되 는 때에 왕국 내로 수입되었거나 수입이 성사되었다고 간주하도록 한다. 첫번째 단락의 내용은 보세창고 반입세를 납부하여야 하고 원래 의 상태로 왕국 외로 수출된 물 품에는 적용하지 아니하도록 한 다.
법률에서 면세 또는 왕국 외로 수출되었을 때 세금 환급을 규정 하는 물품의 경우, 만약 그 물품 을 제116조제(2)항 또는 제(3)항 에 따라 보세창고에 반입하였다 면, 그 물품이 보세창고에 반입되 었을 때 왕국 외로 수출된 것으 로 간주하여 면세 또는 세금을 환급하도록 한다. 이와 관련하여 국장이 고시하여 정하는 원칙과 방법 및 조건을 준수하도록 한다.
국장은 불가항력의 사유 또는 불 가피한 사고로 분실되거나 파손 된 물품에 대하여 다음 각 항의 경우 수입업자에게 면세 또는 세 금 환급 조치를 할 수도 있다.
제112조에 따라 허가증을 취득한 사람이 운영을 종료하고자 만다 면 운영 종료 최소한 30일 전에 미리 국장에게 서면으로 신고하 여야 한다. 첫번째 단락에 따른 운영 종료 신고는 부령에서 정하는 원칙과 방법 및 조건을 따르도록 한다.
제129조에 따라 운영 중지를 신 고한 보세창고나 장치장 또는 안 전소 설치 허가를 취득한 사람은 허가 받은 바에 따른 운영을 중 지하여야 한다. 보세창고인 경우 보세창고에 보 관한 물품에 대하여 다음 각 항 의 어느 하나에 해당하는 조치를 취하도록 한다.
장치장 또는 안전소인 경우 장치 장이나 안전소에 보관한 물품은 기간 경과 물품으로 간주하도록 하며 제108조에 규정하는 바에 따라 해당 물품에 대한 조치를 취하도록 한다. 두번째 단락 또는 세번째 단락에 따른 조치가 완료된 때에 국장은 보세창고나 저장소 또는 안전소 설치 허가를 취득한 사람이 운영 을 종료하도록 허가하고, 그 운영 의 종료 허가를 받은 날부터 허 가증이 만료되도록 한다.
보세창고 설치 허가증을 취득한 사람이 제129조에 따라 운영 종 료를 신고하였으나 국장이 정하 는 기한 내에 제131조에 따라 이 행하지 아니하였다면 국장은 보 세창고 설치 허가증 취소를 명하 도록 하고, 제14조제(1)항에 따라 세금을 산정하여 국장이 허가증 취소를 명한 날부터 보세창고에 있는 물품에 대한 세금을 납부하 도록 한다.
제112조에 따라 허가증을 취득한 사람이 이 법률 또는 이 법률에 의거하여 제정된 부령이나 고시 또는 허가증의 조건에 따라 이행 하지 아니하거나 바르게 이행하 지 아니한다면, 기한 내에 이행하 거나 바르게 이행하도록 청장이 경고장을 송부하도록 한다. 만약 해당자가 이를 준수하지 아니한 다면 청장이 허가증의 사용중지 를 명하도록 한다. 허가증의 사용이 중지된 허가증 취득자는 청장이 정하는 기한 동 안 임시로 허가증에 따른 이행을 중지하여야 한다.
허가증의 사용이 중지된 허가증 취득자가 이 법률 또는 이 법률 에 따라 제정된 부령이나 고시 또는 허가증의 조건에 따라 이행 하거나 바르게 이행하였다고 확 인된 때에는 청장이 정하는 기간 전에 제132조에 따른 허가증의 사용 중지 명령을 취소할 권한이 있다.
허가증 취득자가 다음 각 항에 해당하는 행위를 한 경우에는 청 장이 제112조에 따라 허가증에 대한 취소를 명하는 권한을 갖도 록 한다.
제132조 또는 제134조 따른 허 가증의 사용 중지 또는 허가증에 대한 취소는 허가증 취득자에게 서면으로 통지하도록 하며, 허가 증의 사용 중지 또는 허가증에 대한 취소 통지서를 허가증 취득 자의 사업장 공개된 장소에 게시 하도록 한다. 허가증이 취소된 허가증 취득자 에 대해서는 제130조 및 제131 조를 준용하도록 한다.
국가 경제에 이익이 되는 공업이 나 상업 또는 기타 사업을 운영 함에 있어 관세 혜택을 위한 면 세구역을 설치하고자 하는 사람 은 반드시 청장의 허가를 취득하 여야 한다. 첫번째 단락에 따른 허가 신청 및 취득은 부령에서 정하는 원칙 과 방법 및 조건을 따르도록 하 며, 허가증을 취득하였을 때에 면 세구역 설치를 이행한다.
면세구역에 반입하는 물품은 부 령에서 정하는 바에 따라 면세되 거나 세금 환급을 받도록 한다.
면세구역 설치 허가증 신청자는 다음 각 항의 자격을 갖추어야 하며, 금지 유형에 해당하지 아니 하여야 한다.
면세구역 설치 허가증을 취득한 사람은 면세구역 설치 허가 수수 료 이외에 매년 연간 수수료를 납부하여야 한다. 첫번째 단락에 따라 허가증을 취 득한 사람이 납부 기한이 만료된 때에 연간 수수료를 납부하지 아 니하는 경우 정하는 기간 내에 납부하도록 청장이 서면으로 경 고장을 송부하도록 한다.
면세구역 설치 허가증이 분실 또 는 파손되거나 주요 내용이 훼손 된 경우에는 허가증을 취득한 사 람이 분실이나 파손 또는 주요 내용의 훼손을 인지한 날부터 15 일 이내에 허가증 대체 증명서 신청서를 제출하도록 한다. 허가증 대체 증명서의 신청 및 발급은 청장이 고시하는 원칙과 방법 및 조건을 따르도록 한다.
면세구역 설치 허가증을 취득한 사람은 경우에 따라 허가증 또는 허가증 대체 증명서를 허가증 취 득자의 사업장 내의 쉽게 볼 수 있는 공개된 곳에 게시하여야 한 다.
사업을 종료하고자 하는 면세구 역 설치 허가증 취득자는 사업을 종료하기 최소 90일 전에 청장에 게 서면으로 신고하도록 한다. 첫번째 단락에 따른 사업 종료 신고는 부령에서 정하는 원칙과 방법 및 조건을 따르도록 한다.
제142조에 따라 사업 종료를 신 고한 면세구역 설치 허가증 취득 자는 허가 취득에 따른 사업을 중지하여야 하며, 면세구역에서의 사업 운영 허가증을 취득한 사람 에게 다음 각 항에 해당하는 조 치를 취하도록 통지하도록 한다.
첫번째 단락에 따른 조치가 완료 된 때에 청장이 면세구역 설치 허가 취득자에게 사업 종료를 허 가하며, 사업 종료 허가를 받은 날부터 허가증이 종료된다.
제142조에 따라 사업 종료를 신 고한 면세구역 설치 허가증 취득 자가 청장이 정하는 기한 내에 제143조를 이행하지 아니하는 경 우 청장은 면세구역 설치 허가증 의 취소를 명하도록 하고, 해당 면세구역 내에 있는 물품에 대한 혜택권은 종료되도록 하며, 해당 면세구역에 있는 물품에 대해서 는 청장이 허가증을 취소한 날부 터 제154조에 따라 산출한 세금 을 납부하도록 한다.
제132조, 제133조, 제134조, 제 135조 첫번째 단락, 제143조 및 제144조를 면세구역 설치 허가증 의 사용 중지 및 취소에 대해 준 용하도록 한다.
면세구역 내에서 사업을 운영하 고자 하는 사람은 청장의 허가를 받아야 한다. 첫번째 단락에 따른 허가 신청 및 허가는 부령에서 정하는 원칙 과 방법 및 조건을 따르도록 하 며, 허가를 받았을 때에 그 면세 구역에서 사업을 운영할 수 있다.
면세구역 내에서의 사업 운영 허 가증 신청자는 다음 각 항의 자 격을 갖추어야 하며, 금지 유형에 해당하지 아니하여야 한다.
관련 처벌 규정을 포함하여 제 139조, 제140조, 제141조, 제142 조, 제143조, 제144조 및 제145 조를 면세구역 내에서의 사업운 영 허가증 취득자에 대하여 준용 하도록 한다.
면세구역 내에서의 사업운영 허 가증 취득자는 면세구역의 설치 목적에 부합하는 사업 허가 신청 에 따라 사업을 운영하여야 한다. 면세구역 내 사업운영 허가증을 취득한 사람이 운영하는 사업의 유형을 변경이나 확대 또는 축소 하고자 하는 경우 청장이 고시하 는 원칙과 방법 및 조건을 따르 도록 하며, 허가를 받았을 때에 계속하여 운영할 수 있다.
면세구역의 관리를 위하여 청장 이 면세구역에 반입하거나 반출 할 물품의 유형 또는 종류를 지 정하여 고시하고 합당하다고 판 단하는 바에 따라 관련 원칙과 방법 및 조건을 규정하는 권한을 갖도록 한다.
면세구역으로 반입하기 위하여 왕국 내로 수입하는 물품이 다음 각 항의 어느 하나에 해당하는 경우 수입세가 면세된다.
첫번째 단락과 두번째 단락에 따 른 수입세 및 수출세에 대한 면 세는 부령에서 정하는 원칙과 방 법 및 조건을 따르도록 한다.
왕국 외 수출을 목적으로 하는 생산이나 혼합, 조립, 포장 또는 기타 작업을 위하여 왕국 내에 물품을 수입하거나 원료를 왕국 내에 들여와 면세구역에 반입하 는 경우에는 표준 또는 품질 관 리나 해당 물품에 대하여 어떠한 인장 또는 부호를 찍는 것과 관 련한 부분에서의 법률 적용이 면 제된다. 첫번째 단락에서 규정하는 바에 따른 물품 또는 원료의 면세구역 반입은 왕국 내 수입이나 왕국 외 수출 또는 부령에서 정하는 바에 따른 특정 구역에서 해당 물품을 점유하거나 활용하는 것 과 관련한 부분에서의 법률 적용 이 면제된다. 첫번째 단락 및 두번째 단락에 따라 면제된 물품을 왕국 내에서 사용하거나 판매하기 위하여 면 세구역에서 반출하는 것에 대해 서는 면세구역에서 반출하는 날 에 해당 물품이 왕국 내에 수입 된 것으로 간주하여, 면세구역에 서 반출하는 날부터 해당 물품의 왕국 내 수입 관리나 점유 또는 활용에 관한 부분 또는 표준 또 는 품질 관리나 해당 물품에 인 장 또는 부호를 찍는 것과 관련 한 부분에서 법률에 따라 조치를 취하여야 한다. 첫번째 단락과 두번째 단락 및 세번째 단락에 따른 물품의 면세 구역 반입 또는 반출은 청장이 고시하는 원칙과 방법 및 조건을 따르도록 한다.
어떠한 물품에 대하여 세금을 면 제하거나 왕국 외로 수출하였을 때 세금을 환급하도록 규정하는 법률이 있는 경우 만약 그 물품 을 면세구역에 반입하였다면 해 당 물품이 면세구역에 반입된 때 에 왕국 외로 수출되었다고 간주 하도록 하여 세금을 면제하거나 환급하도록 한다. 이와 관련하여 청장이 고시하는 원칙과 방법 및 조건을 따르도록 한다.
왕국 내로 수입하기 위하여 면세 구역에서 반출되는 물품은 해당 물품이 왕국 내 또는 왕국 외에 서 반입되는 것을 불문하고 그 물품이 면세구역에서 반출되는 때의 관세가격 및 관세율의 상황 에 따라 세금을 산출하도록 한다. 왕국 내에 있는 물품에 대하여 면세 또는 수출되었을 때의 환세 권리가 없이 또는, 권리를 이용하 지 아니하여 면세구역에 반입하 는 경우 해당 물품에 대하여 세 금을 산출할 필요가 없다. 첫번째 단락에 따른 세금 산출은 청장이 고시하는 원칙과 방법 및 조건을 따르도록 한다.
왕국 내에서의 사용이나 판매 또 는 보세창고로 이전 반입하거나 제29조에 따른 수입업자나 관세 율법 또는 기타 법률에 따른 면 세권을 가진 사람에게 판매하기 위하여 면세구역에서 물품을 반 출하는 것은 왕국 내로 수입하는 것으로 간주하도록 한다. 또한 해 당 물품이 면세구역에서 반출되 는 때에 수입이 완료된 것으로 간주하도록 한다. 이와 관련하여 청장이 고시하는 원칙과 방법 및 조건을 따르도록 한다. 청장의 허가를 받아 면세구역에 있는 손상된 물품이나 사용하지 못하는 물품 또는 사용하지 아니 하는 물품을 제거 또는 파기하기 위하여 반입하는 것을 제외하고, 면세구역의 설치 또는 면세구역 내의 사업 운영 목적 이외의 다 른 이익을 위하여 면세구역의 물 품을 사용하는 것은 면세구역에 서 물품을 반출하는 것으로 간주 하도록 한다.
면세구역 내 물품의 반입이나 반 출, 보관, 운송, 점검 및 관리는 청장이 고시하는 원칙과 방법 및 조건을 따르도록 한다.
이 법 또는 관세와 관련한 기타 법률을 위반하거나 준수하지 아 니하였다고 의심할 타당한 사유 가 있는 경우, 청장이 위임한 세 관 공무원은 다음 각 항의 권한 이 있다.
세관 공무원은 통관 중에 있거나 세관의 관리·감독 하에 있는 물품 을 조사하고, 조사나 가격 평가 또는 필요에 따른 기타 공적 이 익을 위하여 가격 보상 없이 샘 플을 채취할 권한을 갖도록 한다. 이와 관련하여 물품의 소유주에 게 최소한의 손실 또는 부담을 발생시키는 방법으로 행하여야 하며, 만약 잔여 물품이 있다면 지체없이 소유주에게 반환하도록 한다.
제157조에 따라 청장이 세관 공 무원에게 위임한 권한의 사용 또 는 제158조에 따른 세관 공무원 은 청장이 고시하는 원칙과 방법 및 조건을 따르도록 한다. 세관 공무원은 왕국 내 수입일이 나 왕국 외 수출일 또는 왕국 내 통과일로부터 5년의 기한 내에 통관 중에 있거나 통관한 물품과 관련한 장부와 증거서류 및 기타 자료의 조사 또는 청구를 위하여 사업장에 진입할 권한을 갖도록 한다.
세금을 미납한 물품이나 금지 물 품, 제한 물품 또는 미통관 물품 을 왕국 내로 수입하거나 왕국 외로 수출하는 데에 어떠한 차량 을 사용하였다고 의심할 정당한 사유가 있는 때에는 세관 공무원 이 차량 또는 그 차량에 있는 사 람에 대한 조사 또는 수색을 위 하여 정차하도록 명할 권한을 갖 도록 한다.
세관 공무원은 왕국 내로 입국하 거나 왕국 외로 출국하는 승객의 화물을 조사하거나 수색할 수도 있다. 만약 세금을 미납한 물품이 나 금지 물품, 제한 물품 또는 통 관을 완료하지 아니한 물품을 발 견한다면 세관 공무원이 그 화물 을 압수할 권한을 갖도록 한다.
세관 공무원은 수입업자나 수출 업자 또는 관련자가 요청하는 바 에 따라 사업장이나 기타 관련 장소 또는 차량에 들어가 조사할 권한을 갖도록 한다.
청장은 선박 입·출항 검문소를 설 치하고 어떠한 선박이 태국 영해 구역에 있는 때에 세관 공무원이 그 선박에 주재하도록 위임할 수 도 있는 권한이 있다. 검문소를 감독하는 세관 공무원 의 허가를 받은 선박을 제외하고 검문소를 통과하는 모든 선박은 세관 공무원이 승선하여 감독하 여야 하며, 해당 선박이 항구 구 역에서 출선하는 때에는 세관 공 무원의 하선을 위하여 검문소에 정선하도록 한다.
어떠한 선박이 이 법에 따라 압 류되거나 조사를 받아야 한다고 의심할 정당한 사유가 있는 때에 는 세관 공무원이 해당 선박을 정선하도록 하거나 어떠한 곳으 로 가도록 선장에게 명할 권한을 갖도록 한다. 만약 선장이 이를 위반한다면 세관 공무원은 선장 이 명령을 이행하도록 경고하고, 선장이 해당 경고 명령을 위반한 다면 세관 공무원은 이행이나 선 박의 이동 또는 도피를 방지하기 위한 어떠한 조치를 취할 권한을 갖도록 한다.
적재 중량 250톤을 초과하지 아 니하는 선박이나, 항공기를 제외 한 기타 운송수단, 화물, 컨테이 너 또는 기타 물품이, 만약 세금 을 미납한 물품이나 금지 물품, 제한 물품 또는 미통관 물품을 이동, 은닉 또는 운송하는 데에 사용되었거나 사용을 위하여 준 비해 두었다면, 판결에 의하여 처 벌된 사람의 유무를 불문하고 모 두 몰수하도록 한다. 만약 첫번째 단락에 따라 사용되 었거나 사용을 위하여 준비해 둔 선박이 적재 중량 250톤을 초과 한다면 법원이 위법 행위에 따라 해당 선박에 대한 몰수를 명할 권한을 갖도록 한다.
세금을 미납한 물품이나 금지 물 품, 제한 물품 또는 미통관 물품 은 이 법에 따라 몰수 대상 물품 이 된다.
세관 공무원이나 행정담당관 또 는 경찰관이 이 법에 따라 몰수 하여야 하거나 몰수하여야 한다 고 의심되는 어떠한 물품을 압수 또는 압류할 권한을 갖도록 한다. 만약 압수 물품을 조사하여 몰수 대상 물품이 아니라고 밝혀진다 면 해당 물품에 대한 압수를 취 소하도록 한다. 그러나 만약 몰수 하여야 하는 물품인 경우에는 세 관 공무원이나 행정담당관 또는 경찰관이 해당 물품을 압수할 권 한을 갖도록 한다. 만약 압수 물품이 위법 행위에 사용된 차량이며 소유주 또는 권 리를 가진 사람이 압수한 날부터 60일 이내 또는 기타 물품인 경 우에는 30일에 소유주나 권리를 가진 사람이 반환신청서를 제출 하지 아니한다면 소유주가 없는 물품으로 간주하고 국가의 소유 가 되도록 한다.
이 법률에 따른 위법 행위로 인 하여 몰수할 수 있는 물품이 위 법 행위를 한 사람의 소유가 아 닌 경우, 만약 해당 소유주가 위 법 행위를 인지하였거나 있거나 있을 것이라고 의심하였으나 위 법 행위가 발생하지 아니하도록 하거나 해당 범죄행위가 성공하 지 아니하도록 해결하기 위하여 어떠한 행위를 하지 아니하였거 나 해당 물품이 위법 행위에 관 련되지 아니하도록 주의를 기울 이지 아니하였다면 법원이 몰수 를 명할 권한을 갖도록 한다.
만약 세관 공무원이, 어떠한 사람 이 이 법에 따라 몰수하여야 하 는 물품을 소유하고 있다는 것을 적발한다면, 자신이 적발한 사실 관계를 증거로 기록하도록 한다. 이와 관련하여 기록 상에 기재한 사실관계가 사실이며 해당자가 불법적으로 그 물품을 수입하였 거나 아직 통관 절차를 거치지 아니하고 물품을 수입한 것으로 우선 추정하도록 한다. 다만 다르 게 증명할 수 있는 것은 제외한 다. 첫번째 단락의 내용을 상품 수출 입에 관한 법률 및 환전 관리에 관한 법률에 따른 위법 행위에 적용한다.
이 법 또는 관세에 관한 기타 법 률에 따라 압수되는 모든 물건 또는 물품은 법률에 따른 조치를 위하여 세관 공무원에게 인도하 도록 하여야 한다. 압수되어 국가의 소유가 되거나 법원이 이 법 또는 관세에 관한 기타 법률에 따라 몰수를 명한 물품은 청장이 정하는 규칙에 따 라 매각하도록 한다.
만약 압수된 물품이 신선품 또는 상할 수 있는 물품이거나, 만약 지체된다면 손상될 위험이 있거 나 보관 비용이 지나치게 많다면 국가의 소유가 되기 전에 청장이 경매 또는 기타 방법으로 매각하 도록 명한다. 이와 관련하여 청장 이 정하는 규칙에 따른다. 첫번째 단락에 따른 매각 수익금 은 비용 및 부대비용을 빼고 물 품의 대신으로 간주하도록 한다.
이 법에 따라 세관 공무원의 직 무를 수행함에 있어서 관련자는 합당한 편의를 제공하도록 한다.
이 법에 따라 직무를 수행함에 있어서 세관 공무원은 관계자에 게 신분증을 제시하여야 한다. 세관 공무원 신분증은 국장이 고 시하는 양식을 따르도록 한다.
영해에서 이 법에 따른 위법 행 위가 발생한 경우 세관 공무원이 위법 행위를 한 사람을 체포하여 어떠한 지역의 조사관에게 인계 한 때에는 그 지역의 조사관이 책임조사관이 되도록 하며, 조사 관에게 위법 행위를 한 사람을 인계하는 데 소요되는 통상적인 기간은 형사소송법전에 따른 조 사관의 피의자 구금 기간으로 계 산하지 아니하도록 한다.
어떠한 지역에서 관세 관련 위법 행위를 방지하고 단속하기 위하 여 칙령으로 그 지역을 세관 관 할 구역으로 지정하도록 한다. 첫번째 단락에 따라 지정되는 세 관 관할 구역 내에서는 세관 공 무원이 영장이 필요없이 주야를 불문하고 어떠한 주택이나 장소, 차량 또는 사람을 조사하거나 수 색할 권한을 갖도록 한다. 이와 관련하여 세관 공무원은 해당 권 한을 사용하기 전에 합당한 사유 를 표시하여야 한다. 두번째 단락에 따라 조사 또는 수색되는 사람이 이 법 또는 세 관에 관련한 법률에 따른 위법 행위를 하였다고 의심할 합당한 사유가 있으며 해당자가 합당한 사유를 밝힐 수 없는 경우 세관 공무원은 조사관에게 인계하여 이어서 조치를 취하도록 하기 위 하여 영장없이 해당자를 체포하 는 권한을 갖도록 한다.
제175조 첫번째 단락의 적용 하 에서 청장은 세관 관할 구역 내 에서 무역업을 하는 사람이 청장 이 고시하는 원칙과 방법 및 조 건에 따라 물품의 상세 사항을 표시하기 위한 장부를 마련하여 야 하는 물품의 분류 또는 종류 를 고시하는 권한을 갖도록 한다. 세관 공무원이 첫번째 단락에 따 른 장부와 장부에 기재한 물품을 조사하는 권한을 갖도록 하며, 만 약 제시할 수 있는 정당한 사유 없이 물품의 수량이 장부에 기재 한 것과 다르다면 수량이 차이 나는 해당 물품이 세금을 납부하 지 아니하고 소지하거나 구한 것 으로 우선 추정하도록 한다.
세관 관할 구역 내에서 청장은 해당 구역내에서의 물품 운송을 관리하기 위하여 특별 지역 내에 위치하는 구역을 표시하고 관할 구역을 명시하는 지도를 첨부하 여 특별 지역을 고시할 권한을 갖는다. 특별 지역으로 물품을 반입 또는 반출하거나 내부에서 운송하는 것은 청장이 고시하는 원칙과 방 법 및 조건에 따라 세관 공무원 의 허가를 취득하여야 한다.
이 절에서 사용하는 용어의 뜻은 다음과 같다. “공동 관할 구역”이란 국경을 통 과하는 운송에 대하여 편의를 제 공하는 것에 관한 법률에 따라 공동으로 관할하는 지역이 되도 록 정하는 구역을 뜻한다. “협정”이란 국경을 통과하는 운 송에 대한 편의 제공에 관한 태 국 정부와 외국 정부 간의 협정 을 뜻한다.
세관 구역에서와 마찬가지로 관 세국이 공동 관할 구역에서의 모 든 세관 권한을 갖도록 한다.
왕국 외 공동 관할 구역에서의 세관 공무원의 직무 수행은 왕국 내에서의 직무 수행으로 간주하 도록 한다.
왕국 내의 공동 관할 구역에서 적발하는 이 법 또는 세관 관련 기타 법률에 의거한 위법 행위가 있는 경우의 조치는 다음 각 항 의 원칙과 방법에 따르도록 한다.
왕국 외의 공동 관할 구역에서 적발하는 이 법 또는 세관 관련 기타 법률에 의거한 위법 행위가 있는 경우의 조치는 태국 정부의 세관 공무원이 이 법 또는 세관 관련 법률에 의거한 조치를 위하 여 협정 참가국 정부의 담당관에 게 사람, 동물, 식물, 물품부터 그와 같은 것들의 운송에 사용한 교통수단, 교통수단 관리자와 아 울러 교통수단 승무원에 대한 왕 국 내 이송을 요청하도록 한다. 왕국 외 공동 관할 구역에서 적 발한 태국 법률 및 국경을 통과 하는 운송 관련 협정 참가국 법 률에 모두 저촉되는 범법 행위인 경우의 조치는 태국 세관 공무원 이 이 법 또는 세관 관련 기타 법률에 의거한 조치를 위하여 협 정 참가국 정부의 담당관에게 사 람, 동물, 식물, 물품부터 그와 같은 것들의 운송에 사용한 교통 수단, 교통수단 관리자와 아울러 교통수단의 승무원에 대한 왕국 내 이송을 요청할 수도 있다.
국장이 공동 관할 구역 내에서의 세관 관련 집행 규칙 및 방법을 규정할 권한을 갖도록 한다.
연안 무역이란 운송한 물품을 매 매하는 것을 포함하여, 물품 운송 의 대가를 받기 위하여 해상을 통하여 왕국 내의 항구 한 곳에 서 왕국 내의 다른 한 곳의 항구 로 물품을 운송하는 것을 뜻한다. 국장이 첫번째 단락에 의거하여 연안 무역으로 간주되는 형태와 유형을 정하여 고시하도록 한다.
연안 무역업을 하는 출항 선박은 선장이 선박 내의 물품의 상세 항목을 표시하는 상품 대장을 작 성하여 국장이 고시하는 원칙과 방법 및 조건에 따라 세관 공무 원에게 제출하도록 한다. 세관 공무원이 첫번째 단락에 따 른 상품 대장을 수령하고 해당 상품 장부의 정확성을 보증하는 서명을 완료한 때에는 해당 상품 대장을 물품 및 선반 출항 허가 서로 간주하도록 한다. 연안 무역업을 하는 선박이 다른 한 곳의 항구에 도착한 때에는 선박이 도착한 날부터 24시간 이 내에 선장이 선박이 도착한 지역 을 책임지는 세관 공무원에게 상 품 및 선박 출항 허가서를 제시 하여 해당 선박에 적재 또는 운 송하는 물품이 출항한 항구에서 적재 또는 운송한 상품 대장과 대조 조사하도록 한다. 선박에 적재 또는 운송하는 물품 을 조사하여 상품 대장과 종류, 유형, 양이 다르다는 것을 발견한 경우에는 종류나 유형 또는 양이 다른 해당 물품이 세금을 납부하 지 아니하고 수출 또는 수입한 물품이라고 추정하도록 한다. 선장은 선박에서 물품을 하역하 기 전에 세관 공무원에게 물품 및 선박의 출항 허가서를 제출하 여야 한다. 세관 공무원에게 허가 를 받은 때에 물품을 하역할 수 있으며 해당 선박이 항해하는 모 든 항구에서 동일하게 진행하여 야 한다.
선장은 선박의 모든 항해 시에 해당 선박 내에 3개월간 제185조 에 따른 상품 대장을 보관하여 세관 공무원이 조사하고 해당 상 품 대장에 조사 기록을 하도록 한다.
불가피한 사유가 있고, 해당 사유 를 선박이 도착한 지역을 책임지 는 세관 공무원에게 신고한 것을 제외하고 항해 도중에 연안 무역 을 하는 선박으로부터 물품을 운 반하지 아니하도록 한다.
접속 수역에 입항하거나 정선 또 는 정박하는 모든 선박은 승무원, 승객, 항해, 선박 내 물품의 유형 및 선박에 반입한 물품에 관한 세관 공무원의 질문에 답하여야 하며 세관 공무원의 정당한 명령 에 따라야 한다.
접속 수역에 있는 선박이 정당한 사유가 없거나 세관 공무원의 허 가를 받지 아니하고 물품을 운송 하지 아니하도록 금한다. 이 조에 의거한 범법 행위와 관 련한 물품은 판결에 따른 처벌의 여부에 관계없이 모두 몰수하도 록 한다.
제66조, 제67조, 제157조의제(2) 항, 제160조, 제164조, 제165조, 제167조, 제169조 및 제170조를 접속 수역에서 발생한 행위에 적 용하도록 하며, 해당 조항과 관련 한 처벌규정을 제212조, 제217 조, 제219조 및 제241조의 처벌 규정을 모두 포함하여 적용하도 록 한다.
접속 수역에서 세관 몰래 행하거 나 몰래 회피할 것이라고 의심할 정당한 사유가 있거나 이 법에 의거한 위법 행위가 있는 경우 세관 공무원은 조사나 수색, 체포 또는 법적 조치를 집행하기 위하 여 선장에게 정선 또는 어떠한 한 곳으로 선박을 이동하도록 명 할 권한을 갖도록 한다. 세관 공무원이 위법 행위를 한 사람을 체포하여 어떠한 관할 구 역의 조사관에게 인계한 때에는 대검찰청 또는 형사소송법에 따 른 대리인이 책임 조사관을 임명 하는 것을 기다리는 동안 해당 관할 구역의 조사관이 조사할 권 한을 갖도록 한다. 이와 관련하여 위법 행위를 한사람을 조사관에 게 인계하는 통상적인 이동 기간 은 형사소송법에 따른 조사관의 피의자 관할 기간으로 계산하지 아니하도록 한다.
이 절에서 사용하는 용어의 뜻은 다음과 같다. “공동 개발 구역”이란 태국-말레 이시아 공동 기구에 관한 법률에 따른 공동 개발 구역을 뜻한다. “세관 승인 물품”이란 세관에 관 한 태국 및 말레이시아 법률에 따라 관세를 면세 받은 물품을 뜻한다.
공동 개발 구역에서 수입 또는 수출하는 물품의 이동 규칙 마련 은 장관이 승인하여 국장이 고시 하는 원칙과 방법 및 조건을 따 르도록 한다.
제195조와 제196조 및 제199조 의제(1)항의 적용 하에 세관은 공 동 개발 구역에서 수입 또는 수 출하는 물품에 관하여 모든 세관 권한을 행사한다.
공동 개발 구역에서 수입 또는 수출하는 물품의 이동은 다음 각 항의 원칙에 따르도록 한다.
태국 및 말레이시아 법률에 따라 금지 물품 대장에 포함되는 물품 은 어떠한 특정 수입에 관한 부 분에서 면제가 반드시 필요한 경 우를 제외하고 공동 개발 구역으 로 반입될 수 없다. 특히 그러한 면제는 태국과 말레이시아의 권 력기관 간의 협정을 통하여 가능 하다.
공동 개발 구역에서의 물품에 대 한 수입과 수출 및 역내 이동은 국장이 고시하는 양식을 사용하 도록 한다.
세관 공무원은 마땅히 이 법에서 규정하는 사안에서의 세금 징수 를 포함하여 세관 통관 관련 부 분에 대한 권한이 있으며 공동 세관 역내에서 그 권한을 행사할 수 있다. “공동 세관”이란 공동 개발 구역 에서의 관세법 및 소비세법에 따 른 조치 측면의 업무 협조의 목 적으로 관세법에 따라 공동관세 위원회가 공동기구의 본부에 설 치하는 사무소를 뜻한다. “공동관세위원회”란 공동 개발 구역에서의 관세법 및 소비세법 에 따른 조치 측면의 업무 협조 의 목적으로 설치한 말레이시아 의 세관 공무원과 관세 및 소비 세 기관의 담당관으로 구성되는 위원회를 뜻한다.
공동 개발 구역에서 행한 행위는 다음 각 항을 따른다.
이 절에서 유용하도록 이 법에서 의 “왕국”이라는 단어는 “공동 개발 구역”을 뜻하도록 한다.
중앙조세법원이나 쏭클라지방법 원 또는 형사법원이 공동개발 지 역 관련 관세 사건을 판결하는 관할권을 갖도록 한다.
화물 운송장이나 서류 또는 자료 에 표시된 어떠한 항목에서 중대 한 오류를 초래할 수 있는, 이 법 에 따른 세금 납부 또는 준법과 관련하여 올바르지 아니하거나 완전하지 아니한 화물 운송장이 나 서류 또는 자료를 다른 사람 이 세관 공무원에게 제출하도록 제출, 준비 또는 동의하는 사람은 50만바트 이하의 벌금형에 처한 다.
이 법에서 답변하도록 규정하는 바에 따른 세관 공무원의 질문에 거짓으로 진술 또는 답변하거나, 답변하지 아니하는 사람은 6개월 이하의 징역형 또는 50만바트 이 하의 벌금형에 처하거나, 징역형 과 벌금형을 병과한다.
이 법에 따라 조치함에 있어서 이익을 위하여 이 법에 따른 조 치에 사용하는 서류를 위조 또는 변형하거나 공문서를 수정하거나, 이 법과 관련한 어떠한 것을 위 하여 사용하는 담당관의 인장이 나 서명 또는 부호를 위조하는 사람은 6개월 이하의 징역형 또 는 50만바트 이하의 벌금형에 처 하거나, 징역형과 벌금형을 병과 한다. 첫번째 단락에 따른 위법 행위로 생성되는 서류, 인장, 서명 또는 부호를 사용하는 사람은 마찬가 지로 처벌된다.
어떠한 수출업자가 물품과 관련 하여 부정확한 자료를 표시하여 세금 환급을 위하여 화물 운송장 을 제출하였으며 세관 공무원이 그 물품이 표시된 바와 일치하지 아니하거나 표시된 것보다 소량 이거나 표시된 바에 따른 수출이 없었다는 것을 발견한다면 6개월 이하의 징역형 또는 50만바트 이 하의 벌금 또는 환급을 신청하는 세액의 4배에 해당하는 벌금 중 고액의 벌금에 처하거나, 징역형 과 벌금형을 병과하며, 해당 물품 은 몰수하도록 한다.
실제로 환급 받을 권리가 있는 금액을 초과하는 세금 환급을 신 청하기 위하여 사기 또는 기망에 의한 허위 또는 흡사한 다른 방 법에 의하여 제28조 또는 제29조 에 따라 세금 환급을 신청하는 수입업자는 5년 이하의 징역형 또는 50만바트 이하의 벌금 또는 환급 받을 권리가 있는 금액을 초과하여 환급을 신청하는 세액 의 4배에 해당하는 벌금 중 고액 의 벌금에 처하거나, 징역형과 벌 금형을 병과한다.
부령으로 정하는 바에 따른 위험 물 보관 또는 운송에 관한 원칙 을 위반하거나 준수하지 아니하 는 사람은 10만바트 이하의 벌금 형에 처한다.
제51조를 위반하거나 준수하지 아니하는 수입업자 또는 수출업 자는 5만바트 이하의 벌금형에 처한다.
제65조를 위반하거나 준수하지 아니하는 차량관리자는 5만바트 이하의 벌금형에 처한다.
국장의 허가를 받지 아니하고 운 송 구역 외에서 수입품 또는 수 출품을 운송하는 사람은 2년 이 하의 징역형 또는 10만바트 이하 의 벌금형 또는 물품 가격의 3배 에 해당하는 벌금 중 고액의 벌 금에 처하거나, 징역형과 벌금형 을 병과하며, 해당 물품은 몰수하 도록 한다.
물품의 포장 또는 컨테이너에 기 호 또는 번호를 첨부하지 아니하 거나 그러한 물품 관련 서류에 기호 또는 번호를 표시하지 아니 하는 수입업자 또는 수출업자는 5만바트 이하의 벌금형에 처한다.
법률에 위배되는 크기 나 형태의 포장이나 컨테이너의 물품 또는 법률이 반드시 갖추도록 하는 기 호 또는 상표가 없는 물품이 있 는 차량을 관리하는 차량관리자 는 5만바트 이하의 벌금형에 처 하며 그러한 물품은 몰수하도록 한다.
제63조를 위반하거나 준수하지 아니하는 사람은 6개월 이하의 징역형 또는 5만바트 이하의 벌 금형에 처하거나, 징역형과 벌금 형을 병과한다.
제71조 또는 163조와 관련하여 제64조, 제71조, 제85조를 위반 하거나 준수하지 아니하는 선장 은 10만바트 이하의 벌금형에 처 한다.
제65조에 따른 세관 공무원의 명 령을 위반하거나 준수하지 아니 하는 선장은 5만바트 이하의 벌 금형에 처한다.
제67조 또는 제95조를 준수하지 아니하는 선장 또는 항공기관리 자는 10만바트 이하의 벌금형에 처한다.
선장, 선원, 승객 및 선박에서 수 행하여야 하는 책임이 있는 사람 을 제외하고, 왕국 내에 있는 때 에 세관 공무원의 허가를 받지 아니하고 외국으로 출항하기 위 하여 선박에 탑승하는 사람은 5 만바트 이하의 벌금형에 처한다.
세관 구역인 항구 지역 내에서 적화하고 있는 선박을 관리하는 선장이 하역이 합법적으로 이루 어졌다는 것을 증명할 수 없이, 선박이 가벼워졌다는 것이 적발 되는 경우 100만바트 이하의 벌 금형에 처하며, 법원이 해당 선박 에 대한 몰수권을 행사하도록 한 다.
다음 각 항의 어느 하나에 해당 하는 행위를 하는 선장 또는 육 상운송수단의 관리자는 50만바트 이하의 벌금형에 처한다.
제70조 또는 제176조 첫번째 단 락에 따라 정하는 원칙이나 방법 및 조건을 위반하거나 준수하지 아니하는 사람은 5만바트 이하의 벌금형에 처하도록 한다.
제77조 또는 185조와 관련하여 제72조, 제74조, 제77조, 제80조, 제82조 두번째 단락, 제84조 첫 번째 단락을 위반하거나 준수하 지 아니하는 선장은 5만바트 이 하의 벌금형에 처한다.
제76조 두번째 단락이나 제90조 두번째 단락 또는 98조 두번째 단락을 위반하거나 준수하지 아 니하는 수출업자는 1만바트 이하 의 벌금형에 처한다.
제79조를 위반하거나 준수하지 아니하는 선장은 50만바트 이하 의 벌금형에 처하도록 하며 그와 같은 위법 행위 관련 물품은 몰 수하도록 한다.
제81조, 제92조, 제120조 또는 제121조를 위반하거나 준수하지 아니하는 사람은 5만바트 이하의 벌금형에 처한다.
제82조 첫번째 단락을 위반하거 나 준수하지 아니하는 수출업자 는 5만바트 이하의 벌금형에 처 한다.
제83조를 위반하거나 준수하지 아니하는 선장 또는 수출업자는 5만바트 이하의 벌금형에 처한다.
제86조를 위반하거나 준수하지 아니하는 사람은 3개월이상 10년 이하의 징역형 또는 수입세를 포 함하는 물품 가격의 4배에 해당 하는 벌금형에 처하거나, 징역형 과 벌금형을 병과하며, 판결에 의 거한 처벌 여부에 관계없이 위법 행위 관련 물품은 몰수하도록 한 다.
국장이 제87조에 따라 정하여 고 시하는 바에 따른 육상경계지역 인 지류에 따른 지역 외에서 수 입 또는 수출 물품을 계류하거나 운송하는 선장은 5만바트 이하의 벌금형에 처한다.
제88조 또는 제89조를 위반하거 나 준수하지 아니하는 사람은 10 만바트 이하의 벌금형에 처하며 올바르게 준수할 때까지 그러한 위법 행위 관련 물품을 압수하도 록 한다.
제93조 첫번째 단락에 따라 정하 는 원칙이나 방법 또는 조건을 위반하거나 준수하지 아니하는 항공기관리자는 5만바트 이하의 벌금형에 처한다. 제93조 두번째 단락을 위반하거 나 준수하지 아니하는 공항 소유 주 또는 직원은 5만바트 이하의 벌금형에 처한다.
제94조 또는 제96조를 위반하거 나 준수하지 아니하는 항공기관 리자는 10만바트 이하의 벌금형 에 처하며 올바르게 준수할 때까 지 그러한 위법 행위 관련 물품 을 압수하도록 한다.
제97조를 위반하거나 준수하지 아니하는 항공기관리자는 5만바 트 이하의 벌금형에 처한다.
제112조에 따라 허가증을 받은 사람이 제115조 또는 129조를 준수하지 아니하면 5만바트 이하 의 벌금형에 처한다. 보세창고나 장치장 또는 안전소 설치 허가를 받은 사람이 제129 조에 따라 운영 종료 신고를 완 료한 때에 제130조 첫번째 단락 을 위반하거나 준수하지 아니하 면 5만바트 이하의 벌금형에 처 한다.
제119조에 따라 허가된 항구를 감독하는 세관 공무원의 명령을 위반하거나 준수하지 아니하는 사람은 5만바트 이하의 벌금형에 처한다.
제122조에 따라 정하는 원칙이나 방법 또는 조건을 위반하거나 준 수하지 아니하는 사람은 10만바 트 이하의 벌금형에 처하며 해당 위법 행위 관련 물품을 몰수하도 록 한다.
제123조 또는 172조를 위반 또 는 준수하지 아니하거나 제156조 에 따라 정하는 원칙이나 방법 또는 조건을 위반하거나 준수하 지 아니하는 사람은 1만바트 이 하의 벌금형에 처한다.
합법적인 이유 없이 몰래 보세창 고나 장치장 또는 안전소를 열거 나 보세창고나 장치장 또는 안전 소에 있는 물품에 침입하는 사람 은 6개월 이하의 징역형 또는 5 만바트 이하의 벌금형에 처하거 나, 징역형과 벌금형을 병과한다.
면세구역 설치 허가를 받은 사람 이 제141조나 제142조 또는 제 143조 첫번째 단락을 위반하거나 준수하지 아니하면 5만바트 이하 의 벌금형에 처한다.
제157조에 따라 국장이 위임한 세관 공무원의 명령을 방해하거 나 준수하지 아니하는 사람은 1 년이하의 징역형 또는 10만바트 이하의 벌금형에 처하거나, 징역 형과 벌금형을 병과한다.
세관 공무원의 명령을 위반 또는 준수하지 아니하거나 제160조에 따른 세관 공무원의 직무 수행을 방해하는 사람은 5만바트 이하의 벌금형에 처한다.
세관 공무원의 경고를 위반 또는 불이행하거나, 제164조에 따른 세관 공무원의 직무 수행을 방해 하는 선장은 1년 이하의 징역형 또는 10만 바트 이하의 벌금형에 처하거나, 징역형과 벌금형을 병 과한다.
미통관 물품을 왕국 내로 수입 또는 왕국 외로 수출하거나 세관 공무원의 허가를 받지 아니하고 물품을 차량이나 보세창고, 장치 장, 안전소 또는 허가된 항구 또 는 면세구역에서 물품을 이동하 는 사람은 10년 이하의 징역형 또는 수입세를 더한 물품가액의 4배에 해당하는 벌금형에 처하거 나, 징역형과 벌금형을 병과하며, 판결에 따라 처벌된 사람의 유무 와 관계없이 해당 물품을 몰수하 도록 한다. 첫번째 단락에 따른 위법 행위를 시도한 사람은 마찬가지로 처벌 된다.
납세를 회피하거나 회피하려는 시도로 통관하였거나 통관 중인 물품을 해당 물품에 대하여 납부 하여야 하는 세금을 속이려는 의 도로 왕국 내로 수입하거나 왕국 외로 수출하는 사람은 10년 이하 의 징역형 또는 추가로 납부하여 야 하는 세금의 2배 이상 4배 이 하의 벌금형에 처하거나, 징역형 과 벌금형을 병과하며, 판결에 따 라 처벌된 사람의 유무와 관계없 이 법원이 그러한 물품들에 대한 몰수를 명할 수도 있다. 첫번째 단락에 따른 위법 행위를 시도한 사람은 마찬가지로 처벌 된다.
물품에 대한 제한 항목 또는 금 지 항목을 회피하여 통관하였거 나 통관 중인 물품을 왕국 내로 수입 또는 왕국 외로 수출하거나 국경 통관 또는 환적을 위하여 반입하는 사람은 10년 이하의 징 역형 또는 50만바트 이하의 벌금 형에 처하거나, 징역형과 벌금형 을 병과하며, 판결에 따라 처벌된 사람의 유무와 관계없이 법원이 그러한 물품들에 대한 몰수를 명 할 수도 있다. 첫번째 단락에 따른 위법 행위를 시도한 사람은 마찬가지로 처벌 된다.
제242조, 제243조 또는 244조에 따른 위법 행위에서 교사자 또는 보조자가 되거나 공모한 사람은 그러한 위법 행위에서의 주모자 와 마찬가지로 처벌된다.
본인이 제242조에 따른 위법 행 위로 인한 물품이라고 당연히 인 지하는 물품에 대하여 은닉, 판 매, 처분을 돕거나 구매, 저당 또 는 어떠한 방식으로든지 수령하 여 두는 사람은 5년 이하의 징역 형 또는 수입세를 더한 물품가액 의 4배에 해당하는 벌금형에 처 하거나, 징역형과 벌금형을 병과 한다. 첫번째 단락에 따른 위법 행위가 만약 제243조에 따른 위법 행위 로 기인한 물품이라는 것을 인지 한 행위라면 5년 이하의 징역형 또는 추가로 납부하여야 하는 세 금의 절반 이상 4배 이하의 벌금 형에 처하거나, 징역형과 벌금형 을 병과한다. 첫번째 단락에 따른 위법 행위가 만약 제244조에 따른 위법 행위 로 기인한 물품이라는 것을 인지 한 행위라면 5년 이하의 징역형 또는 50만바트 이하의 벌금형에 처하거나, 징역형과 벌금형을 병 과한다.
금지물품 또는 제한물품 또는 미 통관 물품을 차량에 적재 또는 차량에서 반출하거나, 타인이 적 재 또는 반출하도록 허락하는 사 람은, 경우에 따라 제242조 또는 242조에서 규정하는 바에 따라 처벌된다.
제242조에 따른 위법 행위가 총 적재 중량 250톤 이상의 선박 또 는 항공기에서 발생하는 경우, 만 약 선박의 선장 또는 그러한 항 공기 관리자가 그러한 위법 행위 방지에 부주의하였다면 5십만바 트 이하의 벌금형에 처한다.
제177조 두번째 단락에 따라 정 하는 원칙이나 방법 또는 조건을 위반 또는 이행하지 아니하거나 제187조를 위반 또는 이행하지 아니하는 사람은 10만바트 이하 의 벌금형에 처한다.
제188조에 따른 세관 공무원의 질문에 답하지 아니하거나 명령 을 이행하지 아니하는 선장은 1 만바트 이하의 벌금형에 처한다.
제189조를 위반하거나 이행하지 아니하는 사람은 1년 이하의 징 역형 또는 어떠한 것이 더 고액 인지에 따라 물품 가격의 두배에 해당하는 벌금형에 처하거나, 징 역형과 벌금형을 병과한다.
제202조나 제242조 또는 제244 조에 따른 위법 행위는 비록 의 도하지 아니한 행위라고 하더라 도 행위자가 책임지도록 한다.
위법 행위를 한 사람이 법인인 경우, 만약 그러한 법인의 위법 행위가 이사나 경영자 또는 그러 한 법인의 업무 처리에 책임이 있는 사람의 지휘 또는 행위에서 야기되었거나 그러한 사람이 지 휘 또는 행하여야 하는 책임이 있고 지휘 또는 행위를 하지 아 니하여 해당 법인이 위법 행위를 하도록 하는 사유가 된 경우 해 당자는 그러한 위법 행위들에 대 하여 규정하는 바에 따라 처벌된 다.
이 법에 따른 벌금을 정하기 위 한 물품가액 산정은 세금을 완납 하고 그러한 행위를 한 시점 또 는 시점 즈음에 매매되는 동종 물품의 가격을 따라 간주하도록 한다. 다만 그와 같은 가격이 존 재하지 아니하는 것은 국장이 정 하는 가격을 따라 간주하도록 한 다.
다음 각 항의 경우 내각의 승인 을 받아 국장이 정하는 규칙에 따라 국장이 보상금 및 상금 지 급을 명하는 권한을 갖도록 한다.
제257조의 적용 하에 이 법에 따 른 모든 위법 행위가 만약 해당 자가 벌금 납부를 승복하거나 국 장이 합당하다고 판단하는 바에 따라 합의서를 작성하거나 보석 되거나 담보를 제공하였다면 국 장이 제소를 중지할 수도 있으며 형사소송법전의 조항에 따라 사 건이 종결된 것으로 간주하도록 한다. 국장이 이 법에 따라 어떠한 사 람을 제소하는 것이 합당하다고 판단하는 경우에는 제소 사유 위 법 행위를 한 사람을 제소하는 이유를 기록하도록 한다.
제227조, 제242조, 제243조, 제 244조 및 제247조에 따른 위법 행위는 만약 증거품 가격이 세금 을 포함하여 40만바트를 초과한 다면 중재위원회가 중재권을 갖 도록 한다. 첫번째 단락에 따른 중재위원회 는 관세국 대리인과 재무부 대리 인 및 경찰청 대리인으로 구성된 다. 중재위원회가 어떠한 경우에 대 하여 중재하고 중재위원회가 정 하는 기한 내에 중재에 따라 피 고가 벌금을 납부하거나 합의서 를 작성하거나 보석하거나 담보 를 제공한 때에는 형사소송법전 의 조항에 따라 사건이 종결된 것으로 간주하도록 한다.
이 법의 발효일 전에 재임 중인 「1926년 관세법」에 따른 관세심 사위원회의 권위자 위원은 이 법 에 따른 관세심사위원회 권위자 위원의 임명이 있을 때까지 이 법에 따라 관세심사위원회의 권 위자 위원이 되도록 한다. 이와 관련하여 이 법이 발효된 날부터 180일을 초과하지 아니하도록 한 다.
이 법이 시행된 때에는 다음 각 항을 따르도록 한다.
제102조 두번째 단락 및 제103 조에 따른 왕국 외 수출 기관 관 련 조항은 구속력이 있는 국제협 정이 있는 경우에는 적용하지 아 니한다.
이 법의 발효일 전 「1954년 관세 법 (제2권)」에 의하여 수정, 추가 된 「1926년 관세법」에 따라 위법 행위를 적발하거나 세금 징수 부 족을 포착하는 경우의 보상금 또 는 상금 지급 명령 검토권을 갖 도록 한다.
이 법의 발효일 전 경우에 따라 「1926년관세법」 이나 「1937년 관세법 (제7권)」, 「1937년 관세법 (제8권)」, 「1939년 관세법 (제9 권)」 또는 「1957년 관세법 (제12 권)」에 따라 제정된 모든 칙령, 부령, 규칙, 규정, 고시 및 명령 은 이 법에 따라 칙령, 부령, 규 칙, 규정, 고시 또는 명령이 제정 될 때까지 이 법에 위배 또는 모 순되지 아니하는 계속하여 적용 할 수 있도록 한다. 첫번째 단락에 따른 칙령, 부령, 규칙, 규정, 고시 또는 명령 제정 실행은 이 법의 발효일부터 180 일 이내에 실행을 완료하도록 한 다. 만약 실행이 불가능하다면 장 관이 내각에 실행이 불가능한 사 유를 보고하여 알리도록 한다.
부서 대장 쁘라윳 짠오차 총리