「1992년 에너지절약촉진법」
• 국가·지역: 태국 • 제 정 일: 1992년 3월 23일 • 최종개정일: 2007년 11월 24일
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ณ วันที่ ๒๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ เป็นปีที่ ๔๗ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริม การอนุรักษ์พลังงาน จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยค าแนะน าและยินยอม ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติท าหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้ 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서 현 왕조의 47번째 해인 1992년 (불기2535년) 3월 23일에 하사하 셨다. 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서는 다음과 같이 공포하도록 하셨다. 에너지 절약 촉진 관련 법률을 갖추는 것이 마땅하다. 그러므로 국왕 폐하께서는 의회 직무를 수행하는 입법부의 조언 과 승인을 통하여 다음과 같이 이 법을 제정하도록 하셨다.
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติการ ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. ๒๕๓๕”
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจาก วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ในพระราชบัญญัตินี้ “พลังงาน” หมายความว่า ความสามารถในการ ท างานซึ่งมีอยู่ในตัวของสิ่งที่อาจให้งานได้ได้แก่ พลังงานหมุนเวียน และพลังงานสิ้นเปลือง และ ให้หมายความรวมถึงสิ่งที่อาจให้งานได้เช่น เชื้อเพลิง ความร้อนและไฟฟ้า เป็นต้น “พลังงานหมุนเวียน” หมายความรวมถึง พลังงานที่ได้จากไม้ฟื น แกลบ กากอ้อย ชีวมวล น ้าแสงอาทิตย์ความร้อนใต้พิภพ ลม และคลื่น เป็นต้น “พลังงานสิ้นเปลือง” หมายความรวมถึง พลังงานที่ได้จากถ่านหิน หินน ้ามัน ทรายน ้ามัน น ้ามันดิบ น ้ามันเชื้อเพลิง ก๊าซธรรมชาติและ นิวเคลียร์เป็นต้น “เชื้อเพลิง” หมายความรวมถึง ถ่านหิน หินน ้ามัน ทรายน ้ามัน น ้ามันเชื้อเพลิง ก๊าซธรรมชาติก๊าซ เชื้อเพลิง เชื้อเพลิงสังเคราะห์ฟื น ไม้แกลบ กาก อ้อย ขยะและสิ่งอื่น ตามที่คณะกรรมการ นโยบายพลังงานแห่งชาติก าหนดโดยประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา “น ้ามันเชื้อเพลิง” หมายความว่า ก๊าซ น ้ามัน เบนซิน น ้ามันเชื้อเพลิงส าหรับเครื่องบิน น ้ามันก๊าด น ้ามันดีเซล น ้ามันเตา น ้ามันอื่น ๆ ที่ คล้ายกับน ้ามันที่ได้ออกชื่อมาแล้วและ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมอื่นตามที่คณะกรรมการ นโยบายพลังงานแห่งชาติก าหนดโดยประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา “ก๊าซ” หมายความว่า ก๊าซปิโตรเลียมเหลวที่ใช้ เป็นก๊าซหุงต้มหรือก๊าซไฮโดรคาร์บอนเหลว ซึ่ง ได้แก่ โปรเปน โปรปิลีน นอร์มัลบิวเทน ไอโซ-บิ วเทน หรือบิวทีลีนส์อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลาย อย่างรวมกันเป็นส่วนใหญ่ “โรงกลั่น” หมายความว่า โรงกลั่นน ้ามัน เชื้อเพลิง สถานที่ผลิตและจ าหน่ายน ้ามัน เชื้อเพลิงและหมายความรวมถึงโรงแยกก๊าซ และโรงงานอุตสาหกรรมเคมีปิโตรเลียมและ สารละลายด้วย “คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ” หมายความว่า คณะกรรมการนโยบายพลังงาน แห่งชาติตามกฎหมายว่าด้วย คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ “อนุรักษ์พลังงาน” หมายความว่า ผลิตและใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด “ตรวจสอบ” หมายความว่า ส ารวจ ตรวจวัด และ เก็บข้อมูล “โรงงาน” หมายความว่า โรงงานตามกฎหมาย ว่าด้วยโรงงาน “เจ้าของโรงงาน” หมายความรวมถึงผู้รับผิดชอบ ในการบริหารโรงงานด้วย “อาคาร” หมายความว่าอาคารตามกฎหมายว่า ด้วยการควบคุมอาคาร “เจ้าของอาคาร” หมายความรวมถึงบุคคลอื่นซึ่ง ครอบครองอาคารด้วย “กองทุน” หมายความว่า กองทุนเพื่อส่งเสริมการ อนุรักษ์พลังงาน “คณะกรรมการกองทุน” หมายความว่า คณะกรรมการกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่ง รัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้ “อธิบดี” หมายความว่าอธิบดีกรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน*หรือผู้ซึ่ง อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงานมอบหมาย “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงพลังงาน
เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมการอนุรักษ์ พลังงานตามพระราชบัญญัตินี้ให้ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติมี อ านาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
หนังสือหรือค าสั่งที่มีถึงบุคคลใดเพื่อ ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ให้เจ้าหน้าที่ น าส่งในระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นและพระ อาทิตย์ตก หรือในเวลาท าการของบุคคลนั้น หรือ ส่งโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียน ในกรณีที่ไม่สามารถจะส่งตามวิธีดังกล่าวใน วรรคหนึ่งด้วยเหตุใด ๆให้ส่งโดยวิธีปิดหนังสือ หรือค าสั่งไว้ในที่ที่เห็นได้ง่าย ณ ที่อยู่ ส านักงาน หรือบ้านที่บุคคลนั้นมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านตาม กฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎรครั้งสุดท้าย หรือจะโฆษณาข้อความย่อในหนังสือพิมพ์ที่ จ าหน่ายเป็นปกติในท้องที่นั้นก็ได้ เมื่อได้ส่งตามวิธีดังกล่าวในวรรคสองและเวลา ได้ล่วงพ้นไปเจ็ดวันแล้ว ให้ถือว่าบุคคลนั้นได้รับ หนังสือหรือค าสั่งนั้นแล้ว
ให้นายกรัฐมนตรีรัฐมนตรีว่าการกระทรวง พลังงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รักษาการ ตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ในส่วนที่เกี่ยวกับ อ านาจหน้าที่ของตน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน มีอ านาจ แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ กับออกกฎกระทรวง หรือประกาศ ตลอดจนมีอ านาจก าหนดกิจการ อื่นเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงและประกาศนั้น เมื่อได้ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
การอนุรักษ์พลังงานในโรงงานได้แก่การ ด าเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
การก าหนดโรงงานประเภทใด ขนาด ปริมาณ การใช้พลังงาน หรือวิธีการใช้พลังงานอย่างใดให้ เป็นโรงงานควบคุม ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา พระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่งให้ใช้บังคับเมื่อ พ้นก าหนดหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เจ้าของโรงงานควบคุมแห่งใดใช้พลังงานต ่า กว่าขนาดหรือปริมาณที่ก าหนดในพระราช กฤษฎีกาตามวรรคหนึ่งและจะใช้พลังงานใน ระดับดังกล่าวต่อไปเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อย กว่าหกเดือน เจ้าของโรงงานควบคุมแห่งนั้นอาจ แจ้งรายละเอียดพร้อมด้วยเหตุผล และมีค า ขอให้อธิบดีผ่อนผันการที่ต้องปฏิบัติตาม พระราชบัญญัตินี้ตลอดเวลาดังกล่าวได้ในกรณี ที่มีค าขอดังกล่าว ให้อธิบดีพิจารณาผ่อนผัน หรือไม่ผ่อนผันและมีหนังสือแจ้งผลให้เจ้าของ โรงงานควบคุมทราบโดยเร็ว
เพื่อประโยชน์ในการอนุรักษ์พลังงานในโรงงาน ควบคุม ให้รัฐมนตรีโดยค าแนะน าของ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติมี อ านาจออกกฎกระทรวงในเรื่องดังต่อไปนี้
ในกรณีที่มีเหตุอันสมควรอธิบดีมีอ านาจออก ค าสั่งให้เจ้าของโรงงานควบคุมรายใดแจ้ง ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการใช้พลังงานเพื่อตรวจสอบ ให้การอนุรักษ์พลังงานเป็นไปตามมาตรฐาน หลักเกณฑ์และวิธีการที่ก าหนดในกฎกระทรวงที่ ออกตามมาตรา ๙ และให้เจ้าของโรงงาน ควบคุมรายนั้นปฏิบัติตามภายในสามสิบวันนับ แต่วันที่ได้รับค าสั่งนั้น
การอนุรักษ์พลังงานในอาคารได้แก่การ ด าเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
การก าหนดอาคารประเภทใด ขนาด ปริมาณ การใช้พลังงาน และวิธีการใช้พลังงานอย่างใดให้ เป็นอาคารควบคุม ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา ให้น ามาตรา ๘ วรรคสองและวรรคสามมาใช้ บังคับโดยอนุโลม
เพื่อประโยชน์ในการอนุรักษ์พลังงานในอาคาร ที่จะท าการก่อสร้างหรือดัดแปลง ให้รัฐมนตรีโดย ค าแนะน าของคณะกรรมการนโยบายพลังงาน แห่งชาติมีอ านาจออกกฎกระทรวงในเรื่อง ดังต่อไปนี้
ในการออกกฎกระทรวงตามมาตรา ๑๙ ถ้า คณะกรรมการควบคุมอาคารตามกฎหมายว่า ด้วยการควบคุมอาคารได้พิจารณาให้ความ เห็นชอบที่จะน ามาใช้บังคับกับการควบคุม อาคารตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ด้วยแล้ว ให้ถือว่ากฎกระทรวงดังกล่าวมีผล เสมือนเป็นกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๘ แห่ง พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ และให้บรรดาผู้มีอ านาจหน้าที่ตามกฎหมายว่า ด้วยการควบคุมอาคารมีอ านาจหน้าที่ ควบคุมดูแลให้การก่อสร้างหรือดัดแปลงอาคาร เป็นไปตามกฎกระทรวงดังกล่าวและในกรณีเช่น ว่านี้แม้ว่าอาคารที่เข้าลักษณะเป็นอาคาร ควบคุมจะอยู่ในท้องที่ที่ยังมิได้มีพระราช กฤษฎีกาใช้บังคับกฎหมายว่าด้วยการควบคุม อาคารก็ตาม ให้ถือว่าอยู่ในบังคับแห่งกฎหมาย ว่าด้วยการควบคุมอาคารด้วย ทั้งนี้เฉพาะใน ขอบเขตที่เกี่ยวข้องเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติ ตามพระราชบัญญัตินี้
เพื่อประโยชน์ในการอนุรักษ์พลังงานในอาคาร ควบคุม ให้รัฐมนตรีโดยค าแนะน าของ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติมี อ านาจออกกฎกระทรวงในเรื่องดังต่อไปนี้
เพื่อประโยชน์ในการอนุรักษ์พลังงานใน เครื่องจักร หรืออุปกรณ์รวมทั้งให้มีการส่งเสริม การใช้วัสดุหรืออุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ให้รัฐมนตรีโดยค าแนะน าของ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติมี อ านาจออกกฎกระทรวงในเรื่องดังต่อไปนี้
ให้จัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งเรียกว่า “กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน” ใน กระทรวงพลังงาน เพื่อใช้เป็นทุนหมุนเวียนและ ใช้จ่ายช่วยเหลือหรืออุดหนุนการด าเนินงาน เกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงาน โดยประกอบด้วย เงินและทรัพย์สินดังต่อไปนี้
ให้โอนบรรดากิจการ ทรัพย์สิน สิทธิหนี้สิน และเงินจากกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน ในกระทรวงการคลัง ไปเป็นของกองทุน เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานตาม พระราชบัญญัตินี้
เงินกองทุนให้ใช้เพื่อวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้
(ก) โครงการทางด้านการอนุรักษ์พลังงานหรือ โครงการที่เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไข ปัญหาสิ่งแวดล้อมจากการอนุรักษ์พลังงาน (ข) การค้นคว้า วิจัย การศึกษาเกี่ยวกับการ พัฒนา การส่งเสริมและการอนุรักษ์พลังงาน การป้องกันและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมจาก การอนุรักษ์พลังงานและเกี่ยวกับการก าหนด นโยบายและวางแผนพลังงาน (ค) โครงการสาธิต หรือโครงการริเริ่มที่เกี่ยวกับ การอนุรักษ์พลังงานหรือการป้องกันและแก้ไข ปัญหาสิ่งแวดล้อมจากการอนุรักษ์พลังงาน (ง) การศึกษา การฝึกอบรม และการประชุม เกี่ยวกับพลังงาน (จ) การโฆษณา การเผยแพร่ข้อมูล และการ ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการพัฒนา การ ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน และการป้องกัน และแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมจากการอนุรักษ์ พลังงาน
องค์กรเอกชนที่มีสิทธิได้รับเงินช่วยเหลือหรือ เงินอุดหนุนตามมาตรา ๒๕ (๓) ต้องมีฐานะเป็น นิติบุคคลตามกฎหมายไทยหรือกฎหมาย ต่างประเทศที่มีกิจกรรมเกี่ยวข้องโดยตรงกับการ อนุรักษ์พลังงานหรือการป้องกันและแก้ไขปัญหา สิ่งแวดล้อมจากการอนุรักษ์พลังงาน และมิได้มี วัตถุประสงค์ในทางการเมืองหรือมุ่งค้าหาก าไร จากการประกอบกิจกรรมดังกล่าว
ให้มีคณะกรรมการกองทุนคณะหนึ่ง ประกอบด้วย รองนายกรัฐมนตรีคนหนึ่งที่ นายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็นประธานกรรมการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน ปลัด กระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงพลังงาน เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติเลขาธิการส านักงาน มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม อธิบดี กรมบัญชีกลางอธิบดีกรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน อธิบดีกรมโยธาธิ การและผังเมืองอธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย นายกสภาวิศวกร นายกสภาสถาปนิก และ ผู้ทรงคุณวุฒิไม่เกินเจ็ดคนซึ่งคณะรัฐมนตรี แต่งตั้งเป็นกรรมการและผู้อ านวยการส านักงาน นโยบายและแผนพลังงาน เป็นกรรมการและ เลขานุการ การแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามวรรค หนึ่ง ให้พิจารณาจากบุคคล ซึ่งมีความรู้ความ เชี่ยวชาญมีผลงานและประสบการณ์ที่เกี่ยวกับ เศรษฐศาสตร์การเงิน วิทยาการพลังงานและการ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมด้วย
ให้คณะกรรมการกองทุนมีอ านาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระอยู่ในต าแหน่ง คราวละสามปี กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากต าแหน่งอาจ ได้รับแต่งตั้งอีกได้
นอกจากการพ้นจากต าแหน่งตามวาระตาม มาตรา ๒๙ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจาก ต าแหน่งเมื่อ
ในกรณีที่มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในระหว่างที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งแต่งตั้งไว้ แล้วยังมีวาระอยู่ในต าแหน่ง ไม่ว่าจะเป็นการ แต่งตั้งเพิ่มขึ้นหรือแต่งตั้งซ่อม ให้ผู้ได้รับแต่งตั้ง นั้นอยู่ในต าแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งแต่งตั้งไว้แล้วนั้น
ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด ารงต าแหน่ง ครบตามวาระแล้วแต่ยังมิได้มีการแต่งตั้ง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่ ให้กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากต าแหน่งตามวาระปฏิบัติ หน้าที่ไปพลางก่อน จนกว่าจะมีการแต่งตั้ง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม
การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมา ประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ านวนกรรมการ ทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม ถ้าประธาน กรรมการไม่อยู่ในที่ประชุม ให้กรรมการซึ่งมา ประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ ประชุม การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้าง มาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการ ลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานใน ี่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ ขาด
ให้คณะกรรมการกองทุนมีอ านาจแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการ ตามที่คณะกรรมการกองทุนมอบหมาย ตลอดจนเชิญบุคคลมาให้ข้อเท็จจริง ค าอธิบาย ค าแนะน า หรือความเห็น เพื่อประโยชน์ในการ ปฏิบัติตามอ านาจหน้าที่ได้ตามความจ าเป็น ในการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณา หรือปฏิบัติการตามมาตรา ๒๘ (๒) คณะกรรมการกองทุนอาจมอบอ านาจให้ คณะอนุกรรมการมีอ านาจในการอนุมัติการขอ เปลี่ยนแปลงการจัดสรรเงินกองทุนให้แก่กิจการ แผนงาน หรือโครงการได้เท่าที่ไม่เกินจากวงเงิน ที่คณะกรรมการกองทุนจัดสรรให้ ทั้งนี้ให้ เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกองทุน ก าหนด ให้คณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการกองทุน แต่งตั้งขึ้นตามวรรคหนึ่งเชิญบุคคลมาให้ ข้อเท็จจริง ค าอธิบาย ค าแนะน า หรือความเห็น เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามอ านาจหน้าที่ได้ ตามความจ าเป็นและให้น ามาตรา ๓๓ มาใช้ บังคับแก่การประชุมของคณะอนุกรรมการโดย อนุโลม
การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การ จ าหน่ายทรัพย์สินของกองทุนและการบัญชีให้ เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกองทุน ก าหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง
ให้คณะกรรมการกองทุนจัดท างบการเงินส่ง ส านักงานการตรวจเงินแผ่นดินหรือ บุคคลภายนอกซึ่งคณะกรรมการกองทุนแต่งตั้ง โดยความเห็นชอบของส านักงานการตรวจเงิน แผ่นดินเป็นผู้สอบบัญชีของกองทุน และให้ท า การตรวจสอบและรับรองบัญชีและการเงินทุก ประเภทของกองทุนภายในเก้าสิบวันนับแต่วัน สิ้นปีงบประมาณทุกปี ให้ส านักงานการตรวจเงินแผ่นดินหรือผู้สอบ บัญชีตามวรรคหนึ่งจัดท ารายงานผลการสอบ และรับรองบัญชีและการเงินของกองทุนเสนอต่อ คณะกรรมการกองทุนภายในหนึ่งร้อยห้าสิบวัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมาณเพื่อเสนอต่อ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติและ คณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ รายงานผลการสอบบัญชีและการเงินตามวรรค สอง ให้รัฐมนตรีเสนอต่อนายกรัฐมนตรีเพื่อ น าเสนอต่อรัฐสภาเพื่อทราบและจัดให้มีการ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ให้ผู้ผลิตน ้ามันเชื้อเพลิง ณ โรงกลั่นและ จ าหน่ายเพื่อใช้ในราชอาณาจักรส่งเงินเข้า กองทุนตามปริมาณน ้ามันเชื้อเพลิงที่ผลิตและ จ าหน่ายเพื่อใช้ในราชอาณาจักรในอัตราที่ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติก าหนด การส่งเงินเข้ากองทุนตามวรรคหนึ่ง ให้ส่งแก่ กรมสรรพสามิตพร้อมกับการช าระภาษี สรรพสามิตส าหรับน ้ามันเชื้อเพลิง ถ้ามีทั้งนี้ ตามระเบียบที่กรมสรรพสามิตก าหนด
ให้ผู้น าเข้าน ้ามันเชื้อเพลิงเพื่อใช้ใน ราชอาณาจักรส่งเงินเข้ากองทุนตามปริมาณ น ้ามันเชื้อเพลิงที่น าเข้ามาเพื่อใช้ใน ราชอาณาจักรในอัตราที่คณะกรรมการนโยบาย พลังงานแห่งชาติก าหนด การส่งเงินเข้ากองทุนตามวรรคหนึ่ง ให้ส่งแก่ กรมศุลกากรพร้อมกับการช าระค่าภาษีอากร ส าหรับน ้ามันเชื้อเพลิงนั้น ถ้ามีทั้งนี้ตาม ระเบียบที่กรมศุลกากรก าหนด
ให้ผู้ซื้อหรือได้มาซึ่งก๊าซจากผู้รับสัมปทานตาม กฎหมายว่าด้วยการปิโตรเลียมซึ่งเป็นผู้ผลิตได้ จากการแยกก๊าซธรรมชาติส่งเงินเข้ากองทุนใน อัตราที่คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ ก าหนด การส่งเงินเข้ากองทุนตามวรรคหนึ่ง ให้ส่งแก่ กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติพร้อมกับการช าระ ค่าภาคหลวงส าหรับก๊าซ ถ้ามีทั้งนี้ตามระเบียบ ที่กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ*ก าหนด
ในกรณีที่ผู้มีหน้าที่ส่งเงินเข้ากองทุนตาม มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ หรือมาตรา ๓๗ ไม่ส่ง เงินเข้ากองทุนหรือส่งเงินเข้ากองทุนไม่ครบตาม จ านวนที่ต้องส่งกองทุนภายในเวลาที่ก าหนดแก กรมสรรพสามิตส าหรับผู้ผลิตน ้ามันเชื้อเพลิง ณ โรงกลั่นและจ าหน่ายเพื่อใช้ในราชอาณาจักร หรือกรมศุลกากรส าหรับผู้น าเข้าน ้ามันเชื้อเพลิง หรือกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติส าหรับผู้ที่ซื้อหรือ ได้มาซึ่งก๊าซจากผู้รับสัมปทานตามกฎหมายว่า ด้วยการปิโตรเลียมให้กรมสรรพสามิต หรือกรม ศุลกากร หรือกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติแล้วแต่ กรณีด าเนินคดีตามมาตรา ๕๘ โดยเร็ว เว้นแต่ ในกรณีดังต่อไปนี้
เงินที่ส่งเข้ากองทุนตามมาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ และมาตรา ๓๗ ให้ถือว่าเป็นรายจ่ายตาม ประมวลรัษฎากร
โรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมที่จะต้องจัด ให้มีการอนุรักษ์พลังงาน รวมทั้งมีเครื่องจักร อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้และวัสดุที่จ าเป็น เพื่อการนั้น ๆ หรือผู้ผลิตหรือผู้จ าหน่าย เครื่องจักรหรืออุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพสูงหรือ วัสดุเพื่อใช้ในการอนุรักษ์พลังงาน มีสิทธิขอรับ การส่งเสริมและช่วยเหลือได้ดังต่อไปนี้
ค าขอรับการส่งเสริมและช่วยเหลือตามมาตรา ๔๐ ให้ยื่นต่อคณะกรรมการกองทุนตามระเบียบ ที่คณะกรรมการกองทุนก าหนด ในการพิจารณาอนุมัติตามวรรคหนึ่ง คณะกรรมการกองทุนอาจจ้างบุคคลหรือสถาบัน ใด ซึ่งเป็นผู้ช านาญการหรือเชี่ยวชาญ ท าการศึกษาและรายงานหรือให้ความเห็นเพื่อ ประกอบการพิจารณาได้ ให้คณะกรรมการกองทุนพิจารณาอนุมัติค า ขอรับการส่งเสริมและช่วยเหลือตามแนวทาง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่คณะกรรมการนโยบาย พลังงานแห่งชาติก าหนดตามมาตรา ๔ (๘) และ แจ้งให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องปฏิบัติตามมติของ คณะกรรมการกองทุนในการส่งเสริมหรือให้ ความช่วยเหลือแก่ผู้ได้รับการส่งเสริมและ ช่วยเหลือต่อไป ให้กรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงานมีหน้าที่ ติดตามให้ผู้ได้รับการส่งเสริมและช่วยเหลือ ปฏิบัติการให้เป็นไปตามวรรคสาม และรายงาน ให้คณะกรรมการกองทุนทราบ
เมื่อพ้นก าหนดสามปีนับแต่วันที่กฎกระทรวงที ออกตามมาตรา ๙ (๑) หรือมาตรา ๒๑ (๑) ใช้ บังคับ ในกรณีที่เป็นโรงงานควบคุมหรืออาคาร ควบคุมก่อนหรือในวันที่กฎกระทรวงดังกล่าวใช้ บังคับ หรือนับแต่วันที่เป็นโรงงานควบคุมหรือ อาคารควบคุมในกรณีเป็นโรงงานควบคุมหรือ อาคารควบคุมหลังวันที่กฎกระทรวงดังกล่าวใช้ บังคับ ถ้าเจ้าของโรงงานควบคุม หรือเจ้าของ อาคารควบคุมผู้ใดไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวง ดังกล่าว ต้องช าระค่าธรรมเนียมพิเศษการใช้ ไฟฟ้าตามหมวดนี้ ค่าธรรมเนียมพิเศษการใช้ไฟฟ้าตามวรรคหนึ่ง จะเรียกเก็บจากโรงงานควบคุมหรืออาคาร ควบคุมตามปริมาณไฟฟ้าที่ซื้อหรือได้มาจาก การไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้า นครหลวง หรือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค โดยให้ถือ ว่ามีผลบังคับเช่นเดียวกับการเรียกเก็บค่าไฟฟ้า ตามกฎหมายว่าด้วยการไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่ง ประเทศไทย กฎหมายว่าด้วยการไฟฟ้านคร หลวง หรือกฎหมายว่าด้วยการไฟฟ้าส่วน ภูมิภาค แล้วแต่กรณี
ให้คณะกรรมการกองทุนโดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ ก าหนดอัตราค่าธรรมเนียมพิเศษการใช้ไฟฟ้า ในการก าหนดอัตราค่าธรรมเนียมพิเศษการใช้ ไฟฟ้าตามวรรคหนึ่ง ให้ค านึงถึงความแตกต่าง ระหว่างอัตราค่าไฟฟ้าที่โรงงานควบคุมหรือ อาคารควบคุมช าระให้แก่การไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่ง ประเทศไทย การไฟฟ้านครหลวง หรือการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค กับต้นทุนรวมในการผลิตและจ่าย ไฟฟ้าจ านวนดังกล่าวให้แก่โรงงานควบคุมหรือ อาคารควบคุม ต้นทุนรวมตามวรรคสองหมายความว่า ค่า ลงทุนในระบบผลิตและระบบจ่ายไฟฟ้า ค่าใช้จ่ายในการจัดหาเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า ค่าใช้จ่ายในการบ ารุงรักษา ค่าใช้จ่ายในการ บริหาร ความสูญเสียในระบบไฟฟ้าและ ค่าใช้จ่ายอื่น ๆในการประกอบกิจการไฟฟ้าและ ให้รวมถึงผลกระทบต่อสภาวะแวดล้อมหรือ ประชาชนอันเกิดจากการผลิตและจ่ายไฟฟ้านั้น ที่ไม่เป็นภาระโดยตรงของการไฟฟ้าฝ่ ายผลิต แห่งประเทศไทย การไฟฟ้านครหลวงหรือการ ไฟฟ้าส่วนภูมิภาคด้วย
เมื่อมีกรณีที่ต้องด าเนินการเรียกเก็บ ค่าธรรมเนียมพิเศษ การใช้ไฟฟ้าตามมาตรา ๔๒ ให้อธิบดีมีหนังสือแจ้งให้เจ้าของโรงงานควบคุม หรือเจ้าของอาคารควบคุมที่จะต้องช าระ ค่าธรรมเนียมพิเศษการใช้ไฟฟ้าทราบ และให้ ภาระการช าระค่าธรรมเนียมพิเศษการใช้ไฟฟ้า เริ่มมีผลตั้งแต่วันที่หนึ่งของเดือนถัดไปนับแต่ วันที่ได้รับแจ้งจากอธิบดี ให้การไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย การ ไฟฟ้านครหลวง หรือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เป็น ผู้จัดเก็บค่าธรรมเนียมพิเศษการใช้ไฟฟ้าจาก โรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมที่ซื้อหรือได้ไป จากตนพร้อมกับการจัดเก็บค่าไฟฟ้าปกติ ประจ าเดือน และน าส่งกองทุนภายในสามสิบวัน นับแต่วันที่ได้รับค่าธรรมเนียมพิเศษการใช้ไฟฟ้า
ในระหว่างที่โรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุม ต้องช าระค่าธรรมเนียมพิเศษการใช้ไฟฟ้าตาม หมวดนี้ให้คณะกรรมการกองทุนพิจารณาระงับ สิทธิการขอรับการส่งเสริมและช่วยเหลือแก่ โรงงานควบคุม หรืออาคารควบคุมนั้นเป็นการ ชั่วคราวได้หรือให้ระงับ หรือลดการให้การ ส่งเสริมหรือช่วยเหลือเป็นการชั่วคราวในกรณีที่ โรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมดังกล่าวได้รับ การส่งเสริมและช่วยเหลืออยู่แล้วได้ตามที่ เห็นสมควร
เมื่อโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมที่ต้อง ช าระค่าธรรมเนียมพิเศษการใช้ไฟฟ้าได้ปฏิบัติ ตามกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๙ (๑) หรือ มาตรา ๒๑ (๑) แล้วให้แจ้งให้อธิบดีทราบ ให้อธิบดีด าเนินการตรวจสอบให้แล้วเสร็จ ภายในสามสิบวันนับตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้งว่า โรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมดังกล่าวได้ ปฏิบัติตามกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๙ (๑) หรือมาตรา ๒๑ (๑) หรือไม่ในกรณีที่ได้มีการ ปฏิบัติตามกฎกระทรวงดังกล่าวแล้ว ให้อธิบดีมี ค าสั่งยุติการเก็บค่าธรรมเนียมพิเศษการใช้ไฟฟ้า และมีหนังสือแจ้งให้โรงงานควบคุมหรืออาคาร ควบคุมทราบ ค าสั่งยุติการเก็บค่าธรรมเนียมพิเศษการใช้ ไฟฟ้าตามวรรคสอง ให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ หนึ่งของเดือนถัดไป
เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอ านาจดังต่อไปนี้
ในการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม มาตรา ๔๗ (๒) ให้เจ้าของโรงงานควบคุมหรือ เจ้าของอาคารควบคุม ตลอดจนบุคคลซึ่ง เกี่ยวข้องหรืออยู่ในสถานที่นั้นอ านวยความ สะดวกตามสมควร
ในกรณีที่จะต้องมีการตรวจสอบและรับรอง การจัดการพลังงานการใช้พลังงานในเครื่องจักร หรืออุปกรณ์และคุณภาพวัสดุหรืออุปกรณ์เพื่อ การอนุรักษ์พลังงานตามมาตรา ๔๗ (๓) อธิบดี อาจอนุญาตให้บุคคลหรือนิติบุคคลเป็น ผู้ด าเนินการแทนพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ การก าหนดคุณสมบัติการขอรับใบอนุญาต การอนุญาต และการต่ออายุใบอนุญาตของ บุคคลหรือนิติบุคคลตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่ก าหนดใน กฎกระทรวง
ผู้รับใบอนุญาตตามมาตรา ๔๘/๑ ผู้ใดรายงาน ผลการตรวจสอบและรับรองตามมาตรา ๔๗ (๓) อันเป็นเท็จ หรือไม่ตรงตามความเป็นจริงและ ศาลได้มีค าพิพากษาถึงที่สุดให้ลงโทษตาม มาตรา ๕๖ แห่งพระราชบัญญัตินี้แล้ว ให้อธิบดี สั่งเพิกถอนใบอนุญาต
กรณีที่ผู้รับอนุญาตตามมาตรา ๔๘/๑ ถูกฟ้อง ต่อศาลว่าได้กระท าความผิดตามมาตรา ๕๖ แห่งพระราชบัญญัตินี้ให้อธิบดีมีอ านาจสั่งพักใช้ ใบอนุญาตไว้รอค าพิพากษาถึงที่สุดก็ได้ ห้ามมิให้ผู้รับอนุญาตที่ถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาต ประกอบกิจการตามใบอนุญาตนั้
ผู้รับใบอนุญาตซึ่งถูกพักใช้ใบอนุญาต มีสิทธิ อุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ ได้รับทราบค าสั่ง ค าสั่งของรัฐมนตรีให้เป็นที่สุด การอุทธรณ์ค าสั่งรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่งไม่ เป็นเหตุให้ทุเลาการบังคับตามค าสั่งพักใช้ ใบอนุญาต
ในการปฏิบัติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ต้อง แสดงบัตรประจ าตัวแก่บุคคลซึ่งเกี่ยวข้อง บัตรประจ าตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ให้เป็นไป ตามแบบที่ก าหนดในกฎกระทรวง
ผู้ได้รับหนังสือแจ้งผลตามมาตรา ๘ วรรคสาม ผู้ใดไม่เห็นด้วยกับหนังสือแจ้งดังกล่าว ให้ อุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ ได้รับแจ้ง ในกรณีเช่นว่านี้ให้กรมพัฒนาและส่งเสริม พลังงานรอการด าเนินการไว้ก่อนจนกว่าจะมีค า วินิจฉัยของรัฐมนตรีและแจ้งค าวินิจฉัยให้ผู้ยื่น ค าร้องทราบแล้ว
ผู้ได้รับหนังสือแจ้งตามมาตรา ๔๔ วรรคหนึ่ง ผู้ใดไม่เห็นด้วยกับหนังสือแจ้งให้อุทธรณ์ต่อ รัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง การอุทธรณ์ไม่เป็นเหตุทุเลาการบังคับตาม กฎหมาย เว้นแต่รัฐมนตรีจะเห็นสมควรให้มีการ ทุเลาการบังคับตามกฎหมายนั้นไว้ชั่วคราว
การพิจารณาอุทธรณ์ตามมาตรา ๕๐ และ มาตรา ๕๑ ให้รัฐมนตรีพิจารณาโดยเร็ว ค าวินิจฉัยของรัฐมนตรีให้เป็นที่สุด
เจ้าของโรงงานควบคุมแห่งใดแจ้งรายละเอียด หรือเหตุผลตามมาตรา ๘ วรรคสาม อันเป็นเท็จ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินสามเดือน หรือปรับ ไม่เกินหนึ่งแสนห้าหมื่นบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ
เจ้าของโรงงานควบคุมผู้ใดไม่ปฏิบัติตามค าสั่ง ของอธิบดีที่สั่งตามมาตรา ๑๐ หรือเจ้าของ อาคารควบคุมผู้ใดไม่ปฏิบัติตามค าสั่งของอธิบดี ที่สั่งตามมาตรา ๑๐ ซึ่งได้น ามาใช้บังคับโดย อนุโลมตามมาตรา ๒๑ ต้องระวางโทษปรับไม่ เกินห้าหมื่นบาท
เจ้าของโรงงานควบคุม เจ้าของอาคารควบคุม หรือผู้รับผิดชอบด้านพลังงานผู้ใดไม่ปฏิบัติตาม กฎกระทรวงที่ออกตามความในมาตรา ๙ หรือ มาตรา ๒๑ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองแสน บาท
ผู้รับใบอนุญาตตรวจสอบและรับรองการจัด การพลังงาน การใช้พลังงานในเครื่องจักรหรือ อุปกรณ์และคุณภาพวัสดุหรืออุปกรณ์เพื่อการ อนุรักษ์พลังงานตามมาตรา ๔๘/๑ ผู้ใดรายงาน ผลการตรวจสอบและรับรองตามมาตรา ๔๗ (๓) อันเป็นเท็จหรือไม่ตรงตามความเป็นจริง ต้อง ระวางโทษจ าคุกไม่เกินสามเดือน หรือปรับไม่ เกินสองแสนบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ
ผู้ใดไม่ส่งเงินเข้ากองทุนหรือส่งเงินเข้ากองทุน ไม่ครบตามจ านวนที่ต้องส่งตามมาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ หรือมาตรา ๓๗ ต้องระวางโทษ จ าคุกตั้งแต่สามเดือนถึงสองปีหรือปรับตั้งแต่ หนึ่งแสนบาทถึงสิบล้านบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ
ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อ านวยความสะดวกแก่ พนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา ๔๗ (๒) ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าพันบาท
ในกรณีที่ผู้กระท าความผิดเป็นนิติบุคคล ถ้า การกระท าความผิดของนิติบุคคลนั้นเกิดจาก การสั่งการหรือการกระท าของกรรมการ หรือ ผู้จัดการ หรือบุคคลใดซึ่งรับผิดชอบในการ ด าเนินงานของนิติบุคคลนั้น หรือในกรณีที่บุคคล ดังกล่าวมีหน้าที่ต้องสั่งการหรือกระท าการและ ละเว้นไม่สั่งการหรือไม่กระท าการจนเป็นเหตุให้ นิติบุคคลนั้นกระท าความผิด ผู้นั้นต้องรับโทษ ตามที่บัญญัติไว้ส าหรับความผิดนั้น ๆ ด้วย
บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ให้ คณะกรรมการเปรียบเทียบคดีที่รัฐมนตรีแต่งตั้ง จากเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิในทาง กฎหมายสามคนมีอ านาจเปรียบเทียบได้และ เมื่อผู้กระท าความผิดได้ช าระค่าปรับตามจ านวน ที่ได้เปรียบเทียบภายในระยะเวลาที่ คณะกรรมการเปรียบเทียบคดีก าหนดแล้ว ให้ถือ ว่าคดีเลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญา ในการสอบสวนถ้าพนักงานสอบสวนพบว่า บุคคลใดกระท าความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ และบุคคลนั้นยินยอมให้เปรียบเทียบ ให้ พนักงานสอบสวนส่งเรื่องให้คณะกรรมการ เปรียบเทียบคดีตามวรรคหนึ่งภายในเจ็ดวันนับ แต่วันที่ผู้นั้นแสดงความยินยอมให้เปรียบเทียบ
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ อานันท์ ปันยารชุน นายกรัฐมนตรี
「1992년 에너지절약촉진법」
• 국가·지역: 태국 • 제 정 일: 1992년 3월 23일 • 최종개정일: 2007년 11월 24일
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ณ วันที่ ๒๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ เป็นปีที่ ๔๗ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริม การอนุรักษ์พลังงาน จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยค าแนะน าและยินยอม ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติท าหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้ 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서 현 왕조의 47번째 해인 1992년 (불기2535년) 3월 23일에 하사하 셨다. 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서는 다음과 같이 공포하도록 하셨다. 에너지 절약 촉진 관련 법률을 갖추는 것이 마땅하다. 그러므로 국왕 폐하께서는 의회 직무를 수행하는 입법부의 조언 과 승인을 통하여 다음과 같이 이 법을 제정하도록 하셨다.
이 법은 “1992년 에너지절약촉 진법”이라고 한다.
이 법은 관보에 게재한 이튿날 부터 시행하도록 한다.
이 법에서 사용하는 용어의 뜻 은 다음과 같다. “에너지”란 재생에너지 및 비재 생에너지와 같이 작업을 가능하 도록 하는 사물에 내재된 작업 수행 능력을 말하며, 연료와 열 및 전기 등과 같이 일을 하도록 할 수 있는 사물을 포함하여 말 하도록 한다. “재생에너지”란 목재, 땔감, 왕 겨, 사탕수수 찌꺼기, 생물 유기 체, 물, 햇빛, 지열, 바람 및 파 도 등에서 얻는 에너지를 포함 하여 말한다. “비재생에너지”란 석탄, 유혈암, 역청탄, 원유, 연료유, 천연 가 스 및 원자력 등에서 얻는 에너 지를 포함하여 말한다. “연료”란 석탄, 유혈암, 역청탄, 연료유, 천연가스, 연료 가스, 합성 연료, 땔감, 목재, 왕겨, 사 탕수수 찌꺼기, 폐기물 및 국가 에너지정책위원회가 관보에 고 시하는 바에 따른 기타 물질을 포함하여 말한다. “연료유”란 가스, 휘발유, 항공 연료, 등유, 경유, 중유와 이와 유사한 기타 유류 및 에너지정 책위원회가 관보에 고시하는 바 에 따른 기타 석유 제품을 말한 다. “가스”란 조리용 액화석유가스 또는 액화탄화수소가스를 말한 다. 즉, 프로판이나 프로필렌, 노말부탄, 이소부탄 또는 뷰틸 렌 한가지 또는 여러가지가 조 합되어 대부분을 구성하는 것을 말한다. “정제공장”이란 연료유 정제공 장과 연료유를 생산하고 유통하 는 장소를 말하며, 가스분리공 장과 석유화학산업 및 용매 공 장을 포함하여 말한다. “국가에너지정책위원회”란 국가 에너지정책위원회 관련 법률에 따른 국가에너지정책위원회를 말한다. “에너지 절약”이란 에너지를 효 율적·경제적으로 생산하고 사용 하는 것을 말한다. “검사”란 자료를 조사, 검출 및 수집하는 것을 말한다. “공장”이란 공장 관련 법률에 따른 공장을 말한다. “공장주”란 공장 운영 책임자를 포함하여 말한다. “건축물”이란 건축물 관리 관련 법률에 따른 건축물을 말한다. “건축물 소유주”란 건축물을 점 유하고 있는 사람을 포함하여 말한다. “기금”이란 에너지보호장려기금 을 말한다. “기금위원회”란 에너지보호장려 기금위원회를 말한다. “담당관”이란 장관이 이 법에 따라 집행하도록 임명하는 사람 을 말한다. “국장”이란 대체 에너지 개발 및 에너지 절약국장 또는 대체 에너지 개발 및 절약국장이 위 임하는 사람을 말한다. “장관”이란 에너지부 장관을 말 한다.
이 법에 따른 에너지 절약 촉 진을 위하여 국가에너지정책위 원회에 다음 각 항의 권한과 직 무를 부여한다.
이 법의 집행을 위한 특정인에 대한 문서 또는 명령은 담당관 이 일출 시부터 일몰 시 사이 또는 해당자의 업무 시간에 송 달하거나, 등기 우편으로 송부 하도록 한다. 이유에 관계없이 첫 번째 단락 의 방법에 따른 전달이 불가능 한 경우, 주민 등록 관련 법률 에 따라 마지막으로 해당자의 성명이 등록된 거주지, 사무실 또는 자택의 잘 보이는 곳에 문 서 또는 명령을 게시하는 방법 으로 전달하거나, 해당 지역에 서 일반적으로 판매되는 신문에 요약된 내용을 광고할 수도 있 다. 두 번째 단락에 따른 방법에 따라 전달한 후 7일이 경과한 때에는 해당자가 그러한 문서 또는 명령을 수령한 것으로 보 도록 한다.
총리와 에너지부 장관, 산업부 장관, 재무부 장관 및 내무부 장관이 본인의 권한과 직무와 관련된 부분에서 이 법을 주관 하도록 한다. 에너지부 장관은 이 법에 따른 직무 수행을 위하여 담당관 임 명과 부령 또는 고시를 제정하 는 권한과 아울러 사업을 규정 하는 권한을 가진다. 해당 부령 및 고시는 관보에 게재를 완료한 때에 시행하도록 한다.
공장에서의 에너지 절약은 다 음 각 항의 어느 하나에 해당하 는 조치를 포함한다.
공장을 특정한 유형이나 규모, 에너지 소비량 또는 에너지 사 용 방법에 따라 관리 공장으로 지정하는 것은 칙령으로 제정하 도록 한다. 첫 번째 단락에 따른 칙령은 관보에 게재한 날부터 120일이 경과한 때에 시행하도록 한다. 어떤 관리 공장의 소유주가 첫 번째 단락에 따른 칙령에서 정 하는 규모 또는 양보다 적은 에 너지를 사용하였으며, 향후 6개 월 이상 지속적으로 그러한 수 준의 에너지를 사용할 예정이라 면, 그러한 관리 공장의 소유주 는 국장에게 이유와 함께 상세 사항을 신고하고 해당 기간 동 안 이 법에 따른 이행에 대한 경감 신청을 할 수 있다. 그러 한 신청이 있는 경우, 국장은 신속히 경감 여부를 검토하고 관리 공장주에게 결과를 서면 통지하도록 한다.
관리 공장에서의 에너지 절약 을 위하여, 장관에게 국가에너 지정책위원회의 조언을 통하여 다음 각 항의 사안을 규정하는 부령 제정권을 부여한다.
합당한 사유가 있는 경우에는 에너지 절약이 제9조에 따라 제 정되는 부령에서 규정하는 기준 과 원칙 및 절차를 따르도록 조 사하기 위하여 국장이 특정한 관리 공장주에게 에너지 사용 관련 사실관계를 알리도록 명령 할 권한을 가지며, 관리 공장주 는 그러한 명령을 수령한 날부 터 30일 이내에 이행하도록 한 다.
건축물에서의 에너지 절약은 다음 각 항의 어느 하나에 해당 하는 조치를 포함한다.
특정 건축물을 유형이나 규모, 에너지 소비량 또는 에너지 사 용 방법에 따라 관리 건축물로 규정하는 것은 칙령으로 제정하 도록 한다. 제8조 두 번째 단락 및 세 번 째 단락을 준용하도록 한다.
건축 또는 개보수를 실시할 건 축물에서의 에너지 절약을 위하 여, 장관에게 국가에너지정책위 원회의 조언을 통하여 다음 각 사안을 규정하는 부령 제정권을 부여한다.
제19조에 따른 부령을 제정하 는 경우, 건축물 관리 관련 법 률에 따른 건축물관리위원회가 검토하여 건축물 관리 관련 법 률을 적용하도록 승인한다면, 해당 부령은 「1979년 건축물 관리법」의 제8조에 따라 제정 된 부령과 동일한 효력이 있다 고 보도록 한다. 또한 건축물 관리 관련 법률에 따라 권한 및 직무를 담당하는 모든 사람은 건축물 건축 또는 개보수를 해 당 부령에 따르도록 하는 관리· 감독 권한 및 직무를 담당하도 록 하며, 이러한 경우, 관리 건 축물에 해당되는 건축물이 건축 물 관리 관련 법률을 적용하는 칙령이 아직 제정되지 아니한 지역에 위치하더라도 건축물 관 리 관련 법률의 적용 하에 있다 고 보도록 한다. 이와 관련하여 이 법률의 집행을 위한 관련 범 위에 한정한다.
관리 건축물에서의 에너지 절 약을 위하여, 장관에게 국가에 너지정책위원회의 조언을 통하 여 다음 각 항의 사안을 규정하 는 부령 제정권을 부여한다.
기계나 장비에서의 에너지 절 약과 에너지 절약을 위한 자재 또는 장비 사용 촉진을 위하여, 장관에게 국가에너지정책위원회 의 조언을 통하여 다음 각 항의 사안을 규정하는 부령 제정권을 부여한다.
에너지 절약 관련 회전 자금으 로 사용하고 업무 지원 또는 보 조 비용으로 지출하기 위하여 에너지부에 다음 각 항의 자금 및 자산으로 구성되는 “에너지 절약촉진기금”이라는 명칭의 기 금을 설치하도록 한다.
재무부의 에너지절약촉진기금 에서의 사업과 자산, 권리, 부채 및 자금은 이 법에 따른 에너지 절약촉진기금으로 이관하도록 한다.
기금은 다음 각 항의 목적을 위하여 사용하도록 한다.
(ㄱ) 에너지 절약 계획이나 에 너지 절약으로 인한 환경 문 제 방지 및 해결 관련 계획 (ㄴ) 에너지 개발과 지원 및 절약과 에너지 절약으로 인 한 환경 문제 방지와 해결 및 정책 설정과 계획 수립 관련 조사, 연구 및 교육 (ㄷ) 에너지 절약 또는 에너지 절약으로 인한 환경 문제 방 지 및 해결 관련 시범 사업 또는 시험 사업 (ㄹ) 에너지 관련 교육과 훈련 및 회의 (ㅁ) 에너지 절약 개발과 지원 및 에너지로 인한 환경 문제 방지 및 해결 관련 선전과 자료 보급 및 홍보
제25조제(3)항에 따른 지원금 또는 보조금을 수령할 권리가 있는 민간 기관은 에너지 절약 이나 에너지 절약으로 인한 환 경 문제 방지 및 해결과 직접적 인 관련이 있는 태국 법률 또는 외국 법률에 따른 법인이어야 하며, 정치적 목적을 가지거나 그러한 사업 운영을 통하여 이 익을 추구하지 아니하여야 한 다.
총리가 위임하는 부총리 1인을 위원장으로 하고, 에너지부 장 관과 재무부 사무차관, 에너지 부 사무차관, 국가사회경제개발 위원회 사무처장, 공산품표준사 무처장, 중앙재무국장, 대체에너 지 개발 및 에너지 절약국장, 공공 사업 및 도시 계획국장, 공장국장, 태국산업협회장, 엔지 니어협의회장, 건축가협의회장 및 내각이 위촉하는 7인 이하의 적격자를 위원으로 하며, 에너 지정책계획사무소장을 위원 겸 간사로 하여 구성되는 기금위원 회를 설치하도록 한다. 첫 번째 단락에 따른 전문위원 위촉은 금융경제학과 에너지학 및 환경질 증진 및 절약 관련 지식과 전문성, 실적 및 경력을 갖춘 사람 중에서 검토하도록 한다.
기금위원회는 다음 각 항의 권 한과 직무를 담당하도록 한다.
전문위원의 임기는 1회당 3년 이다. 이임한 전문위원은 재위촉될 수 있다.
전문위원은 제29조에 따른 임 기 만료 이외에 다음 각 항의 어느 하나에 해당하는 때에 이 임한다.
추가 위촉이나 보궐 위촉에 관 계없이, 기존에 위촉된 위원의 재임 기간 중에 전문위원의 위 촉이 있는 경우, 위촉되는 사람 은 기존에 위촉된 전문위원의 남은 임기와 같은 기간 동안 재 임하도록 한다.
전문위원의 임기가 만료되었으 나 아직 새로운 전문위원이 위 촉되지 아니한 경우, 임기에 따 라 이임하는 전문위원이 새로운 적임자 위원의 위촉이 있는 때 까지 우선 직무를 수행하도록 한다.
위원회의 회의는 위원 전체 인 원의 과반수가 참석하여야 정족 수가 된다. 위원장이 회의에 불 참하였다면 회의에 참석한 위원 이 직접 위원 중 1인을 회의의 의장으로 선정하도록 한다. 회의의 결정은 다수결로 하도 록 한다. 위원 1인은 1표의 투 표권을 가지도록 한다. 만약 득 표수가 같다면 의장이 추가로 1 표를 결정 투표에 행사하도록 한다.
기금위원회는 기금위원회가 위 임하는 검토 또는 집행을 위한 소위원회 위촉 및 권한과 직무 수행을 위하여 필요한 바에 따 라 사실관계나 설명, 제안 또는 의견을 제출하도록 하기 위하여 특정인을 초청할 권한을 가지도 록 한다. 제28조제(2)항에 따른 검토 또는 집행을 위하여 소위원회를 위촉하는 경우, 기금위원회는 소위원회에 위원회가 배정하는 금액의 범위를 초과하지 아니하 는 한도 내에서 사업이나 계획 또는 프로젝트에 제공하는 기금 배정 변경 신청을 승인할 권한 을 가지도록 한다. 이와 관련하 여 기금위원회가 정하는 규칙을 따르도록 한다. 첫 번째 단락에 따라 기금위원 회가 위촉하는 소위원회는 권한 및 직무 수행을 위하여 필요한 바에 따라 특정인을 초빙하여 사실관계나 설명, 제안 또는 의 견을 제출하도록 하고, 제33조 를 소위원회의 회의에 준용하도 록 한다.
기금의 금전 출납과 보유, 자 산 매각 및 회계는 재무부의 승 인을 통하여 위원회가 정하는 규칙을 따르도록 한다.
기금위원회는 재무제표를 작성 하여 국가감사원이나 국가감사 원의 승인을 통하여 기금위원회 가 기금의 회계 감사인으로 임 명하는 제삼자에게 제출하도록 하며, 매년 회계연도 종료일부 터 90일 이내에 기금의 모든 회 계 및 재무 감사를 실시하고 인 증하도록 한다. 첫 번째 단락에 따른 국가감사 원 또는 감사인은 에너지정책위 원회 및 내각에 보고하기 위하 여 회계연도 종료일부터 185일 이내에 기금의 회계 장부와 재 무 감사 및 인증 결과 보고서를 작성하고 기금위원회에 제출하 도록 한다. 장관은 두 번째 단락에 따른 회계 및 재무 감사 결과를 총리 에게 제출하여 의회에 보고하고 관보에 게재하도록 한다.
정제공장에서 연료유를 생산하 여 내수용으로 판매하는 사람에 게는 국가에너지정책위원회가 정하는 비율 이내에서 연료유 생산량 및 내수용 판매량에 따 라 기금으로 송금하도록 한다. 첫 번째 단락에 따른 기금으로 의 송금은, 연료유에 대한 소비 세가 있다면 소비세국이 정하는 규칙에 따라 납부와 동시에 소 비세국에 보내도록 한다.
내수용으로 연료유를 수입하는 사람에게는 국가에너지정책위원 회가 정하는 비율 이내에서 연 료유 생산량 및 내수용 판매량 에 따라 기금으로 송금하도록 한다. 첫 번째 단락에 따른 기금으로 의 송금은, 연료유에 대한 소비 세가 있다면 관세청이 정하는 규칙에 따라 납부와 동시에 관 세청에 보내도록 한다.
천연가스 분리를 통한 가스 생 산자인 석유 관련 법률에 따른 영업권 취득자로부터 가스를 매 입하거나 취득하는 사람에게는 국가에너지정책위원회가 정하는 비율 내에서 기금으로 송금하도 록 한다. 첫 번째 단락에 따른 기금으로 의 송금은, 가스에 대한 사용료 가 있다면 천연연료국이 정하는 규칙에 따라 납부와 동시에 천 연연료국에 보내도록 한다.
제35조나 제36조 또는 제37조 에 따라 기금으로 송금하여야 하는 의무자 중 정제공장에서 연료유를 생산하고 내수용으로 판매하는 사람은 소비세국에, 연료유 수입자는 관세국, 천연 가스 분리를 통한 가스 생산자 인 석유 관련 법률에 따른 영업 권 취득자로부터 가스를 매입하 거나 취득하는 사람은 천연연료 국에 기한 내에 송금하지 아니 하거나, 송금하여야 하는 전액 을 송금하지 아니하는 경우에는 경우에 따라 소비세국이나 관세 국 또는 천연연료국이 다음 각 항의 경우를 제외하고 제38조에 따라 법적조치를 집행하도록 한 다.
제35조와 제36조 및 제37조에 따라 기금으로 송금하여야 하는 금액은 「국세법전」에 따른 지 출로 보도록 한다.
에너지 절약 조치와 아울러 이 를 위하여 필요한 기계와 장비, 도구, 기구 및 자재를 갖추어야 하는 관리 공장 또는 관리 건축 물이나, 고효율 기계나 장비 또 는 에너지 절약 용도의 자재 생 산자나 판매자는 다음 각 항의 장려 및 지원 신청권을 가진다.
제40조에 따른 장려 및 지원 신청서는 기금위원회가 정하는 규칙에 따라 기금위원회에 제출 하도록 한다. 첫 번째 단락에 의거하여 승인 을 검토하는 경우, 기금위원회 는 참고를 위한 연구 및 보고 또는 의견을 제출할 숙련자 또 는 전문가인 개인이나 기관을 고용할 수 있다. 기금위원회는 제4조제(8)항에 따라 국가에너지정책위원회가 정하는 지침과 원칙 및 조건에 따라 장려 및 지원 신청을 승인 하도록 하며, 관계 부처에 고지 하여 장려 및 지원 수혜자에 대 한 장려 또는 지원에 대한 기금 위원회의 결정을 이어서 집행하 도록 한다. 에너지 개발 및 진흥국에 장려 및 지원 수혜자의 세 번째 단락 에 따른 이행을 추적 관찰하고 기금위원회에 보고할 책임을 부 여한다.
제9조제(1)항 또는 제21조제 (1)항에 의거하여 제정되는 부 령의 시행일 이전 또는 시행일 에 관리 공장이나 관리 건축물 이 된 경우에는 해당 부령의 시 행일부터 3년이 경과한 때, 또 는 해당 부령의 시행일 이후에 관리 공장이나 관리 건축물이 된 경우에는 관리 공장 또는 관 리 건축물이 된 날에 해당 부령 에 따라 이행하지 아니하는 관 리 공장주 또는 관리 건축물 소 유주는 이 장에 따라 전기 사용 특별수수료를 납부하여야 한다. 첫 번째 단락에 따른 전기 사 용 특별수수료는 경우에 따라 태국발전청 관련 법률이나 수도 전력청 관련 법률 또는 지방전 력청 관련 법률에 따라 태국발 전청이나 수도전력청 또는 지방 전력청에서 매입하거나 취득한 전력량에 따라 관리 공장 또는 관리 건축물에 부과한다.
국가에너지정책위원회의 승인 을 통하여 기금위원회가 전기 사용 특별수수료율을 정하도록 한다. 첫 번째 단락에 따른 전기 사 용 특별수수료율을 정하는 경우 에는 관리 공장이나 관리 건축 물이 태국발전청이나 수도전력 청 또는 지방전력청에 납부하는 수수료와 해당 전력량을 생산하 고 관리 공장 또는 관리 건축물 에 공급하는 것을 포함하는 원 가 사이의 격차를 고려하도록 한다. 두 번째 단락에 따른 원가는 전력 사업 운영에서의 전력 생 산시스템 및 공급시스템과 발전 용 연료 공급 비용, 유지·보수 비용, 운용 비용, 전력시스템 손 실 및 기타 비용을 말하며, 태 국발전청이나 수도전력청 또는 지방전력청의 직접적인 의무에 는 속하지 아니하는, 전력 생산 및 공급으로 인하여 야기되는 환경이나 국민에 대한 영향을 포함하여 말하도록 한다.
제24조에 따라 전기 사용 특별 수수료 부과를 실시하여야 하는 사안이 있는 때에는 국장이 전 기 사용 특별수수료를 납부하여 야 하는 관리 공장주 또는 관리 건축물 소유주에게 서면으로 통 지하도록 하며, 전기 사용 특별 수수료 납부 부담은 국장의 통 지를 받은 날의 익월 1일에 효 력을 개시하도록 한다. 태국발전청이나 수도전력청 또 는 지방전력청은 해당 기관에서 전기를 매입 또는 취득한 관리 공장 또는 관리 건축물로부터 전기 사용 특별수수료 징수와 함께 매월 전기료 징수를 담당 하도록 하고, 전기 사용 특수수 수료를 징수한 날부터 30일 이 내에 기금으로 송금하도록 한 다.
관리 공장 또는 관리 건축물이 이 장에 따라 전기 사용 특별수 수료를 납부하여야 하는 동안에 는 기금위원회가 합당하다고 판 단하는 바에 따라 해당 관리 공 장 또는 관리 건축물에 대한 장 려 및 지원 신청 권리에 대한 임시 중단 또는 해당 관리 공장 이나 관리 건축물이 이미 장려 나 지원을 받고 있는 경우에는 장려나 지원 제공 임시 중단 또 는 축소를 검토하도록 한다.
전기 사용 특별수수료를 납부 하여야 하는 관리 공장 또는 관 리 건축물이 제9조제(1)항 또는 제21조제(1)항에 따라 제정되 는 부령에 따른 이행을 완료한 때에는 국장에게 신고하도록 한 다. 국장은 해당 관리 공장 또는 관리 건축물이 제9조제(1)항 또 는 제21조제(1)항에 따라 제정 되는 부령에 따른 이행 여부에 대한 신고를 접수한 날부터 30 일 이내에 검증을 완료하도록 한다. 해당 부령에 따른 이행이 있는 경우에는 국장이 전기 사 용 특별수수료 부과 종료 명령 을 하도록 하고, 관리 공장 또 는 관리 건축물에 통지서를 전 달하도록 한다. 두 번째 단락에 따른 전기 사 용 특별수수료 부과 종료 명령 은 익월 1일부터 효력을 발생하 도록 한다.
이 법률에 따른 집행을 위하여 담당관에게 다음 각 항의 권한 을 부여한다.
제47조제(2)항에 따른 담당관 의 직무 수행에서, 관리 공장주 또는 관리 건축물 소유주와 아 울러 관계인 또는 현장에 있는 사람은 합당한 바에 따라 편의 를 제공하도록 한다.
제47조제(3)항에 따른 에너지 처리와 기계 또는 장비의 에너 지 사용 및 에너지 절약을 위한 자재 또는 장비에 대한 조사 및 인증이 필요한 경우, 국장은 개 인 또는 법인이 담당관을 대신 하여 실시하도록 허가할 수 있 다. 첫 번째 단락에 따른 개인 또 는 법인의 자격이나 면허 신청, 허가 및 면허 갱신은 부령에서 정하는 원칙과 절차 및 조건을 따르도록 한다.
제47조제(3)항에 따른 검사 및 인증 결과를 허위 또는 사실 과 다르게 보고하였으며, 법원 이 이 법 제56조에 따라 처벌하 도록 최종 판결을 한 제48조의 1에 따른 면허 취득자에 대해서 는 국장이 면허 취소 명령을 하 도록 한다.
제48조의1에 따른 면허 취득 자가 이 법 제56조에 따른 위법 행위를 하였다고 법원에 피소되 는 경우에는 국장이 최종 판결 이 있을 때까지 면허 사용을 중 지하도록 명령할 수 있는 권한 을 가지도록 한다. 면허 사용 중지 명령을 받은 면허 취득자에 대해서는 해당 면허에 따른 사업 운영을 금지 한다.
면허 사용이 중지된 면허 취득 자는 명령을 인지한 날부터 30 일 이내에 장관에게 이의를 제 기할 권리가 있다. 장관의 명령은 최종적인 것이 되도록 한다. 첫 번째 단락에 따른 장관의 명령에 대한 이의 제기는 면허 사용 중지 명령에 따른 집행을 유예하는 사유가 되지 아니한 다.
담당관은 직무 집행 시 관계자 에게 신분증을 제시하여야 한 다. 담당관의 신분증은 부령에서 정하는 양식을 따르도록 한다.
제8조 세 번째 단락에 따른 결 과 통지서에 동의하지 아니하는 해당 결과 통지서 대상자는 통 지를 받은 날부터 30일 이내에 장관에게 이의를 제기하도록 한 다. 이와 같은 경우, 에너지 개발 및 장려국은 장관이 결정하고 결정이 신청자에게 통보될 때까 지는 집행을 보류하도록 한다.
제44조 첫 번째 단락에 따른 통지서에 동의하지 아니하는 해 당 통지서 수령자는 통지서를 받은 날부터 30일 이내에 장관 에게 이의를 제기하도록 한다. 이의 제기는 장관이 법률에 따 라 집행을 유예하는 것이 타당 하다고 판단하는 것을 제외하고 해당 법률에 따른 집행을 유예 하는 사유가 되지 아니한다.
장관은 제50조와 제51조에 따 라 제기된 이의를 신속히 검토 하도록 한다. 장관의 결정은 최종적인 것이 되도록 한다.
제8조 세 번째 단락에 따른 상 세 사항 또는 이유를 허위로 신 고하는 관리 공장주는 3개월 이 하의 금고형 또는 10만바트 이 하의 벌금형에 처하거나, 금고 형과 벌금형을 병과한다.
제21조에 의거하여 준용되는 제10조에 따른 국장의 명령을 준수하지 아니하는 관리 공장주 또는 제10조에 따른 국장의 명 령을 준수하지 아니하는 관리 건축물 소유주는 5만바트 이하 의 벌금형에 처한다.
제9조 또는 제21조에 따라 제 정되는 부령을 준수하지 아니하 는 관리 공장주나 관리 건축물 소유주 또는 에너지 부문 책임 자는 20만바트 이하의 벌금형에 처한다.
제47조제(3)항에 따른 검사 및 인증 결과를 허위 또는 사실 과 다르게 보고하는 제18조의1 에 따른 에너지 처리와 기계 또 는 장비의 에너지 사용 및 에너 지 절약을 위한 자재 또는 장비 품질 검사 및 인증 면허 취득자 는 3개월 이하의 금고형 또는 20만바트 이하의 벌금형에 처하 거나, 금고형과 벌금형을 병과 한다.
제35조나 제36조 또는 제37조 에 따라 기금에 송금하지 아니 하거나, 송금하여야 하는 금액 에 미치지 아니하는 금액을 송 금하는 사람은 3개월부터 2년까 지의 금고형 또는 10만바트부터 1,000만바트 이하의 벌금형에 처하거나, 금고형과 벌금형을 병과한다.
제47조제(2)항에 따라 직무를 수행하는 담당관을 방해하거나 편의를 제공하지 아니하는 사람 은 5천바트 이하의 벌금형에 처 한다.
위법 행위자가 법인인 경우, 그러한 법인의 위법 행위가 임 원 또는 경영자나 그 법인의 업 무 집행 관련 책임자의 명령으 로 인하여 발생하였거나, 해당 자가 명령 또는 행위를 하여야 하거나 명령 또는 행위를 하여 야 할 책임이 있으며 명령 또는 행위를 하지 아니하여 해당 법 인의 위법 행위의 원인이 되었 다면, 해당자는 그러한 위법 행 위에 대하여 규정한 바에 따라 처벌되어야 한다.
이 법에 따른 모든 위법 행위 는 전문가인 국가 공무원 중에 서 장관이 임명하는 사건조정위 원회가 조정할 수 있는 권한을 가지도록 하며, 위법 행위자가 사건조정위원회가 정한 기한 내 에 조정한 금액에 따라 벌금 납 부를 완료한 때에는 「형사소송 법전」에 따라 사건이 종결된 것으로 보도록 한다. 조사 중 조사관이 이 법에 따 른 위법 행위를 한 사람을 적발 하였으며 해당자가 조정에 동의 한다면, 조사관은 해당자가 조 정에 동의를 표한 날부터 7일 이내에 첫 번째 단락에 따른 사 건조정위원회에 사건을 회부하 도록 한다.
부서 아난 빤야라춘 총리