로고

「1992년 증권 및 증권거래소법」 (제89조의1-제89조의32)

• 국가·지역: 태국 • 제 정 일: 1992년 3월 12일 • 최종개정일: 2019년 4월 15일

หมวด ๓/๑ การบริหารกิจการของบริษัทที่ ออกหลักทรัพย์

มาตรา ๘๙/๑

ในหมวดนี้ “บริษัท” หมายความว่า

(๑) บริษัทมหาชนจ ากัดที่ได้รับอนุญาตให้เสนอ ขายหุ้นต่อประชาชน เว้นแต่บริษัทมหาชนจ ากัด ที่มีลักษณะตามที่คณะกรรมการก ากับตลาดทุน ประกาศก าหนด

(๒) บริษัทมหาชนจ ากัดที่มีหุ้นเป็นหลักทรัพย์จด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์หรือหลักทรัพย์ซื้อ ขายในศูนย์ซื้อขายหลักทรัพย์ “บริษัทย่อย” หมายความว่า

(๑) บริษัทจ ากัดหรือบริษัทมหาชนจ ากัดที่ บริษัทมีอ านาจควบคุมกิจการ

(๒) บริษัทจ ากัดหรือบริษัทมหาชนจ ากัดที่ บริษัทย่อยตาม (๑) มีอ านาจควบคุมกิจการ

(๓) บริษัทจ ากัดหรือบริษัทมหาชนจ ากัดที่อยู่ ภายใต้อ านาจควบคุมกิจการต่อเป็นทอด ๆ โดย เริ่มจากการอยู่ภายใต้อ านาจควบคุมกิจการของ บริษัทย่อยตาม (๒) “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการ ของบริษัท “กรรมการ” หมายความว่า กรรมการของบริษัท “ผู้บริหาร” หมายความว่า ผู้จัดการหรือบุคคลซึ่ง รับผิดชอบในการบริหารงานของบริษัทไม่ว่าโดย พฤติการณ์หรือโดยได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการ ทั้งนี้ ตามที่คณะกรรมการก ากับ ตลาดทุนประกาศก าหนด “บุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง” หมายความว่า บุคคลที่มีความสัมพันธ์ในลักษณะใดลักษณะ หนึ่งดังต่อไปนี้

(๑) บุคคลที่มีอ านาจควบคุมกิจการบริษัท และ ในกรณีที่บุคคลนั้นเป็นนิติบุคคล ให้หมายความ รวมถึงกรรมการของนิติบุคคลนั้นด้วย

(๒) คู่สมรส บุตรหรือบุตรบุญธรรมที่ยังไม่บรรลุ นิติภาวะของกรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคลตาม (๑)

(๓) นิติบุคคลที่บุคคลตาม (๑) หรือ (๒) มี อ านาจควบคุมกิจการ

(๔) บุคคลอื่นที่มีลักษณะตามที่คณะกรรมการ ก ากับตลาดทุนประกาศก าหนด เมื่อบุคคลใดกระท าการด้วยความเข้าใจหรือ ความตกลงว่า หากบริษัทท าธุรกรรมที่ให้ ประโยชน์ทางการเงินแก่บุคคลดังกล่าว กรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคลตาม (๑) หรือ (๒) จะได้รับ ประโยชน์ทางการเงินด้วย ให้ถือว่าบุคคลดังกล่าว เป็นบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องส าหรับการท า ธุรกรรมนั้น “อ านาจควบคุมกิจการ” หมายความว่า

(๑) การถือหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงในนิติบุคคลหนึ่ง เกินกว่าร้อยละห้าสิบของจ านวนสิทธิออกเสียง ทั้งหมดของนิติบุคคลนั้น

(๒) การมีอ านาจควบคุมคะแนนเสียงส่วนใหญ่ ในที่ประชุมผู้ถือหุ้นของนิติบุคคลหนึ่ง ไม่ว่า โดยตรงหรือโดยอ้อม หรือไม่ว่าเพราะเหตุอื่นใด

(๓) การมีอ านาจควบคุมการแต่งตั้งหรือถอด ถอนกรรมการตั้งแต่กึ่งหนึ่งของกรรมการทั้งหมด ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม

มาตรา ๘๙/๒

ห้ามมิให้บริษัทหลักทรัพย์หรือบริษัทกระท าการ ใดอันเป็นการปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรมต่อ พนักงาน ลูกจ้าง หรือบุคคลอื่นใดที่รับจ้างท างาน ให้แก่บริษัทหลักทรัพย์หรือบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ ไม่ว่าจะโดยการเปลี่ยนแปลงต าแหน่งงาน ลักษณะงาน หรือสถานที่ท างาน สั่งพักงาน ข่มขู่ รบกวนการปฏิบัติงาน เลิกจ้าง หรือกระท าการอื่น ใดที่มีลักษณะเป็นการปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรมต่อ บุคคลดังกล่าว ด้วยเหตุที่บุคคลนั้น

(๑) ให้ข้อมูล ให้ความร่วมมือ หรือให้ความ ช่วยเหลือไม่ว่าด้วยประการใด ๆ แก่ คณะกรรมการ ก.ล.ต. คณะกรรมการก ากับ ตลาดทุน หรือส านักงาน อันเกี่ยวข้องกับกรณีที่ พนักงาน ลูกจ้างหรือบุคคลอื่นใดนั้นเชื่อหรือมี เหตุอันควรเชื่อโดยสุจริตว่ามีการฝ่ าฝืนหรือไม่ ปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้

(๒) ให้ถ้อยค า ยื่นเอกสารหลักฐาน หรือให้ความ ช่วยเหลือไม่ว่าด้วยประการใด ๆ แก่ คณะกรรมการ ก.ล.ต. คณะกรรมการก ากับ ตลาดทุน หรือส านักงาน เพื่อประโยชน์ในการ พิจารณาหรือตรวจสอบกรณีที่มีเหตุสงสัยว่ามี การฝ่ าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ไม่ ว่าจะกระท าไปโดยที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. คณะกรรมการก ากับตลาดทุน หรือส านักงานมี ค าสั่งให้ปฏิบัติหรือไม่

ส่วนที่ ๑ กรรมการและผู้บริหาร

มาตรา ๘๙/๓

กรรมการต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะ ต้องห้ามตามที่ก าหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วย บริษัทมหาชนจ ากัด รวมทั้งต้องไม่มีลักษณะที่ แสดงถึงการขาดความเหมาะสมที่จะได้รับความ ไว้วางใจให้บริหารจัดการกิจการที่มีมหาชนเป็นผู้ ถือหุ้นตามที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศ ก าหนด

มาตรา ๘๙/๔

นอกจากการพ้นจากต าแหน่งของกรรมการด้วย เหตุตามที่ก าหนดในกฎหมายว่าด้วยบริษัท มหาชนจ ากัดแล้ว กรรมการย่อมพ้นจากต าแหน่ง เมื่อมีลักษณะที่แสดงถึงการขาดความเหมาะสมที่ จะได้รับความไว้วางใจให้บริหารจัดการกิจการที่มี มหาชนเป็นผู้ถือหุ้นตามที่ก าหนดในมาตรา ๘๙/๓ และจะด ารงต าแหน่งกรรมการในบริษัทต่อไปมิได้

มาตรา ๘๙/๕

บรรดากิจการของบริษัทที่คณะกรรมการ กรรมการ หรือบุคคลซึ่งได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการได้กระท าไปในนามของบริษัท ย่อม มีผลสมบูรณ์และผูกพันบริษัท แม้จะปรากฏใน ภายหลังว่ากรรมการขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะ ต้องห้ามหรือขาดความเหมาะสมตามมาตรา ๘๙/ ๓

มาตรา ๘๙/๖

ผู้บริหารต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะ ต้องห้ามที่แสดงถึงการขาดความเหมาะสมที่จะ ได้รับความไว้วางใจให้บริหารจัดการกิจการที่มี มหาชนเป็นผู้ถือหุ้นตามที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศก าหนด ผู้บริหารคนใดขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะ ต้องห้ามตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้บริหารคนนั้นพ้นจาก ต าแหน่ง และจะด ารงต าแหน่งผู้บริหารในบริษัท ต่อไปมิได้

ส่วนที่ ๒ หน้าที่และความรับผิดชอบของ กรรมการและผู้บริหาร

มาตรา ๘๙/๗

ในการด าเนินกิจการของบริษัท กรรมการและ ผู้บริหารต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ความระมัดระวัง และความซื่อสัตย์สุจริต รวมทั้ง ต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษัท และมติคณะกรรมการ ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น

มาตรา ๘๙/๘

ในการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบและ ความระมัดระวัง กรรมการและผู้บริหารต้อง กระท าเยี่ยงวิญญูชนผู้ประกอบธุรกิจเช่นนั้นจะพึง กระท าภายใต้สถานการณ์อย่างเดียวกัน การใดที่กรรมการหรือผู้บริหารพิสูจน์ได้ว่า ณ เวลาที่พิจารณาเรื่องดังกล่าว การตัดสินใจของตน มีลักษณะครบถ้วนดังต่อไปนี้ ให้ถือว่ากรรมการ หรือผู้บริหารผู้นั้นได้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความ รับผิดชอบและความระมัดระวังตามวรรคหนึ่งแล้ว

(๑) การตัดสินใจได้กระท าไปด้วยความเชื่อโดย สุจริตและสมเหตุสมผลว่าเป็นไปเพื่อประโยชน์ สูงสุดของบริษัทเป็นส าคัญ

(๒) การตัดสินใจได้กระท าบนพื้นฐานข้อมูลที่ เชื่อโดยสุจริตว่าเพียงพอ และ

(๓) การตัดสินใจได้กระท าไปโดยตนไม่มีส่วนได้ เสีย ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อมในเรื่องที่ตัดสินใจ นั้น

มาตรา ๘๙/๙

ในการพิจารณาว่ากรรมการหรือผู้บริหารแต่ละ คนได้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบและความ ระมัดระวังหรือไม่ ให้ค านึงถึงปัจจัยดังต่อไปนี้ ด้วย

(๑) ต าแหน่งในบริษัทที่บุคคลดังกล่าวด ารงอยู่ ณ เวลานั้น

(๒) ขอบเขตความรับผิดชอบของต าแหน่งใน บริษัทของบุคคลดังกล่าวตามที่ก าหนดโดย กฎหมายหรือตามที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการ และ

(๓) คุณสมบัติ ความรู้ ความสามารถ และ ประสบการณ์ รวมทั้งวัตถุประสงค์ของการ แต่งตั้ง

มาตรา ๘๙/๑๐

ในการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต กรรมการและผู้บริหารต้อง

(๑) กระท าการโดยสุจริตเพื่อประโยชน์สูงสุดของ บริษัทเป็นส าคัญ

(๒) กระท าการที่มีจุดมุ่งหมายโดยชอบและ เหมาะสม และ

(๓) ไม่กระท าการใดอันเป็นการขัดหรือแย้งกับ ประโยชน์ของบริษัทอย่างมีนัยส าคัญ

มาตรา ๘๙/๑๑

การกระท าดังต่อไปนี้ ซึ่งเป็นผลให้กรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง ได้รับ ประโยชน์ทางการเงินอื่นนอกเหนือจากที่พึงได้ ตามปกติ หรือเป็นเหตุให้บริษัทได้รับความ เสียหาย ให้สันนิษฐานว่าเป็นการกระท าที่ขัดหรือ แย้งกับประโยชน์ของบริษัทอย่างมีนัยส าคัญ

(๑) การท าธุรกรรมระหว่างบริษัทหรือบริษัทย่อย กับกรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคลที่มีความ เกี่ยวข้อง โดยไม่เป็นไปตามมาตรา ๘๙/๑๒ หรือ มาตรา ๘๙/๑๓

(๒) การใช้ข้อมูลของบริษัทที่ล่วงรู้มา เว้นแต่เป็น ข้อมูลที่เปิดเผยต่อสาธารณชนแล้ว หรือ

(๓) การใช้ทรัพย์สินหรือโอกาสทางธุรกิจของ บริษัทในลักษณะที่เป็นการฝ่ าฝืนหลักเกณฑ์หรือ หลักปฏิบัติทั่วไปตามที่คณะกรรมการก ากับ ตลาดทุนประกาศก าหนด

มาตรา ๘๙/๑๒

กรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคลที่มีความ เกี่ยวข้องจะกระท าธุรกรรมกับบริษัทหรือบริษัท ย่อยได้ต่อเมื่อธุรกรรมดังกล่าวได้รับอนุมัติจากที่ ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทแล้ว เว้นแต่ธุรกรรม ดังกล่าวจะเข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังต่อไปนี้

(๑) ธุรกรรมที่เป็นข้อตกลงทางการค้าในลักษณะ เดียวกับที่วิญญูชนจะพึงกระท ากับคู่สัญญา ทั่วไปในสถานการณ์เดียวกัน ด้วยอ านาจต่อรอง ทางการค้าที่ปราศจากอิทธิพลในการที่ตนมี สถานะเป็นกรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคลที่มี ความเกี่ยวข้อง แล้วแต่กรณี และเป็นข้อตกลง ทางการค้าที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการหรือ เป็นไปตามหลักการที่คณะกรรมการอนุมัติไว้ แล้ว

(๒) การให้กู้ยืมเงินตามระเบียบสงเคราะห์ พนักงานและลูกจ้าง

(๓) ธุรกรรมที่คู่สัญญาอีกฝ่ ายหนึ่งของบริษัท หรือคู่สัญญาทั้งสองฝ่ ายมีสถานะเป็น

(ก) บริษัทย่อยที่บริษัทเป็นผู้ถือหุ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละเก้าสิบของหุ้นที่จ าหน่ายได้แล้ว ทั้งหมดของบริษัทย่อย หรือ (ข) บริษัทย่อยที่กรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคลที่ มีความเกี่ยวข้องถือหุ้นหรือมีส่วนได้เสียอยู่ ด้วย ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม ไม่เกิน จ านวน อัตรา หรือมีลักษณะตามที่ คณะกรรมการก ากับตลาดทุนประกาศ ก าหนด

(๔) ธุรกรรมในประเภทหรือที่มีมูลค่าไม่เกิน จ านวนหรืออัตราที่คณะกรรมการก ากับตลาดทุน ประกาศก าหนด

ในการประกาศก าหนดตาม (๓) (ข) หรือ (๔) คณะกรรมการก ากับตลาดทุนอาจก าหนดให้ ธุรกรรมที่ก าหนดต้องได้รับอนุมัติจาก คณะกรรมการด้วยก็ได้ มิให้น าความในมาตรา ๘๗ แห่ง พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ ากัด พ.ศ. ๒๕๓๕ มาใช้บังคับกับการท าธุรกรรมระหว่างกรรมการ กับบริษัทหรือบริษัทย่อย

มาตรา ๘๙/๑๓

ในกรณีมีเหตุสมควร โดยพิจารณาจากผลของ ธุรกรรมที่มีนัยส าคัญต่อบริษัทหรือความสัมพันธ์ ของธุรกรรมกับธุรกิจปกติของบริษัท ให้ คณะกรรมการก ากับตลาดทุนมีอ านาจประกาศ ก าหนดหลักเกณฑ์ในเรื่องดังต่อไปนี้ เพื่อใช้บังคับ กับการท าธุรกรรมระหว่างบริษัทหรือบริษัทย่อย กับกรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคลที่มีความ เกี่ยวข้องได้

(๑) การเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวกับการท าธุรกรรม ดังกล่าวต่อผู้ลงทุนเป็นการทั่วไป หรือในหนังสือ นัดประชุมคณะกรรมการหรือหนังสือนัดประชุม ผู้ถือหุ้น

(๒) จ านวนคะแนนเสียงของที่ประชุมผู้ถือหุ้นใน การลงมติอนุมัติการท าธุรกรรมดังกล่าว

(๓) หลักเกณฑ์ในการประชุมผู้ถือหุ้น ซึ่งรวมถึง การจัดให้มีบัตรออกเสียงลงคะแนนของผู้ถือหุ้น การจัดให้มีผู้ตรวจการการประชุม หรือการ พิจารณาส่วนได้เสียเป็นพิเศษของผู้ถือหุ้นซึ่งไม่ มีสิทธิออกเสียง

มาตรา ๘๙/๑๔

กรรมการและผู้บริหารต้องรายงานให้บริษัท ทราบถึงการมีส่วนได้เสียของตนหรือของบุคคลที่ มีความเกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องกับ การบริหารจัดการกิจการของบริษัทหรือบริษัท ย่อย ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการที่ คณะกรรมการก ากับตลาดทุนประกาศก าหนด

มาตรา ๘๙/๑๕

คณะกรรมการต้องจัดให้มีเลขานุการบริษัท รับผิดชอบด าเนินการดังต่อไปนี้ในนามของบริษัท หรือคณะกรรมการ

(๑) จัดท าและเก็บรักษาเอกสารดังต่อไปนี้

(ก) ทะเบียนกรรมการ (ข) หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงาน การประชุมคณะกรรมการ และรายงาน ประจ าปีของบริษัท (ค) หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น และรายงานการ ประชุมผู้ถือหุ้น

(๒) เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงาน โดยกรรมการหรือผู้บริหาร

(๓) ด าเนินการอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการก ากับ ตลาดทุนประกาศก าหนด

ในกรณีที่เลขานุการบริษัทพ้นจากต าแหน่ง หรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ให้คณะกรรมการ แต่งตั้งเลขานุการบริษัทคนใหม่ภายในเก้าสิบวัน นับแต่วันที่เลขานุการบริษัทคนเดิมพ้นจาก ต าแหน่งหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ และให้ คณะกรรมการมีอ านาจมอบหมายให้กรรมการคน ใดคนหนึ่งปฏิบัติหน้าที่แทนในช่วงเวลาดังกล่าว ให้ประธานกรรมการแจ้งชื่อเลขานุการบริษัทต่อ ส านักงานภายในสิบสี่วันนับแต่วันที่จัดให้มี ผู้รับผิดชอบในต าแหน่งดังกล่าว และให้แจ้งให้ ส านักงานทราบถึงสถานที่เก็บเอกสารตามวรรค หนึ่ง (๑) และ (๒) ด้วย

มาตรา ๘๙/๑๖

ให้เลขานุการบริษัทจัดส่งส าเนารายงานการมี ส่วนได้เสียตามมาตรา ๘๙/๑๔ ให้ประธาน กรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบทราบ ภายในเจ็ดวันท าการนับแต่วันที่บริษัทได้รับ รายงานนั้น

มาตรา ๘๙/๑๗

บริษัทต้องจัดให้มีระบบการเก็บรักษาเอกสาร และหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการแสดงข้อมูลตาม มาตรา ๘๙/๒๐ รวมทั้งดูแลให้มีการเก็บรักษา เอกสารหรือหลักฐานดังกล่าวให้ถูกต้องครบถ้วน และสามารถตรวจสอบได้ภายในระยะเวลาไม่ น้อยกว่าห้าปีนับแต่วันที่มีการจัดท าเอกสารหรือ ข้อมูลดังกล่าว การเก็บรักษาเอกสารและหลักฐานตามวรรค หนึ่ง ให้หมายความรวมถึงการเก็บรักษาด้วย ระบบคอมพิวเตอร์หรือระบบอื่นใดที่สามารถ เรียกดูได้โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงข้อความ

มาตรา ๘๙/๑๘

นอกจากการด าเนินการกับกรรมการตามมาตรา ๘๕ และมาตรา ๘๖ แห่งพระราชบัญญัติบริษัท มหาชนจ ากัด พ.ศ. ๒๕๓๕ แล้ว ในกรณีที่ กรรมการกระท าการหรือละเว้นกระท าการใดอัน เป็นการไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา ๘๙/๗ จนเป็น เหตุให้กรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคลที่มีความ เกี่ยวข้องได้ประโยชน์ไปโดยมิชอบ บริษัทอาจ ฟ้องเรียกให้กรรมการรับผิดชอบในการส่งคืน ประโยชน์ดังกล่าวให้แก่บริษัทได้ ในกรณีผู้ถือหุ้นคนหนึ่งหรือหลายคนซึ่งถือหุ้น และมีสิทธิออกเสียงนับรวมกันได้ไม่น้อยกว่าร้อย ละห้าของจ านวนสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัท ได้แจ้งเป็นหนังสือให้บริษัทด าเนินการตามวรรค หนึ่งแล้ว และบริษัทไม่ด าเนินการตามที่ผู้ถือหุ้น แจ้งภายในหนึ่งเดือนนับแต่วันที่แจ้ง ผู้ถือหุ้น ดังกล่าวสามารถใช้สิทธิฟ้องเรียกคืนประโยชน์ ตามวรรคหนึ่งแทนบริษัทได้ ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นใช้สิทธิด าเนินการกับกรรมการ ตามมาตรานี้แทนบริษัท หากศาลเห็นว่าการใช้ สิทธิของผู้ถือหุ้นเป็นไปโดยสุจริต ให้ศาลมีอ านาจ ก าหนดให้บริษัทชดใช้ค่าใช้จ่ายตามจ านวนที่ เห็นสมควรซึ่งเกิดขึ้นจริงให้แก่ผู้ถือหุ้นที่ใช้สิทธิ ดังกล่าว และเพื่อประโยชน์ในการก าหนด ค่าใช้จ่ายดังกล่าว ให้ศาลมีอ านาจเรียกให้บริษัท เข้ามาเป็นคู่ความในคดีด้วย

มาตรา ๘๙/๑๙

ให้น าความในมาตรา ๘๙/๑๘ มาใช้บังคับกับ การฟ้องเรียกให้ผู้บริหารกระท าการหรือละเว้น กระท าการใดอันเป็นการไม่ปฏิบัติหน้าที่ตาม มาตรา ๘๙/๗ รับผิดชอบในการส่งคืนประโยชน์ที่ ตนหรือกรรมการหรือบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องได้ ไปโดยมิชอบ โดยอนุโลม

มาตรา ๘๙/๒๐

กรรมการและผู้บริหารต้องร่วมกันรับผิดต่อ บุคคลที่ซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทในความ เสียหายใด ๆ อันเกิดขึ้นเนื่องจากการเปิดเผย ข้อมูลต่อผู้ถือหุ้นหรือประชาชนทั่วไปโดยแสดง ข้อความที่เป็นเท็จในสาระส าคัญหรือปกปิด ข้อความจริงที่ควรบอกให้แจ้งในสาระส าคัญใน กรณีดังต่อไปนี้ เว้นแต่กรรมการหรือผู้บริหาร ดังกล่าวจะพิสูจน์ได้ว่าโดยต าแหน่งหน้าที่ตนไม่ อาจล่วงรู้ถึงความแท้จริงของข้อมูลหรือการขาด ข้อมูลที่ควรต้องแจ้งนั้น

(๑) การให้ข้อมูลประกอบการขอมติที่ประชุมผู้ ถือหุ้น

(๒) งบการเงินและรายงานเกี่ยวกับฐานะการเงิน และผลการด าเนินงานของบริษัทหรือรายงานอื่น ใดที่ต้องเปิดเผยตามมาตรา ๕๖ มาตรา ๕๗ มาตรา ๕๘ หรือมาตรา ๑๙๙

(๓) ความเห็นของกิจการเมื่อมีผู้ท าค าเสนอซื้อ หุ้นของบริษัทจากผู้ถือหุ้นเป็นการทั่วไป

(๔) การให้ข้อมูลหรือรายงานอื่นใดเกี่ยวกับ กิจการที่บริษัทจัดท าขึ้นเพื่อเผยแพร่ต่อผู้ถือหุ้น หรือประชาชนเป็นการทั่วไป ตามที

คณะกรรมการก ากับตลาดทุนประกาศก าหนด ในการฟ้องเรียกค่าเสียหายตามวรรคหนึ่ง ห้าม มิให้ฟ้องคดีเมื่อพ้นก าหนดสองปีนับแต่วันที่ ผู้เสียหายรู้ถึงการเปิดเผยข้อมูลอันเป็นเท็จหรือ ปกปิดข้อความจริงตามวรรคหนึ่งหรือเมื่อพ้น ก าหนดห้าปีนับแต่วันที่ได้มีการกระท านั้น

มาตรา ๘๙/๒๑

กรรมการหรือผู้บริหารที่กระท าการหรือละเว้น กระท าการโดยทุจริตหรือประมาทเลินเล่ออย่าง ร้ายแรง จนเป็นเหตุให้บริษัทเสียหายหรือเสีย ประโยชน์ที่ควรได้ จะยกเหตุที่ได้รับอนุมัติหรือให้ สัตยาบันโดยที่ประชุมผู้ถือหุ้นหรือคณะกรรมการ มาท าให้ตนหลุดพ้นจากความรับผิดมิได้ การกระท าการหรือละเว้นกระท าการตามวรรค หนึ่ง ให้รวมถึงกรณีดังต่อไปนี้ด้วย

(๑) การขอมติคณะกรรมการหรือที่ประชุมผู้ถือ หุ้นโดยแสดงข้อความที่เป็นเท็จในสาระส าคัญ หรือปกปิดข้อความจริงที่ควรบอกให้แจ้งใน สาระส าคัญ

(๒) กรณีที่เกี่ยวข้องกับการเบียดบังเอาทรัพย์สิน หรือประโยชน์ของบริษัท

(๓) กรณีที่เกี่ยวข้องกับการแสวงหาประโยชน์ จากทรัพย์สินของบริษัท

มาตรา ๘๙/๒๒

ให้น าบทบัญญัติในส่วนที่เกี่ยวกับหน้าที่และ ความรับผิดชอบของกรรมการและผู้บริหารตาม มาตรา ๘๙/๗ ถึงมาตรา ๘๙/๒๑ รวมทั้งบท ก าหนดโทษที่เกี่ยวข้องมาใช้บังคับกับบุคคล ดังต่อไปนี้ โดยอนุโลม

(๑) ผู้บริหารชั่วคราว ผู้ท าแผน ผู้บริหารแผน และผู้บริหารแผนชั่วคราวตามกฎหมายว่าด้วย ล้มละลาย และในกรณีที่ผู้บริหารชั่วคราว ผู้ท า แผน ผู้บริหารแผน หรือผู้บริหารแผนชั่วคราวเป็น นิติบุคคล ให้หมายความรวมถึงกรรมการและ ผู้บริหารที่เกี่ยวข้องของนิติบุคคลนั้นด้วย

(๒) ผู้ช าระบัญชี

มาตรา ๘๙/๒๓

เลขานุการบริษัทต้องปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา ๘๙/๑๕ ด้วยความรับผิดชอบ ความระมัดระวัง และความซื่อสัตย์สุจริต รวมทั้งต้องปฏิบัติให้ เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของ บริษัท มติคณะกรรมการ ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ ถือหุ้น และให้น าความในมาตรา ๘๙/๘ วรรคสอง มาตรา ๘๙/๑๐ มาตรา ๘๙/๑๑ (๒) และ (๓) และมาตรา ๘๙/๑๘ มาใช้บังคับ โดยอนุโลม

มาตรา ๘๙/๒๔

ในการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการของบริษัทย่อย และผู้บริหารของบริษัทย่อยให้น าความในมาตรา ๘๙/๗ มาตรา ๘๙/๘ มาตรา ๘๙/๙ และมาตรา ๘๙/๑๐ รวมทั้งบทก าหนดโทษที่เกี่ยวข้องมาใช้ บังคับ โดยอนุโลม ให้น าความในวรรคหนึ่งมาใช้บังคับกับบุคคล ตามมาตรา ๘๙/๒๒ (๑) และ (๒) ของบริษัทย่อย โดยอนุโลม

มาตรา ๘๙/๒๕

ในการสอบบัญชีของบริษัทหลักทรัพย์หรือ บริษัทตามมาตรฐานการสอบบัญชี ไม่ว่าจะ กระท าในฐานะเป็นผู้สอบบัญชีของนิติบุคคล ดังกล่าว หรือในฐานะอื่นซึ่งนิติบุคคลดังกล่าว ยินยอมให้สอบบัญชีก็ตาม ถ้าผู้สอบบัญชีพบ พฤติการณ์อันควรสงสัยว่ากรรมการ ผู้จัดการหรือ บุคคลซึ่งรับผิดชอบในการด าเนินงานของนิติ บุคคลดังกล่าวได้กระท าความผิดตามมาตรา ๒๘๑/๒ วรรคสอง มาตรา ๓๐๕ มาตรา ๓๐๖ มาตรา ๓๐๘ มาตรา ๓๐๙ มาตรา ๓๑๐ มาตรา ๓๑๑ มาตรา ๓๑๒ หรือมาตรา ๓๑๓ ให้ผู้สอบ บัญชีแจ้งข้อเท็จจริงเกี่ยวกับพฤติการณ์ดังกล่าว ให้คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทหลักทรัพย์ หรือบริษัทนั้นทราบ เพื่อด าเนินการตรวจสอบ ต่อไปโดยไม่ชักช้า และให้คณะกรรมการ ตรวจสอบรายงานผลการตรวจสอบในเบื้องต้น ให้แก่ส านักงานและผู้สอบบัญชีทราบภายใน สามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งจากผู้สอบบัญชี ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบไม่ด าเนินการ ตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้สอบบัญชีแจ้งให้ส านักงาน ทราบ พฤติการณ์อันควรสงสัยที่ต้องแจ้งตามวรรค หนึ่ง และวิธีการเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ พฤติการณ์ดังกล่าว ให้เป็นไปตามที่ คณะกรรมการก ากับตลาดทุนประกาศก าหนด

ส่วนที่ ๓ การประชุมผู้ถอืหุ้น

มาตรา ๘๙/๒๖

ในการประชุมผู้ถือหุ้น บุคคลที่มีสิทธิออกเสียง ลงคะแนนต้องเป็นผู้ถือหุ้นที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนผู้ ถือหุ้น ณ วันที่คณะกรรมการก าหนด และจ านวน หุ้นที่ผู้ถือหุ้นแต่ละรายจะมีสิทธิออกเสียง ลงคะแนนให้เป็นไปตามที่ปรากฏในทะเบียนผู้ถือ หุ้น ณ วันเดียวกันนั้น ทั้งนี้ สิทธิของบุคคล ดังกล่าวย่อมไม่ได้รับผลกระทบ แม้ว่าทะเบียนผู้ ถือหุ้น ณ วันประชุมผู้ถือหุ้นจะมีข้อมูลที่ เปลี่ยนแปลงไปแล้ว วันที่ก าหนดโดยคณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง ต้องเป็นวันที่ล่วงหน้าก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้นไม่ เกินสองเดือน แต่ต้องไม่ก่อนวันที่คณะกรรมการ อนุมัติให้มีการเรียกประชุมผู้ถือหุ้น และเมื่อ คณะกรรมการก าหนดวันเพื่อก าหนดผู้ถือหุ้นที่มี สิทธิเข้าประชุมแล้วจะเปลี่ยนแปลงมิได้

มาตรา ๘๙/๒๗

ให้คณะกรรมการก ากับตลาดทุนมีอ านาจ ประกาศก าหนดประเภทหรือรายละเอียดของ ข้อมูลที่คณะกรรมการต้องแจ้งต่อผู้ถือหุ้นใน หนังสือนัดประชุมและระยะเวลาในการจัดส่ง หนังสือนัดประชุม

มาตรา ๘๙/๒๘

ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งหรือหลายคนซึ่งถือหุ้นและมี สิทธิออกเสียงนับรวมกันได้ไม่น้อยกว่าร้อยละห้า ของจ านวนสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัท จะท า หนังสือเสนอเรื่องที่จะขอให้คณะกรรมการบรรจุ เป็นวาระการประชุมผู้ถือหุ้นซึ่งต้องระบุว่าเป็น เรื่องที่จะเสนอเพื่อทราบ เพื่ออนุมัติหรือเพื่อ พิจารณา แล้วแต่กรณี พร้อมทั้งรายละเอียดของ เรื่องที่เสนอส าหรับการประชุมสามัญประจ าปีหรือ การประชุมวิสามัญก็ได้ โดยต้องปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการก ากับตลาดทุน ประกาศก าหนด ให้คณะกรรมการบรรจุเรื่องที่เสนอโดยผู้ถือหุ้น ตามวรรคหนึ่งเป็นวาระในการประชุมผู้ถือหุ้นที่จะ จัดให้มีขึ้น เว้นแต่ในกรณีดังต่อไปนี้ คณะกรรมการจะปฏิเสธการบรรจุเรื่องดังกล่าว เสนอเป็นวาระในการประชุมผู้ถือหุ้นก็ได้

(๑) เป็นเรื่องที่ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ ก าหนดในวรรคหนึ่ง

(๒) เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการด าเนินธุรกิจปกติของ บริษัท และข้อเท็จจริงที่กล่าวอ้างโดยผู้ถือหุ้น มิได้แสดงถึงเหตุอันควรสงสัยเกี่ยวกับความไม่ ปกติของเรื่องดังกล่าว

(๓) เป็นเรื่องที่อยู่นอกเหนืออ านาจที่บริษัทจะ ด าเนินการให้เกิดผลตามที่ประสงค์

(๔) เป็นเรื่องที่ผู้ถือหุ้นได้เคยเสนอต่อที่ประชุมผู้ ถือหุ้นเพื่อพิจารณาแล้วในรอบสิบสองเดือนที่ ผ่านมา และเรื่องดังกล่าวได้รับมติสนับสนุนด้วย คะแนนเสียงน้อยกว่าร้อยละสิบของจ านวนสิทธิ ออกเสียงทั้งหมดของบริษัท เว้นแต่ข้อเท็จจริงใน การน าเสนอครั้งใหม่จะได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมี นัยส าคัญจากข้อเท็จจริงในขณะที่น าเสนอต่อที่ ประชุมผู้ถือหุ้นในครั้งก่อน

(๕) กรณีอื่นใดตามที่คณะกรรมการก ากับตลาด ทุนประกาศก าหนด ในกรณีที่คณะกรรมการปฏิเสธการบรรจุเรื่องที่ เสนอโดยผู้ถือหุ้นตามวรรคหนึ่งเป็นวาระในการ ประชุมผู้ถือหุ้นครั้งใด ให้แจ้งกรณีดังกล่าวเป็น เรื่องเพื่อทราบในการประชุมผู้ถือหุ้นในครั้งนั้นโดย ต้องระบุเหตุผลในการปฏิเสธการบรรจุเรื่อง ดังกล่าวไว้ด้วย ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นในการประชุมตามวรรคสามมี มติด้วยคะแนนเสียงข้างมากของจ านวนเสียง ทั้งหมดของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออก เสียง เห็นชอบให้มีการบรรจุเรื่องที่เสนอโดยผู้ถือ หุ้นตามวรรคหนึ่งเป็นวาระการประชุมของผู้ถือหุ้น ให้คณะกรรมการบรรจุเรื่องดังกล่าวเป็นวาระใน การประชุมผู้ถือหุ้นที่บริษัทจะจัดให้มีขึ้นในครั้ง ถัดไป

มาตรา ๘๙/๒๙

การด าเนินการในเรื่องดังต่อไปนี้ หากเป็นกรณีท มีนัยส าคัญต่อบริษัทตามหลักเกณฑ์ที่ คณะกรรมการก ากับตลาดทุนประกาศก าหนด ต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น

(๑) การได้มาหรือจ าหน่ายไปซึ่งทรัพย์สิน ไม่ว่า ทรัพย์สินนั้นจะเป็นทรัพย์สินของบริษัทหรือ บริษัทย่อย

(๒) การโอนหรือสละสิทธิประโยชน์ รวมตลอดถึง การสละสิทธิเรียกร้องที่มีต่อผู้ที่ก่อความเสียหาย แก่บริษัท ไม่ว่าสิทธิประโยชน์นั้นจะเกี่ยวเนื่อง กับทรัพย์สินของบริษัทหรือบริษัทย่อย

(๓) การเข้าท า แก้ไข หรือเลิกสัญญาเกี่ยวกับ การให้เช่าหรือให้เช่าซื้อกิจการหรือทรัพย์สิน ทั้งหมดหรือบางส่วน ไม่ว่ากิจการหรือทรัพย์สิน นั้นจะด าเนินการโดยบริษัทหรือบริษัทย่อย

(๔) การมอบหมายให้บุคคลอื่นเข้าบริหารจัดการ ธุรกิจทั้งหมดหรือบางส่วนไม่ว่าธุรกิจนั้นจะ ด าเนินการโดยบริษัทหรือบริษัทย่อย

(๕) การรวมกิจการกับบุคคลอื่น ซึ่งจะมี ผลกระทบต่อโครงสร้างการบริหารจัดการบริษัท

(๖) การให้กู้ยืมเงิน การให้สินเชื่อ การค ้าประกัน การท านิติกรรมผูกพันบริษัทให้ต้องรับภาระ ทางการเงินเพิ่มขึ้น ในกรณีที่บุคคลภายนอกขาด สภาพคล่องหรือไม่สามารถปฏิบัติการช าระหนี้ ได้ หรือการให้ความช่วยเหลือด้านการเงินใน ลักษณะอื่นใดแก่บุคคลอื่นและมิใช่ธุรกิจปกติ ของบริษัท ไม่ว่าการนั้นจะด าเนินการโดยบริษัท หรือบริษัทย่อย

(๗) การด าเนินการอื่นใดตามที่คณะกรรมการ ก ากับตลาดทุนประกาศก าหนด ให้คณะกรรมการก ากับตลาดทุนมีอ านาจ ประกาศก าหนดหลักเกณฑ์เพิ่มเติมในเรื่อง ดังต่อไปนี้เพื่อใช้บังคับกับการด าเนินการของ บริษัทตามวรรคหนึ่งได้

(๑) การเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุนเป็นการทั่วไปที่ เกี่ยวกับการด าเนินการของบริษัทตามวรรคหนึ่ง หรือข้อมูลในหนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ หรือหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น

(๒) จ านวนคะแนนเสียงของที่ประชุมผู้ถือหุ้นใน การลงมติอนุมัติการท าธุรกรรมดังกล่าว

มาตรา ๘๙/๓๐

ในการประชุมผู้ถือหุ้นครั้งใด ถ้าได้มีการส่ง หนังสือนัดประชุมหรือลงมติโดยไม่ปฏิบัติตาม หรือฝ่ าฝืนบทบัญญัติในหมวดนี้ ผู้ถือหุ้นคนหนึ่ง หรือหลายคนซึ่งมีสิทธิออกเสียงนับรวมกันได้ไม่ น้อยกว่าร้อยละห้าของจ านวนสิทธิออกเสียง ทั้งหมดของบริษัทจะร้องขอให้ศาลสั่งเพิกถอนมติ ในการประชุมครั้งนั้นก็ได้ ทั้งนี้ ให้น าบทบัญญัติ ในส่วนที่เกี่ยวกับการร้องขอให้ศาลสั่งเพิกถอนมติ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นตามกฎหมายว่าด้วยบริษัท มหาชนจ ากัดมาใช้บังคับ โดยอนุโลม

มาตรา ๘๙/๓๑

การชักชวน ชี้น า หรือกระท าด้วยประการใด ๆ ต่อผู้ถือหุ้นของบริษัทเป็นการทั่วไป เพื่อให้ผู้ถือ หุ้นมอบฉันทะให้ตนหรือบุคคลอื่นเข้าประชุมผู้ถือ หุ้นและออกเสียงลงคะแนนแทนต้องปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการที่คณะกรรมการ ก ากับตลาดทุนประกาศก าหนด

มาตรา ๘๙/๓๒

ในการประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทอาจด าเนินการใน ห้องประชุมมากกว่าหนึ่งห้อง แต่ต้องให้ผู้เข้า ประชุมในห้องอื่นสามารถแสดงความคิดเห็นให้ ปรากฏต่อผู้ถือหุ้นอื่นในแต่ละห้องได้ ทั้งนี้ ตาม หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการที่คณะกรรมการ ก ากับตลาดทุนประกาศก าหนด

「1992년 증권 및 증권거래소법」 (제89조의1-제89조의32)

• 국가·지역: 태국 • 제 정 일: 1992년 3월 12일 • 최종개정일: 2019년 4월 15일

제3장의1 증권 발행사 운영

제89조의1

이 장에서 사용하는 용어의 뜻 은 다음과 같다. “회사”란 다음 각항을 말한다.

(1) 자본시장감독위원회가 고 시하는 형태의 공개유한회사를 제외하고, 일반 대중을 대상으 로 하는 증권 공모 허가를 취 득한 공개유한회사

(2) 증권거래소 상장 증권인 주식 또는 증권거래센터에서 거래되는 증권을 보유한 공개 유한회사 “자회사”란 다음 각항을 말한다.

(1) 회사가 사업지배력을 보유 한 유한회사 또는 공개유한회 사

(2) 제(1)항에 따른 자회사가 사업지배력을 보유한 유한회사 또는 공개유한회사

(3) 제(2)항에 따른 자회사의 사업지배력에 예속된 회사를 기 점으로, 연쇄적으로 예속되는 유한회사 또는 공개유한회사 “이사회”란 회사 이사회를 말한 다. “이사”란 회사 이사를 말한다. “경영자”란 사실상, 또는 자본시 장감독위원회의 고시에 따라 위 원회의 위임을 받아, 회사의 경 영을 책임지는 관리자 또는 개인 을 말한다. “관계자”란 다음 각항의 어느 하나에 해당하는 형태의 관계에 있는 사람을 말한다.

(1) 회사 사업에 대한 지배력 을 보유한 사람을 말하며, 해당 자가 법인인 경우에는 그 법인 의 이사 포함

(2) 이사나 경영자 또는 제(1) 항에 따른 사람의 배우자, 미성 년 자녀 또는 양자녀

(3) 제(1)항 또는 제(2)항의 사람이 사업지배력을 보유한 법인

(4) 자본시장감독위원회가 고 시하는 속성을 보유한 사람 회사가 자신에게 금전적 이익 을 제공하는 거래를 하면 이사나 경영자 또는 제(1)항이나 제(2) 항에 따른 사람도 금전적 이익을 취할 것이라고 이해 또는 동의한 거래에서는 해당자를 그 거래의 관계자로 본다. “사업지배력”이란 다음 각항을 말한다.

(1) 한 법인에서 총 의결권의 50%를 초과하는 의결권을 가 진 주식 보유

(2) 직간접적으로 또는 기타 사유로 한 법인의 주주총회에 서 다수표의 통제권 보유

(3) 직간접적으로 이사 과반수 의 임면 관련 통제권 보유

제89조의2

증권사 또는 회사가, 다음 각항 의 어느 하나에 해당하는 행위를 이유로, 직위나 업무 형태 또는 근무지 변경, 정직 명령, 겁박, 업무 방해, 해고 또는 기타 형태 의 부당한 대우를 통하여, 직원 이나 근로자 또는 증권사나 증권 발행사에 근로를 제공하는 피고 용자를 부당하게 처우하는 것을 금지한다.

(1) 직원이나 근로자 또는 다 른 사람이 순수한 의도로 이 법에 따른 위반이나 불이행이 있다고 믿거나 믿을 수 있는 정당한 사유가 있는 정황과 관 련하여, 증권위나 자본시장감독 위원회 또는 사무처에 어떤 방 식으로든 정보나 협조 또는 지 원을 제공하는 경우

(2) 증권위나 자본시장감독위 원회 또는 사무처의 명령 여부 와 관계없이, 이 법에 따른 위 반이나 불이행이 있다고 믿을 만한 사유가 있는 정황에 대한 검토나 조사를 위하여 증권위 나 자본시장 위원회 또는 사무 처에 어떤 방식으로든 진술하 거나, 증빙 서류를 제출하거나, 도움을 준 경우

제1절 이사와 경영자

제89조의3

이사는 공개유한회사 관련 법률 에서 정하는 자격을 갖추어야 하 고, 금지 사항에 해당하지 아니 하여야 한다. 또한, 증권위 고시 에 따른 일반 대중이 주주인 사 업 경영 위탁 관련 적합성을 결 여하지 아니하여야 한다.

제89조의4

이사는, 공개유한회사 관련 법 률에서 정하는 퇴임 사유 외에, 제89조의3에서 규정하는 바에 따른 일반 대중이 주주인 사업 경영 위탁 관련 적합성을 결여한 때에 퇴임하여야 하며, 더 이상 회사의 이사직에 재직할 수 없 다.

제89조의5

이사회나 이사 또는 이사회의 위임을 받은 사람이 회사 명의로 진행한 회사의 모든 사업은, 이 후 이사가 제89조3에 따른 자격 을 상실하거나, 금지 사항 또는 적합성 결여에 해당하더라도 회 사에 대해서는 완전한 효력과 구 속력을 갖는다.

제89조의6

경영자는 증권위가 고시하는 바 에 따라 자격을 갖추어야 하고, 금지 사항에 해당하지 아니하여 야 하며, 일반 대중이 주주인 사 업 경영 위탁 관련 적합성을 결 여하지 아니하여야 한다. 첫 번째 단락에 따른 자격을 갖 추지 아니하였거나 금지 사항에 해당하는 경영자는 퇴임하여야 하며, 더 이상 회사 경영자로 재 직할 수 없다.

제2절 이사 및 경영자의 임무와 책임

제89조의7

회사의 사업 운영에서, 이사 및 경영자는 책임과 주의를 다하여 성실히 임무를 수행하여야 하며, 아울러 법률 및 회사의 목적과 정관, 주주총회의 결정을 따라야 한다.

제89조의8

책임과 주의를 다하여 임무를 수행함에 있어, 이사와 경영자는 그러한 사업을 운영하는 합리적 인 사람이 유사한 상황에서 수행 하여야 하는 것과 유사한 방식으 로 임무를 수행하여야 한다. 이사나 경영자가 해당 사건 검 토 시에 본인의 결정이 다음과 같이 완전한 형태를 갖추었다고 입증한 때에는 해당 이사나 경영 자가 첫 번째 단락에 따른 책임 감과 주의력을 갖추어 임무를 수 행하였다고 본다.

(1) 회사의 이익을 극대화하기 위한 순수하고 합리적인 신념에 따른 결정

(2) 신뢰할 수 있는 충분한 자 료를 기반으로 하는 결정

(3) 자신과 직간접적인 이해관 계가 없는 사안에 대한 결정

제89조의9

이사 또는 경영자 개개인이 임 무 수행에 책임 및 주의를 다하 였는지에 관한 검토에서는 다음 각항의 요소도 함께 고려하여야 한다.

(1) 해당자의 당시 직위

(2) 법률에 규정되었거나 이사 회에서 위임된 해당자의 사내 직위의 책임 범위

(3) 임명 취지를 포함한 자격과 지식, 능력 및 경력

제89조의10

이사와 경영자는 성실한 임무 수행을 위하여 다음 각항을 준수 하여야 한다.

(1) 회사 이익의 극대화를 위한 순수한 신념에 의한 직무 수행

(2) 합법적이고 합당한 의도에 의한 직무 수행

(3) 회사의 이익에 현저하게 반 하거나 상충하는 행위 금지

제89조의11

이사나 경영자 또는 관계자가 통상적으로 취하는 이외의 금전 적 이익을 취하게 하거나, 회사 에 손해를 끼치는 결과가 되는 다음 각항의 어느 하나에 해당하 는 행위는, 회사의 이익에 현저 하게 반하거나 상충하는 행위로 추정한다.

(1) 제89조의12 또는 제89조의 13을 따르지 아니하는 회사 또 는 자회사와 이사나 경영자 또 는 관계자 간의 거래

(2) 일반 대중에게 공개된 정보 를 제외한, 먼저 취득한 정보의 이용

(3) 자본시장감독위원회가 고시 하는 바에 따른 원칙이나 보편 적 관행을 위반하는 형태의 회 사 자산 또는 사업 기회 이용

제89조의12

이사나 경영자 또는 관계자는 회사의 주주총회에서 승인받은 때에 회사 또는 자회사와 거래할 수 있다. 다만, 해당 거래가 다 음 각항의 어느 하나에 해당하는 것은 제외한다.

(1) 이사나 경영자 또는 관계자 로서의 영향력을 배제한 상업 교섭권을 통하여, 합리적인 사 람이 유사한 상황에서 일반적인 계약 상대방에게 취하는 방식과 유사한 방식으로 체결하였으며, 위원회의 승인을 받거나 위원회 가 승인한 원칙에 따른 상업적 합의인 거래

(2) 직원 및 근로자 복지 규정 에 따른 금전 대출

(3) 회사의 계약 상대방 또는 쌍방이 다음 각호의 어느 하나 에 해당하는 지위에 있는 거래

(ㄱ) 회사가 자회사의 매각 주 식 총수의 90% 이상을 보유 한 자회사 (ㄴ) 이사나 경영자 또는 관계 자가 자본시장감독위원회의 고시에 따른 금액 또는 비율 을 초과하지 아니하거나, 해 당 고시에 따른 형태를 갖춘 주식을 직간접적으로 보유하 거나 이해관계에 있는 자회사

(4) 자본시장감독위원회가 고시 하는 금액이나 비율을 초과하지 아니하는 유형 또는 가치를 지 닌 거래

제(3)항제(ㄱ)호 또는 제(4)항 에 따른 고시는 자본시장감독위 원회가 지정된 거래에 대하여 이 사회의 승인을 받도록 규정할 수 있다. 이사와 회사 또는 자회사와의 거래에는 「1992년 공개유한회 사법」 제87조의 내용을 적용하 지 아니한다.

제89조의13

회사 또는 회사의 통상적인 거 래 관계에서 중요한 의의가 있는 거래 결과를 검토하여 정당한 사 유가 있는 경우에는 자본시장감 독위원회는 회사 또는 자회사와 이사나 경영자 또는 관계자 간 거래에 적용하기 위하여 다음 각 항의 사안에 관한 원칙을 고시할 수 있는 권한을 갖는다.

(1) 거래 체결 관련 정보의 투 자자 대상 일반적 공개 또는 이 사회회의소집통지서나 주주총회 소집통지서에서의 공개

(2) 거래 승인 표결을 위한 주 주총회에서의 표수

(3) 주주용 투표용지 마련이나 회의 감독자 배치 또는 의결권 이 없는 주주의 이해득실 관련 특별 검토를 포함하는 주주총회 의 원칙

제89조의14

이사와 경영자는 회사 또는 자 회사의 사업 운영과 관련한 자신 또는 관계자의 이해관계를 회사 에 보고하여야 한다. 이와 관련 하여 자본시장감독위원회가 고시 하는 원칙과 조건 및 절차를 따 른다.

제89조의15

이사회는 회사 또는 이사회의 명의로 다음 각항의 업무 수행을 담당하는 회사 간사를 배치하여 야 한다.

(1) 다음 각호의 문서 작성 및 보관

(ㄱ) 이사 등록 (ㄴ) 이사회회의소집통지서와 이사회회의보고서 및 회사의 연례보고서 (ㄷ) 주주총회소집통지서 및 주 주총회보고서

(2) 이사 또는 경영자가 보고한 이해관계 보고서 보관

(3) 자본시장감독위원회가 고시 하는 바에 따른 기타 업무 수행

회사 간사가 퇴직하거나 업무를 수행할 수 없는 경우, 이사회는 기존의 회사 간사가 퇴직하거나 업무를 수행할 수 없는 날부터 90일 이내에 회사 간사를 새로 임명하여야 하며, 그 기간 동안 이사 중 한 사람에게 업무 대행 을 위임할 권한을 갖는다. 이사장은 해당 직책의 담당자를 배치한 날부터 14일 이내에 사 무처에 회사 간사의 성명을 신고 하고, 첫 번째 단락 제(1)항 및 제(2)항에 따른 문서 보관 장소 를 신고하여야 한다.

제89조의16

회사 간사는 제89조의14에 따 른 이해관계 보고서 수령일부터 7일 이내에 해당 보고서 사본을 이사장과 감사위원장에게 제출하 여야 한다.

제89조의17

회사는 제89조의20에 따른 정 보 표시 관련 문서와 증빙자료 보관 시스템을 갖추어야 하며, 해당 문서 또는 증빙자료를 정확 하고 완전하게 보관하고, 해당 문서 또는 증빙자료 작성일부터 5년 이상의 기간 내에 검증할 수 있도록 관리하여야 한다. 첫 번째 단락에 따른 문서 및 증빙자료 보관은 컴퓨터 시스템 이나 자료 변경 없이 열람할 수 있는 기타 시스템을 통한 보관을 포함하여 말한다.

제89조의18

「1992년 공개유한회사법」 제 85조와 제86조에 따른 이사에 대한 조치 이외에, 이사가 제89 조의7에 따른 직무 불이행이 되 는 적극 행위 또는 소극 행위를 하여 이사나 경영자 또는 관계자 가 부당 이득을 취한 원인이 된 경우에는 회사가 이사를 상대로 부당이익반환청구소송을 제기할 수 있다. 회사 의결권 총수의 5% 이상의 주식과 의결권을 보유한 주주 한 사람 또는 여러 사람이 회사에 첫 번째 단락에 따라 조치하도록 서면 통보하였으며, 회사가 통보 일부터 1개월 이내에 주주의 통 보에 따라 조치하지 아니한 경 우, 해당 주주는 회사 대신 첫 번째 단락에 따른 부당이득반환 청구소송을 제기할 수 있는 권리 를 갖는다. 주주가 회사 대신 이 조에 따른 이사에 대한 조치 권리를 행사하 는 경우, 법원은 회사에 적절하 다고 판단하는 실제 발생 금액에 따른 경비를 해당 권리를 행사한 주주에게 보상하도록 정할 권한 이 있으며, 해당 비용을 정하기 위하여 법원은 회사를 사건 당사 자로 참여하도록 소환할 권한을 갖는다.

제89조의19

제89조의18의 내용을 제89조의 7에 따른 직무 불이행이 되는 적극 행위 또는 소극 행위를 한 경영자에게 자신 또는 이사나 관 계자가 부당하게 취한 이득 반환 책임을 지도록 하는 청구 소송에 준용한다.

제89조의20

이사와 경영자는 다음 각항에 대한 핵심 내용을 허위로 표시한 정보를 주주 또는 일반 대중에게 공개하거나, 알려야 할 핵심 내 용에서 진실을 은폐하여 발생한 손해에 대하여 회사의 증권을 매 매한 사람에게 연대 책임을 져야 한다. 다만, 해당 이사나 경영자 가 직책상 해당 정보의 사실관계 나 알려야 할 정보가 부족하다는 사실을 미리 알 수 없었다는 것 을 입증할 수 있는 경우는 제외 한다.

(1) 주주총회에서의 의결을 위 한 정보 제공

(2) 재무제표와 회사의 재무 상 태 및 운영 실적 관련 보고서 또는 제56조나 제57조, 제58조, 제199조에 따라 반드시 공개하 여야 하는 기타 보고서

(3) 주주로부터 회사 주식 일반 공개 입찰 제안자가 있는 때의 사업 의견

(4) 회사가 자본시장감독위원회 의 고시에 따라 주주 또는 일반 대중에게 일반적으로 공개하기 위하여 작성하는 정보 또는 보 고서 제공

첫 번째 단락에 따른 손해배상 소송과 관련하여, 피해자가 첫 번째 단락에 따른 허위 사실의 공개나 진실 은폐에 대하여 인지 한 날부터 2년이 지나거나, 해당 행위가 있는 날부터 5년이 경과 한 때에는 소송 제기를 금지한 다.

제89조의21

부정하거나 중대한 부주의로 인 하여 회사에 손해를 끼치거나 마 땅히 취하여야 할 이익을 상실하 게 하는 원인이 될 정도의 적극 행위 또는 소극 행위를 한 이사 또는 경영자는 주주총회나 이사 회 회의에서의 승인 또는 비준을 이유로 들어 본인의 책임을 면할 수 없다. 첫 번째 단락에 따른 적극 행위 또는 소극 행위는 다음 각항을 포함하여 말한다.

(1) 핵심 내용에서 허위가 되는 내용을 제시하거나 핵심 내용에 서 알려야 할 진실을 은폐하여 이사회 또는 주주총회에서 의결 요구

(2) 회사 자산 또는 이익에 대 한 침해 관련 사항

(3) 회사 자산을 기반으로 하는 이익 추구 관련 사항

제89조의22

제89조의7에서 제89조의21까 지의 이사 및 경영자의 의무와 책임 관련 부분과 관련 벌칙 규 정을 다음 각항 해당자에게 준용 한다.

(1) 파산 관련 법률에 따른 임 시 경영자, 계획자, 계획 관리자 및 임시 계획 관리자 및 임시 경영자, 계획자, 계획 관리자 또 는 임시 계획 관리자가 법인일 경우 해당 법인 관련 이사와 경 영자 포함

(2) 청산인

제89조의23

회사 간사는 책임과 주의를 다 하여 신의성실의 원칙에 따라 제 89조의15에 따른 직무를 수행하 여야 한다. 아울러 법률 및 회사 의 목적과 정관, 주주총회의 의 결을 따라야 하며, 제89조의8 두 번째 단락, 제89조의10, 제89조 의11, 제89조의11제(1)항과 제 (2)항 및 제89조의18을 준용한 다.

제89조의24

자회사 이사 및 자회사 경영자 의 직무 수행에 대해서는 제89 조의7과 제89조의8, 제89조의9 및 제89조의10의 내용과 관련 벌칙 규정을 준용한다. 첫 번째 단락의 내용을 자회사 의 제289조의22제(1)항 및 제 (2)항에 따른 사람에게 준용한 다.

제89조의25

회계 기준에 따른 증권사 또는 회사 회계 감사에서, 회계 감사 인이 해당 법인의 회계 감사인 자격 또는 해당 법인이 회계 감 사에 동의한 기타 자격으로 이사 나 경영자 또는 해당 법인의 업 무 수행 책임자의 제281조의2 두 번째 단락이나 제305조, 제 306조, 제308조, 제309조, 제 310조, 제311조, 제312조 또는 제313조 위법 행위를 의심할만 한 정황을 발견하였다면, 회계 감사인은 그러한 정황과 관련한 사실관계를 증권사 또는 회사의 감사위원회에 즉시 통지하여 후 속 조치를 하도록 하여야 하며, 감사위원회는 회계 감사인의 통 지일부터 30일 이내에 사무처 및 회계감사인에게 기본적인 감 사결과를 보고하여야 한다. 감사위원회가 첫 번째 단락에 따라 조치하지 아니한 경우, 회 계 감사인은 사무처에 고지하여 야 한다. 첫 번째 단락에 따른 통지가 필 요한 의심할만한 정황 및 그러한 정황 관련 사실관계 확인 절차는 자본시장감독위원회가 고시하는 바에 따른다.

제3절 주주총회

제89조의26

이사회가 지정한 날짜를 기준으 로 주주등록부에 성명이 등재된 주주이어야 의결권을 가지며, 각 주주가 의결권을 갖는 주권의 수 는 지정일에 주주등록부에서 확 인되는 바에 따른다. 이와 관련 하여 주주총회일 당일에 주주등 록부에 변경이 있더라도 해당자 의 권리는 영향을 받지 아니한 다. 첫 번째 단락에 따라 이사회가 지정하는 날짜는 주주총회일 전 2개월을 초과하지 아니하되, 이 사회의 주주총회 소집 승인일 전 의 날짜가 아니어야 한다. 또한, 이사회가 회의에 출석할 권리가 있는 주주를 확정하기 위한 날짜 를 지정한 때에는 변경할 수 없 다.

제89조의27

자본시장감독위원회는 이사회가 회의소집통지서에서 주주에게 통 지하여야 하는 자료의 유형과 상 세 사항 및 회의소집통지서 발송 기간을 고시할 권한을 갖는다.

제89조의28

회사 의결권 총수의 5% 이상에 해당하는 주식과 의결권을 보유 한 주주 한 사람 또는 여러 사람 은, 자본시장감독위원회가 고시 하는 원칙을 준수하여, 연례 정 기 총회 또는 임시 총회에 상정 할 안건의 세부 사항과 함께, 고 지나 승인 또는 검토를 위한 안 건인지를 명시한 주주총회 상정 안건 포함 요구 제안서를 이사회 에 제출할 수 있다. 이사회는 첫 번째 단락에 따라 주주가 상정한 안건을 차후에 개 최할 주주총회의 안건으로 포함 한다. 다만, 다음 각항의 어느 하나에 해당하는 경우에는 이사 회가 해당 안건의 주주총회 상정 을 거부할 수 있다.

(1) 첫 번째 단락에서 규정하는 원칙을 따르지 아니하는 안건

(2) 회사의 정상적인 사업 운영 관련 사안으로, 주주가 해당 사 안이 비정상적이라고 의심할 만 한 합리적인 근거를 제시하지 아니하고 주장하는 사실관계에 관한 안건

(3) 회사가 목적하는 바에 따른 결과가 발생하도록 조치할 수 있는 권한 밖의 안건

(4) 새로 상정하는 사실관계가 이전 주주총회에서 상정한 때의 사실관계에서 의미 있는 변경이 이루어진 것을 제외하고, 지난 12개월 이내에 주주가 주주총회 에서 검토하기 위하여 상정한 적이 있으며, 회사의 전체 의결 권 수의 20% 미만의 지지표를 확보한 안건

(5) 자본시장감독위원회가 고시 하는 바에 따른 기타 안건 이사회가 첫 번째 단락에 따른 주주 상정 안건을 주주총회의 안 건으로 포함하는 것을 거부하는 경우, 해당 안건에 대한 거부 사 유를 명시하여 해당 주주총회에 서 공지 사항으로 알려야 한다. 세 번째 단락에 따른 회의에서, 회의에 참석한 의결권 보유 주주 전체의 다수결로 첫 번째 단락에 따른 주주 제안 안건을 주주총회 의 안건으로 상정하도록 승인하 는 경우, 이사회는 해당 안건을 회사가 차후 개최할 주주총회의 안건으로 포함한다.

제89조의29

다음 각항의 사안에 대한 조치 에서 자본시장감독위원회가 고시 하는 원칙에 따라 회사에 중요한 의의가 있는 안건이라면, 주주총 회에서 승인받아야 한다.

(1) 회사 또는 자회사의 자산인 것을 불문하고, 자산의 취득 또 는 매각

(2) 회사 또는 자회사의 자산 관련 이권인지를 불문하고, 회 사에 손해를 끼친 사람에 대한 청구권 포기를 포함한 이권 양 도 또는 포기

(3) 사업이나 자산이 회사 또는 자회사에 의하여 운영되는지를 불문하고, 사업이나 자산 전체 또는 일부에 대한 임대 또는 임 대 구매 관련 계약 체결이나 수 정 또는 해지

(4) 사업이 회사 또는 자회사에 의하여 운용되는지를 불문하고, 타인에게 사업 전체 또는 일부 운영에 참여하도록 하는 위임

(5) 회사 운영 구조에 영향을 줄 수 있는, 타인과의 사업 합 병

(6) 제삼자가 유동성이 부족하 거나 채무 상환을 이행할 수 없 는 경우에 대한, 회사의 재정적 부담을 가중하는 대출, 신용 제 공, 보증, 법률 행위 또는 회사 나 자회사에 의한 회사의 정상 적인 사업이 아닌 다른 형태로 타인에게 제공하는 금융 지원

(7) 자본시장감독위원회가 고시 하는 바에 따른 기타 조치 첫 번째 단락에 따른 회사의 조 치에 적용하기 위하여, 자본시장 감독위원회는 다음 각항의 사항 에 대한 추가 원칙을 고시할 권 한을 갖는다.

(1) 첫 번째 단락에 따른 회사 의 조치와 관련한 투자자에 대 한 일반 정보 또는 이사회회의 소집통지서나 주주총회소집통지 서를 통한 정보 공개

(2) 해당 거래에 대한 승인을 표결하기 위한 주주총회에서의 표수

제89조의30

주주총회에서 이 장의 규정을 준수하지 아니하거나 위반한 회 의소집통지서 발송 또는 의결이 있는 경우, 회사 의결권 총수의 5% 이상의 주식과 의결권을 보 유한 주주 한 사람 또는 여러 사 람이 법원에 해당 회의에서의 의 결에 대한 취소 명령을 신청할 수 있다. 이와 관련하여 공개유 한회사 관련 법률에 따른 주주총 회에서의 의결에 대한 법원의 취 소 명령 신청 관련 부분의 규정 을 준용한다.

제89조의31

회사의 주주를 대상으로, 주주 가 자신이나 타인에게 주주총회 참석 및 의결권 행사를 위임하도 록 하기 위한 권유나 안내 또는 특정 방식의 행위는 자본시장감 독위원회가 고시하는 원칙과 절 차 및 조건에 따른다.

제89조의32

회사는 하나 이상의 회의실에서 주주총회를 진행할 수 있으나, 각 회의실의 주주가 다른 회의실 의 주주에게 의사를 명확하게 표 시할 수 있도록 하여야 한다. 이 와 관련하여 자본시장감독위원회 가 고시하는 바에 따른다.