「1956년 상업등기법」
• 국가·지역: 태국 • 제 정 일: 1956년 1월 25일 • 개 정 일: 2006년 3월 3일(「2006년 상업등기법(제2권)」)
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๕ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๙ เป็นปีที่ ๑๑ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วย ทะเบียนพาณิชย์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชบัญญัติขึ้นไว้ โดยค าแนะน าและยินยอม ของสภาผู้แทนราษฎร ดังต่อไปนี้ 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서 현 왕조의 62번째 해인 2007년 6월 10일에하사하셨다. 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서는 다음과 같이 공포하도록 하셨다. 상업등기 관련 법률을 개정하는 것이 합당하다. 그러므로 국회의 조언과 동의를 통하여 다음과 같이 법을 제정한 다.
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติ ทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. ๒๔๙๙”
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวัน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ให้ยกเลิก (๑) พระราชบัญญัติทะเบียนพาณิชย์ พุทธศักราช ๒๔๗๙ (๒) พระราชบัญญัติทะเบียนพาณิชย์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๙๐ (๓) บรรดาบทกฎหมาย กฎ และข้อบังคับอื่น ๆ ในส่วนที่มีบัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัติ นี้ หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับบทแห่ง พระราชบัญญัตินี้
ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการรักษาการ ตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอ านาจแต่งตั้ง พนักงานเจ้าหน้าที่กับออกกฎกระทรวงก าหนด อัตราค่าธรรมเนียมไม่เกินอัตราท้าย พระราชบัญญัตินี้ และก าหนดกิจการอื่น ๆ เพื่อ ปฏิบัติการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจา นุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
ในพระราชบัญญัตินี้ (๑) “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรี ผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ (๒) “นายทะเบียนพาณิชย์” หมายความว่า พนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งรัฐมนตรีได้แต่งตั้งให้เป็น ผู้มีหน้าที่รับจดทะเบียนตามพระราชบัญญัตินี้ (๓) “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า บุคคลซึ่งรัฐมนตรีได้แต่งตั้งให้เป็นผู้ปฏิบัติการ ตามพระราชบัญญัตินี้ (๔) “ผู้ประกอบพาณิชยกิจ” หมายความว่า บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลซึ่งประกอบ พาณิชยกิจเป็นอาชีพปกติ และให้หมายความ รวมทั้งผู้เป็นหุ้นส่วนที่ไม่จ ากัดความรับผิด กรรมการ หรือผู้จัดการด้วย (๕) “ส านักงาน” หมายความว่า สถานที่ซึ่งใช้ ประกอบพาณิชยกิจเป็นปกติ
ให้ถือกิจการดังต่อไปนี้เป็นพาณิชยกิจตาม ความหมายแห่งพระราชบัญญัตินี้ (๑) การซื้อ การขาย การขายทอดตลาด การ แลกเปลี่ยน (๒) การให้เช่า การให้เช่าซื้อ (๓) การเป็นนายหน้าหรือตัวแทนค้าต่าง (๔) การขนส่ง (๕) การหัตถกรรม การอุตสาหกรรม (๖) การรับจ้างท าของ (๗) การให้กู้ยืมเงิน การรับจ าน า การรับ จ านอง (๘) การคลังสินค้า (๙) การรับแลกเปลี่ยนหรือซื้อขายเงินตรา ต่างประเทศ การซื้อ หรือขายตั๋วเงิน การ ธนาคาร การเครดิตฟองซิเอร์ การโพยก๊วน (๑๐) การรับประกันภัย (๑๑) กิจการอื่นซึ่งก าหนดโดยพระราช กฤษฎีกา
พระราชบัญญัตินี้มิให้ใช้บังคับแก่ (๑) การค้าเร่ การค้าแผงลอย (๒) พาณิชยกิจเพื่อการบ ารุงศาสนาหรือเพื่อ การกุศล (๓) พาณิชยกิจของนิติบุคคลซึ่งได้มี พระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง ขึ้น (๔) พาณิชยกิจของกระทรวง ทบวง กรม (๕) พาณิชยกิจของมูลนิธิ สมาคม สหกรณ์ (๖) พาณิชยกิจซึ่งรัฐมนตรีได้ประกาศในราช กิจจานุเบกษา
ให้รัฐมนตรีมีอ านาจก าหนดเป็นครั้งคราวโดย ประกาศในราชกิจจานุเบกษาว่า พาณิชยกิจใด ตามที่ระบุไว้ในมาตรา ๖ ในท้องที่ใด ผู้ประกอบ พาณิชยกิจจะต้องจดทะเบียนพาณิชย์
ให้กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ เป็นส านักงานกลางทะเบียนพาณิชย์มีหน้าที่ ก ากับดูแลการรับจดทะเบียนพาณิชย์ตาม พระราชบัญญัตินี้ ให้กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และองค์การ บริหารส่วนจังหวัดเป็นส านักงานทะเบียน พาณิชย์ เพื่อรับจดทะเบียนพาณิชย์ในท้องที่ของ ตน ให้รัฐมนตรีมีอ านาจก าหนดให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีความพร้อมเป็นส านักงาน ทะเบียนพาณิชย์เพื่อรับจดทะเบียนพาณิชย์ใน ท้องที่ของตนได้ โดยประกาศในราชกิจจา นุเบกษา ในการนี้ให้องค์การบริหารส่วนจังหวัด ยังคงมีอ านาจรับจดทะเบียนพาณิชย์เฉพาะใน ท้องที่นอกเขตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ รัฐมนตรีประกาศก าหนด เพื่อประโยชน์ในการรวบรวมสถิติและทราบ หลักฐานของผู้ประกอบพาณิชยกิจบางประเภท ให้รัฐมนตรีมีอ านาจก าหนดให้กรมพัฒนาธุรกิจ การค้าเป็นส านักงานทะเบียนพาณิชย์ เพื่อรับจด ทะเบียนพาณิชยกิจตามประเภทที่รัฐมนตรี ประกาศก าหนดได้ โดยประกาศในราชกิจจา นุเบกษา
การจดทะเบียนนั้น ผู้ประกอบพาณิชยกิจตั้ง ส านักงานแห่งใหญ่อยู่ในท้องที่ใด ให้จดทะเบียน ณ ส านักงานทะเบียนพาณิชย์ในท้องที่นั้น ถ้าส านักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่ในต่างประเทศ และ มาประกอบพาณิชยกิจในประเทศไทย ส านักงานสาขาใหญ่ตั้งอยู่ในท้องที่ใด ให้จด ทะเบียน ณ ส านักงานทะเบียนพาณิชย์ในท้องที่ นั้น ในกรณีที่รัฐมนตรีประกาศก าหนดให้กรมพัฒนา ธุรกิจการค้ารับจดทะเบียนพาณิชยกิจประเภท ใด ให้ผู้ประกอบพาณิชยกิจประเภทดังกล่าวจด ทะเบียน ณ ส านักงานทะเบียนพาณิชย์ กรม พัฒนาธุรกิจการค้า ในท้องที่ที่ส านักงานแห่ง ใหญ่หรือส านักงานสาขาใหญ่ตั้งอยู่ แล้วแต่กรณี
ให้ผู้ประกอบพาณิชยกิจยื่นค าขอจดทะเบียน พาณิชย์ ณ ส านักงานทะเบียนพาณิชย์แห่ง ท้องที่ตามแบบที่ก าหนดในกฎกระทรวง ภายใน สามสิบวันนับแต่วันที่รัฐมนตรีได้ประกาศตาม มาตรา ๘ ผู้ประกอบพาณิชยกิจผู้ใดประกอบพาณิชยกิจ ภายหลังวันที่รัฐมนตรีได้ประกาศตามมาตรา ๘ ให้ยื่นค าขอจดทะเบียนพาณิชย์ภายในสามสิบ วันนับแต่วันที่เริ่มประกอบพาณิชยกิจนั้น ก าหนดเวลาที่กล่าวในมาตรานี้ ถ้ารัฐมนตรีเห็น เป็นการสมควรก็ให้มีอ านาจประกาศขยายเวลา ต่อไปอีกได้
การจดทะเบียนพาณิชย์นั้น ให้มีรายการ ดังต่อไปนี้ (๑) ชื่อ อายุ เชื้อชาติ สัญชาติ และต าบลที่อยู่ ของผู้ประกอบพาณิชยกิจ (๒) ชื่อที่ใช้ในการประกอบพาณิชยกิจ (๓) ชนิดแห่งพาณิชยกิจ (๔) จ านวนเงินทุนซึ่งน ามาใช้ในการประกอบ พาณิชยกิจเป็นประจ า (๕) ที่ตั้งส านักงานแห่งใหญ่ สาขา โรงเก็บ สินค้า และตัวแทนค้าต่าง (๖) ชื่อ อายุ เชื้อชาติ สัญชาติ ต าบลที่อยู่ และ จ านวนทุนลงหุ้นของผู้เป็นหุ้นส่วนในห้าง หุ้นส่วน และจ านวนเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (๗) จ านวนเงินทุน จ านวนหุ้น และมูลค่าหุ้น ของบริษัทจ ากัด จ านวน และมูลค่าหุ้นที่ บุคคลแต่ละสัญชาติถืออยู่ (๘) วันที่เริ่มต้นประกอบพาณิชยกิจใน ประเทศไทย (๙) วันขอจดทะเบียนพาณิชย์ (๑๐) ชื่อที่ใช้ในการประกอบพาณิชยกิจ ชื่อ สัญชาติ และต าบลที่อยู่ของผู้โอนพาณิชยกิจ ให้ วันที่ และเหตุที่ได้รับโอน
การเปลี่ยนแปลงรายการใด ๆ ตามที่ระบุไว้ใน มาตรา ๑๒ ก็ดี การเลิกประกอบพาณิชยกิจโดย เหตุใด ๆ ก็ดี ให้ยื่นค าขอจดทะเบียน ณ ส านักงานทะเบียนพาณิชย์แห่งท้องที่ตามแบบที่ ก าหนดในกฎกระทรวงภายในสามสิบวันนับแต่ วันเปลี่ยนแปลงหรือเลิก
เมื่อนายทะเบียนพาณิชย์ได้รับค าขอจดทะเบียน และเห็นว่าค าขอนั้นถูกต้องตามพระราชบัญญัติ กฎกระทรวง และประกาศซึ่งออกตาม พระราชบัญญัตินี้แล้ว ก็ให้รับจดทะเบียนไว้และ ให้ออกใบทะเบียนพาณิชย์ให้แก่ผู้ขอ ถ้าใบทะเบียนพาณิชย์สูญหาย ให้ผู้ประกอบ พาณิชยกิจยื่นค าขอรับใบแทนใบทะเบียน พาณิชย์ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่สูญหาย ให้ผู้ประกอบพาณิชยกิจแสดงใบทะเบียน พาณิชย์ หรือใบแทนใบทะเบียนพาณิชย์ไว้ ณ ส านักงานในที่เปิดเผยซึ่งอาจเห็นได้ง่าย
เมื่อได้จดทะเบียนพาณิชย์แล้ว ให้ผู้ประกอบ พาณิชยกิจจัดให้มีป้ายชื่อที่ใช้ในการประกอบ พาณิชยกิจไว้ที่หน้าส านักงานแห่งใหญ่และ ส านักงานสาขาโดยเปิดเผย ภายในสามสิบวัน นับแต่วันที่ได้จดทะเบียน ป้ายชื่อนี้ให้เขียนเป็นอักษรไทย อ่านได้ง่ายและ ชัดเจน และจะมีอักษรต่างประเทศด้วยก็ ได้ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะกระท าบนแผ่นไม้ แผ่นโลหะ แผ่นกระจก ก าแพง หรือผนัง ชื่อในป้ายก็ดี ในเอกสารใด ๆ ก็ดี ต้องใช้ให้ตรง กับชื่อที่จดทะเบียนไว้ และถ้าเป็นส านักงาน สาขา ต้องมีค าว่า “สาขา” ไว้ด้วย
ให้มีกรรมการขึ้นคณะหนึ่ง มีจ านวนไม่น้อยกว่า ห้าคนแต่ไม่เกินเจ็ดคน ซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง มีอ านาจหน้าที่พิจารณาและให้ค าแนะน าแก่ รัฐมนตรีในการถอนใบทะเบียนพาณิชย์ของผู้ ประกอบพาณิชยกิจซึ่งกระท าการฉ้อโกง ประชาชนปนสินค้าโดยเจตนาทุจริต ปลอม สินค้า หรือกระท าการทุจริตอื่นใดอย่างร้ายแรง ในการประกอบพาณิชยกิจ และให้มีอ านาจ พิจารณาและให้ค าแนะน าในการรับจดทะเบียน พาณิชย์ใหม่ด้วย เมื่อรัฐมนตรีได้รับค าแนะน าของคณะกรรมการ ตามความในวรรคแรก รัฐมนตรีจะถอนใบ ทะเบียนพาณิชย์ หรือสั่งให้รับจดทะเบียน พาณิชย์ใหม่ก็ได้ แล้วแต่กรณี ห้ามมิให้ผู้ถูกสั่งถอนใบทะเบียนพาณิชย์ ประกอบพาณิชยกิจต่อไป เว้นแต่รัฐมนตรีจะสั่ง ให้รับจดทะเบียนพาณิชย์ใหม
ให้นายทะเบียนพาณิชย์มีอ านาจออกค าสั่งเรียก ผู้ประกอบพาณิชยกิจมาสอบสวนข้อความอัน เกี่ยวกับการจดทะเบียน และในระหว่างเวลา ท างานให้นายทะเบียนพาณิชย์ หรือพนักงาน เจ้าหน้าที่มีอ านาจเข้าไปท าการตรวจสอบใน ส านักงานของผู้ประกอบพาณิชยกิจ เพื่อให้การ เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ ผู้ประกอบพาณิชย กิจต้องอ านวยความสะดวกแก่นายทะเบียน พาณิชย์และพนักงานเจ้าหน้าที่ตามสมควร
ผู้ใดประสงค์จะตรวจดู หรือขอให้พนักงาน เจ้าหน้าที่คัดส าเนาและรับรองส าเนาเอกสาร เกี่ยวกับการจดทะเบียนตามพระราชบัญญัตินี้ มี สิทธิที่จะท าได้ในเมื่อเสียค่าธรรมเนียมตามที่ ก าหนดในกฎกระทรวงแล้ว
ผู้ประกอบพาณิชยกิจผู้ใด (๑) ไม่จดทะเบียนตามพระราชบัญญัตินี้ (๒) แสดงรายการเท็จ หรือ (๓) ไม่มาให้นายทะเบียนพาณิชย์สอบสวน ไม่ ยอมให้ถ้อยค า หรือไม่ยอมให้นายทะเบียน พาณิชย์หรือพนักงานเจ้าหน้าที่เข้าไป ตรวจสอบตามมาตรา ๑๗ มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพัน บาท และในกรณีตาม (๑) อันเป็นความผิด ต่อเนื่องกัน ให้ปรับอีกวันละไม่เกินหนึ่งร้อยบาท จนกว่าจะได้ปฏิบัติให้เป็นไปตาม พระราชบัญญัตินี้
ผู้ประกอบพาณิชยกิจผู้ใดละเลยไม่ปฏิบัติตาม มาตรา ๑๔ วรรคสอง หรือวรรคสาม หรือมาตรา ๑๕ มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินสอง ร้อยบาท และในกรณีอันเป็นความผิด ต่อเนื่องกัน ให้ปรับอีกวันละไม่เกินยี่สิบบาท จนกว่าจะได้ปฏิบัติให้เป็นไปตาม พระราชบัญญัตินี้
ผู้ประกอบพาณิชยกิจผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๑๖ วรรคสาม มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกิน หนึ่งหมื่นบาท หรือจ าคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือทั้ง ปรับทั้งจ า
การประกอบพาณิชยกิจซึ่งจดทะเบียนไว้ก่อน วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้เป็นอันใช้ได้ จนกว่ารัฐมนตรีจะได้ประกาศในราชกิจจา นุเบกษาให้ยกเลิกการจดทะเบียนนั้น และเมื่อได้ ประกาศยกเลิกการจดทะเบียนพาณิชย์ในท้องที่ ใดแล้ว ให้ผู้ประกอบพาณิชยกิจซึ่งถูกยกเลิกการ จดทะเบียนพาณิชย์ในท้องที่นั้นยื่นค าขอจด ทะเบียนใหม่ภายในหกสิบวันนับแต่วันประกาศ ก าหนดเวลาดังกล่าวข้างต้นนั้น ถ้ารัฐมนตรีเห็น เป็นการสมควร ก็ให้มีอ านาจประกาศขยายเวลา ต่อไปอีกได้ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี
๑ ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนพาณิชย์๕๐ ๒ ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน เปลี่ยนแปลงรายการ ครั้งละ ๒๐ ๓ ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนเลิก ประกอบพาณิชยกิจ ๒๐ ๔ ค่าธรรมเนียม ขอให้พนักงานเจ้าหน้าที่ ออกใบแทนใบทะเบียนพาณิชย์ ฉบับละ ๓๐ ๕ ค่าธรรมเนียมขอตรวจดูเอกสารเกี่ยวกับ การจดทะเบียนพาณิชย์ของผู้ประกอบ พาณิชยกิจรายหนึ่ง ครั้งละ ๒๐ ๖ ค่าธรรมเนียม ขอให้พนักงานเจ้าหน้าที่ คัดส าเนาและรับรองเอกสารเกี่ยวกับการจด ทะเบียนพาณิชย์ของผู้ประกอบพาณิชยกิจราย หนึ่ง ฉบับละ ๕๐
「1956년 상업등기법」
• 국가·지역: 태국 • 제 정 일: 1956년 1월 25일 • 개 정 일: 2006년 3월 3일(「2006년 상업등기법(제2권)」)
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๕ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๙ เป็นปีที่ ๑๑ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วย ทะเบียนพาณิชย์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชบัญญัติขึ้นไว้ โดยค าแนะน าและยินยอม ของสภาผู้แทนราษฎร ดังต่อไปนี้ 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서 현 왕조의 62번째 해인 2007년 6월 10일에하사하셨다. 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서는 다음과 같이 공포하도록 하셨다. 상업등기 관련 법률을 개정하는 것이 합당하다. 그러므로 국회의 조언과 동의를 통하여 다음과 같이 법을 제정한 다.
이 법은 “1956년 상업등기법”이 라고 한다.
이 법은 관보에 게재한 이튿날 부터 시행하도록 한다.
다음 각 항의 법률은 폐지하도 록 한다. (1) 「1936(불기2479)년 상업 등기법」 (2) 「1947(불기2490)년 상업 등기법(제2권)」 (3) 이 법에서 규정한 부분이 있거나 이 법의 규정에 위배 또 는 모순이 되는 모든 기타 법령 과 규칙 및 규정
경제부 장관이 이 법을 관장하 도록 하며, 담당관을 임명하고, 이 법 별표의 요율을 초과하지 아니하는 수수료율을 정하는 부 령을 제정하며, 이 법에 따른 집행을 위한 기타 업무를 규정 하는 권한을 갖도록 한다. 해당 부령은 관보에 게재 완료 한 때에 시행하도록 한다.
이 법에서 사용하는 용어의 뜻 은 다음과 같다. (1) “장관”이란 이 법에 따른 주무 장관을 말한다. (2) “상업등기관"이란 장관이 이 법에 따른 등기 접수 책임 자로 임명한 사람을 말한다. (3) “담당관”이란 장관이 이 법에 따른 집행관으로 임명하 는 사람을 말한다. (4) “사업자”란 상업 운영을 통상적 직업으로 하는 자연인 또는 법인을 말하며, 무한 책 임 사원이나 이사 또는 관리자 를 포함하여 말한다. (5) “사무실”이란 통상적으로 영업에 이용되는 장소를 말한 다.
다음 각 항에 해당하는 사업은 이 법의 의의에 따르는 상업으 로 보도록 한다. (1) 구매, 판매, 경매, 교환 (2) 대여, 할부 판매 (3) 중개인, 대리점 (4) 운송 (5) 수공업, 공업 (6) 도급 (7) 대출업, 저당업, 담보업 (8) 창고업 (9) 외화 환전 또는 매매업, 유가증권 매매업, 은행업, 장 기신용금고업, 송금업 (10) 보험업 (11) 칙령을 통하여 규정하는 기타 사업
이 법은 다음 각 항에 대해서는 적용하지 아니한다. (1) 행상, 노점상 (2) 종교 육성 또는 자선을 위한 사업 (3) 법률 또는 칙령으로 설립 되는 법인의 사업 (4) 부, 청, 국의 사업 (5) 재단, 협회, 협동조합의 사업 (6) 장관이 관보에 게재하는 사업
장관은 특정 지역에서 제6조에 서 명시하는 바에 따른 사업에 대해서는 사업자가 반드시 상업 등기를 하여야 한다고 수시로 정하여 관보에 게재할 권한을 갖도록 한다.
상무부 사업개발국이 이 법에 따른 상업등기 접수를 감독할 책임이 있는 상업등기중앙사무 소가 되도록 한다. 방콕시와 팟타야시 및 도(짱왓) 행정기구는 해당 지역에서 상업 등기 접수를 위한 상업등기사무 소가 되도록 한다. 장관은 관보에 게재하여, 준비 를 완료한 다른 지방 행정 기관 이 해당 지역의 상업등기 접수 를 위한 상업등기사무소가 되도 록 지정하는 권한을 갖도록 한 다. 이와 관련하여 지방 행정 기관은 장관이 고시하는 지방 행정 기관의 관할권 외의 지역 에서 특별히 상업등기를 접수할 권한을 갖도록 한다. 장관은, 일부 유형 사업자의 통 계 수집 및 증거 파악을 목적으 로 사업개발국이 장관이 고시하 는 유형에 따른 상업등기 접수 를 위한 상업등기사무소가 되도 록 정하여 관보에 게재할 권한 을 갖도록 한다.
특정 지역에 본사를 설립하는 사업자는 해당 지역의 상업등기 소에서 등기를 하도록 한다. 만약 본사가 해외에 소재하며 태국에서 사업을 운영한다면, 본점이 위치하고 있는 지역의 상업등기소에서 등기를 하도록 한다. 장관이 사업개발국이 특정 유형 의 사업등기 접수를 하도록 고 시하는 경우, 해당 유형 사업자 는 경우에 따라 본사 또는 본점 이 위치하고 있는 지역의 사업 개발국 상업등기소에서 등기를 하도록 한다.
사업자는 장관이 제8조에 따라 고시한 날부터 30일 이내에 부 령에서 정하는 양식에 따라 지 역의 상업등기소에 상업등기 신 청서를 제출하도록 한다. 장관이 제8조에 따라 고시한 이 후에는 사업 운영자가 그러한 사업 운영을 개시한 날부터 30 일 이내에 상업등기 신청서를 제출하도록 한다. 이 조에서 말하는 기한에 대해 서는, 만약 장관이 합당하다고 판단한다면, 기한 연장을 고시 할 권한을 갖도록 한다.
상업등기는 다음 각 항의 사항 을 갖추도록 한다. (1) 사업 운영자의 성명과 연 령, 종족, 국적 및 주소 (2) 사업 운영에서 사용하는 명칭 (3) 사업 종류 (4) 사업 운영에서 정기적으 로 사용되는 자금액 (5) 본사와 지사, 물류창고 및 대리점 소재지 (6) 합작회사 동업자의 성명 과 연령, 종족, 국적, 주소 및 투자금액과 합작회사의 자금액 (7) 유한회사의 자금액, 주수 및 주식의 가치와 각 국적의 사람이 보유하고 있는 주식 가 치 (8) 태국에서의 사업 개시일 (9) 상업등기 신청일 (10) 사업에서 사용할 명칭, 사업 양도자의 성명과 국적 및 주소, 양수 일자 및 사유
제12조에서 명시한 바에 따른 특정 사항 변경이든 어떠한 사 유에 의한 폐업이라고 하더라도 변경 또는 종료일부터 30일 이 내에 부령에서 정하는 양식에 따라 지역의 등기사무소에 등기 신청서를 제출하도록 한다.
상업등기관이 등기 신청서를 접 수하였으며, 해당 등기 신청서 가 법률 및 이 법에 따라 제정 되는 규칙과 부령 및 고시에 부 합하다고 판단하는 때에는 등기 를 접수하고 신청자에게 상업등 기증을 발급하도록 한다. 만약 상업등기증을 분실하였다 면, 사업자는 분실한 날부터 30 일 이내에 상업등기증 대체 증 서 신청서를 제출하도록 한다. 사업자는 상업등기증 또는 상업 등기증 대체 증서를 사무실에서 쉽게 볼 수 있는 공개된 장소에 전시하도록 한다.
상업 등기를 완료한 때에는, 사 업자는 등록일부터 30일 이내에 사업 운영에 사용하는 명패를 본사 및 지사 앞쪽에 두도록 한 다. 명패는 태국어로 읽기 쉽고 명 확하게 작성하여야 하며, 외국 문자를 포함할 수도 있다. 이와 관련하여 목판이나 철판, 유리 판, 담장 또는 벽 위에 작성하 는 것은 구분하지 아니한다. 간판 또는 어떠한 서류에서의 명칭이라도 등기한 명칭과 일치 하게 사용하여야 하며, 만약 지 사라면 “지사”라는 단어가 포함 되어야 한다.
내각이 임명하는 5인 이상, 7인 이하의 인원으로 구성되는 위원 회 하나를 설치하고, 국민을 기 망하거나, 악의적으로 상품을 혼합하거나, 상품을 위조하거나 기타 심각한 부정 행위를 한 사 업자의 상업등기증 취소에 대하 여 검토하고 장관에게 조언을 제공하는 권한 및 직무를 담당 하며, 신규 상업등기 접수에 대 하여 검토하고 조언을 제공하는 권한을 갖도록 한다. 장관이 첫번째 단락에 따른 위 원회의 조언을 접수한 때에는, 장관은 경우에 따라 상업등기증 을 취소하거나, 신규 상업등기 를 접수하도록 명령할 수도 있 다. 장관이 새로 상업등기를 접수하 도록 명령한 것을 제외하고, 상 업등기증 취소 명령을 받은 사 람 사람이 계속하여 영업하는 것을 금지한다.
상업등기관은 사업자를 소환하 여 상업등기와 관련한 내용에 대하여 심문할 권한을 갖도록 하며, 상업등기관 또는 담당관 은 이 법에 따르도록 하기 위하 여 업무 시간 중에 사업자의 사 무실에 진입하여 조사를 실시하 는 권한을 갖도록 한다. 사업자 는 합당한 바에 따라 상업등기 관 및 담당관에게 편의를 제공 하여야 한다.
이 법에 따른 등기와 관련한 서 류를 조회하거나 담당관에게 복 사 및 인증을 요청하고자 하는 사람은 부령에서 정하는 바에 따른 수수료 납부를 완료한 때 에 실행할 권리를 갖는다.
다음 각 항의 어느 하나에 해당 하는 사람은 2천바트 이하의 벌 금형에 처하며, 연속적인 위반 인 제(1)항에 따른 경우에는 이 법을 준수할 때까지 1일당 100 바트 이하의 가산금을 부과하도 록 한다. (1) 이 법에 따라 등기하지 아니한 사람 (2) 허위 사항을 제시하는 사 람 (3) 등기관이 심문하도록 출 두하지 아니하거나, 진술을 거 부하거나, 등기관 또는 담당관 이 제17조에 따라 진입하여 조사하는 것을 거부하는 사람
제14조 두번째 단락이나 세번째 단락 또는 제15조를 준수하지 아니하는 사람은 200바트 이하 의 벌금형에 처하며, 연속적인 위법 행위인 경우, 이 법을 준 수할 때까지 1일당 20바트의 가산금을 부과하도록 한다.
제16조 세번째 단락을 위반하는 사업자는 1만바트 이하의 벌금 형 또는 1년 이하의 금고형에 처하거나, 벌금형과 금고형을 병과한다.
이 법의 시행일 이전에 등기한 사업은 장관이 해당 등기를 취 소하도록 관보에 고시할 때까지 사용이 가능한 것으로 하며, 특 정 지역에서 상업등기 취소를 고시한 때에는 해당 지역의 상 업등기가 취소된 사업자는 고시 일부터 60일 이내에 새로 등기 신청서를 제출하도록 한다. 상기 기한에 대해서는, 만약 장 관이 합당하다고 판단한다면, 기간 연장을 고시할 수 있는 권 한을 갖도록 한다. 부서 육군 대장 쁠랙 피분쏭크람 총리
1. 상업등기 수수료 50바트 2. 사항 변경 등기 수수료 1회 당 20바트 3. 폐업 등기 수수료 20바트 4. 담당관에게 상업등기부 대체 발급 신청 수수료 1부당 20바 트 5. 개별 사업자의 상업등기 관 련 서류 조회 신청 수수료 1회 당 20바트 6. 담당관에게 개별 사업자의 상업등기 관련 서류 복사 및 인 증 신청 서비스 1부당 50바트