로고

「1942년 환전관리법」

 국가·지역: 태국  제 정 일: 1942년 1월 27일  개 정 일: 2016년 12월 10일(「2016년 환전관리법(제2권)」

ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันท มหิดล คณะผู้ส าเร็จราชการแทนพระองค์ (ตามประกาศประธานสภาผู้แทนราษฎร ลงวันที่ ๔ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๘๐ และวันที่ ๑๖ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๘๔) อาทิตย์ทิพอาภา พล อ. พิชเยนทรโยธิน ปรีดี พนมยงค์ ตราไว้ ณ วันที่ ๒๗ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๘๕ เป็นปีที่ ๙ ในรัชกาลปัจจุบัน โดยที่สภาผู้แทนราษฎรลงมติว่า สมควรมี กฎหมายควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน จึงมีพระบรมราชโองการให้ตราพระราชบัญญัติ ขึ้นไว้โดยค าแนะน าและยินยอมของสภา ผู้แทนราษฎร ดังต่อไปนี้ 아난타마히돈 국왕 폐하의 왕명 (王名)으로 섭정단 아팃팁아파 핏차옌트라요틴 대장 쁘리디 파놈용이 (1937년 8월 4일 및 1941년 12월 16일자 하원의장 고시에 따라) 현 왕조 9번째 해인 1942년 7월 27일에 제정한다. 하원이 환전 관리 관련 법률을 갖추는 것이 마땅하다고 의결하 였으므로, 하원의 조언과 동의를 통하여 다 음과 같이 법을 제정하도록 하시 는 어명이 있으셨다.

มาตรา ๑

พระราชบัญญัตินี้ให้เรียกว่า “พระราชบัญญัติ ควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน พุทธศักราช ๒๔๘๕”

มาตรา ๒

ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้ตั้งแต่วันประกาศในราช กิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

มาตรา ๓

ในพระราชบัญญัตินี้ “เงินตรา” หมายความว่า เงินที่ช าระหนี้ได้ตาม กฎหมายในประเทศไทย “เงินตราต่างประเทศ” หมายความว่า เงินที่ช าระ หนี้ได้ตามกฎหมายในประเทศอื่นใดนอกจาก ประเทศไทย และหมายความรวมตลอดถึงค่า แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ “ค่าแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ” หมายความว่า เงินฝากคงเหลือในธนาคาร ตั๋ว แลกเงิน เช็ค ตั๋วสัญญาใช้เงิน โทรเลขสั่งโอนเงิน หนังสือสั่งโอนเงิน หรือธนาณัติบรรดาที่จะพึง จ่ายเป็นเงินตราต่างประเทศ “ทองค า” หมายความว่า เหรียญกษาปณ์ทองค า ทองค าแท่ง หรือก้อน “หลักทรัพย์” หมายความว่า หุ้น พันธบัตร หุ้นกู้ และใบรับเงินฝาก “เจ้าพนักงาน” หมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับ แต่งตั้งเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการ ตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๔

ให้รัฐมนตรีมีอ านาจออกกฎกระทรวงควบคุม ก ากัด หรือห้ามการปฏิบัติกิจการทั้งปวงเกี่ยวกับ การแลกเปลี่ยนเงินหรือการอื่นซึ่งมีเงินตรา ต่างประเทศเข้ามาเกี่ยวข้องไม่ว่าในรูปใด และ ให้มีอ านาจออกกฎกระทรวงในข้อต่อไปนี้ด้วย

(๑) การซื้อ การขาย การให้กู้ยืมเงินตรา ต่างประเทศหรือทองค า

(๒) การส่งเงินตรา ธนาคารบัตร ธนาณัติ หลักทรัพย์ เงินตราต่างประเทศ หรือทองค า ออกไปนอกประเทศ

(๓) การโอนหลักทรัพย์จากประเทศไทยไปที่ อื่น

(๔) การออกตั๋วแลกเงินหรือตั๋วสัญญาใช้เงิน การท าให้ตั๋วแลกเงินหรือตั๋วสัญญาใช้เงิน เปลี่ยนมือ การโอนหลักทรัพย์ หรือการรับ สภาพหนี้อันเป็นการก่อให้เกิดหรือโอนไปซึ่ง สิทธิที่จะได้รับช าระเงินในประเทศไทยเป็นการ ตอบแทน

(ก) การรับช าระเงินหรือการได้มาซึ่งทรัพย์สิน ที่อยู่นอกประเทศไทย (ข) การได้สิทธิที่จะได้รับช าระเงิน หรือการได้ สิทธิที่จะได้รับมาซึ่งทรัพย์สินที่อยู่นอก ประเทศไทย รวมตลอดถึงการช าระเงินเป็นการตอบแทนการ ดังกล่าวนี้ด้วย

(๕) การก าหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงิน โดยเฉพาะการนี้ถ้ารัฐมนตรีเห็นสมควรก็ให้ กระท าโดยประกาศได้ (๖) การอนุญาตให้ธนาคารหรือบุคคลอื่นใด ท าการแลกเปลี่ยนเงิน

(๖) การอนุญาตให้ธนาคารหรือบุคคลอื่นใด ท าการแลกเปลี่ยนเงิน

(๗) สั่งให้ขายของขาออกเป็นเงินตรา ต่างประเทศ หรือช าระเงินค่าของขาเข้าเป็น เงินตราต่างประเทศ ทั้งนี้ จะระบุชื่อเงินตรา ต่างประเทศนั้นด้วยก็ได้

(๘) สั่งให้ขายเงินตราต่างประเทศที่ได้มาจาก ของขาออกหรือซื้อเงินตราต่างประเทศเพื่อ ช าระค่าของขาเข้าให้แก่หรือจากบุคคลที่ รัฐมนตรีก าหนดและก าหนดระยะเวลา วิธีการ และเงื่อนไขแห่งการขายและซื้อดังกล่าวนั้น

(๙) กัก ก ากัด หรือห้ามการส่งออกซึ่งของเมื่อ มิได้ขายเงินตราต่างประเทศที่ได้มาจากของ นั้น หรือการน าเข้าซึ่งของเมื่อมิได้ซื้อเงินตรา ต่างประเทศเพื่อช าระค่าของนั้นตาม ระยะเวลา วิธีการ หรือเงื่อนไขที่ได้ก าหนดไว้

(๑๐) ก าหนดวิธีการและเงื่อนไขในการรับหรือ การใช้จ่ายเงินที่ส่งมาจากเมืองต่างประเทศ

(๑๑) ก าหนดให้ผู้ส่งของออกหรือผู้น าของเข้า แจ้งรายการเกี่ยวกับเงินที่ได้รับหรือได้ช าระ เป็นค่าของที่ส่งออกหรือที่น าเข้าพร้อมทั้งแจ้ง รายการแห่งของนั้น

มาตรา ๔ ทวิ

ในการซื้อหรือขายเงินตราต่างประเทศหรือ เล็ตเตอร์ออฟเครดิต และการโอนเงินระหว่าง ประเทศ ธนาคารหรือบุคคลอื่นใดที่ได้รับ อนุญาตให้ท าการแลกเปลี่ยนเงิน ต้องท าการนั้น ให้ถูกต้องตามประกาศหรือค าสั่งของรัฐมนตร

มาตรา ๕

ให้รัฐมนตรีมีอ านาจสั่งให้ผู้มีทองค า เครดิตหรือ เงินตราต่างประเทศ สิทธิที่จะได้รับเครดิตหรือ เงินตราต่างประเทศ หรือหลักทรัพย์ต่างประเทศ ให้ขายให้แก่เจ้าพนักงานหรือบุคคลอื่นใดที่ รัฐมนตรีก าหนด และให้รับเงินตราตามอัตรา แลกเปลี่ยนที่รัฐมนตรีก าหนด ให้ผู้ที่ได้รับค าสั่งของรัฐมนตรีซึ่งได้สั่งตามความ ในวรรคก่อนปฏิบัติตามค าสั่งภายในเวลาที่ ก าหนด

มาตรา ๖

การซื้อขายทรัพย์สินอย่างหนึ่งอย่างใดตาม มาตรา ๕ ไม่ต้องเสียอากรแสตมป

มาตรา ๖/๑

นอกจากการออกกฎกระทรวงตามมาตรา ๔ เพื่อ ประโยชน์ในการป้องกันและปราบปรามการฟอก เงินและการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการ ร้าย ให้รัฐมนตรีมีอ านาจออกกฎกระทรวง ก าหนดเกี่ยวกับการส่งหรือน าเงินตรา เงินตรา ต่างประเทศและตราสารเปลี่ยนมือออกไปนอก หรือเข้ามาในประเทศ ตราสารเปลี่ยนมือตามวรรคหนึ่ง หมายความว่า ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน เช็ค หรือตราสารอื่น ใดที่รัฐมนตรีประกาศก าหนด แต่ไม่รวมถึงตรา สารเปลี่ยนมือที่ระบุชื่อผู้รับเงิน และมีข้อก าหนด ห้ามเปลี่ยนมือ เงินตรา เงินตราต่างประเทศ และตราสารเปลี่ยน มือตามมาตรานี้ ให้ถือว่าเป็นของตามกฎหมาย ว่าด้วยศุลกากร และให้น าบทบัญญัติมาตรา ๘ ทวิ วรรคสอง มาใช้บังคับ

มาตรา ๗

ให้รัฐมนตรีมีอ านาจแต่งตั้งเจ้าพนักงานและ ก าหนดอ านาจหน้าที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวแก่ การเรียกให้แสดงสมุด บัญชี และเอกสารอันควร แก่เรื่อง

มาตรา ๗ ทวิ

เมื่อรัฐมนตรีได้มอบหมายให้ธนาคารแห่ง ประเทศไทยเป็นผู้ด าเนินการตาม พระราชบัญญัตินี้แทนแล้ว ให้ผู้ว่าการธนาคาร แห่งประเทศไทยแต่งตั้งพนักงานของธนาคาร เป็นเจ้าพนักงานตามความในพระราชบัญญัตินี้ ได้

มาตรา ๘

ผู้ใดฝ่าฝืนหรือละเลยไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวง ประกาศหรือค าสั่งที่ออกตามความใน พระราชบัญญัตินี้ มีความผิดต้องระวางโทษปรับ ไม่เกินสองหมื่นบาท หรือจ าคุกไม่เกินสามปี หรือ ทั้งปรับทั้งจ า

มาตรา ๘ ทวิ

เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและปราบปรามการ ลักลอบส่งหรือน าเงินออกไปนอกหรือเข้ามาใน ประเทศไทย ให้ถือว่าเงินตรา เงินตรา ต่างประเทศ ธนาคารบัตรต่างประเทศ หรือ หลักทรัพย์ไม่ว่าของไทยหรือต่างประเทศเป็น ของตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร การส่งหรือน า หรือพยายามส่งหรือน า หรือ ช่วยเหลือหรือเกี่ยวข้องด้วยประการใด ๆ ในการ ส่งหรือน าเงินตรา เงินตราต่างประเทศ ธนาคาร บัตรต่างประเทศ หรือหลักทรัพย์ไม่ว่าของไทย หรือต่างประเทศออกไปนอกหรือเข้ามาใน ประเทศไทย โดยฝ่าฝืนหรือละเลยไม่ปฏิบัติตาม กฎกระทรวง ประกาศ หรือค าสั่งที่ออกตาม ความในพระราชบัญญัตินี้ ไม่ว่าจะกระท าด้วย วิธีใด ๆ ให้ถือว่าเป็นการส่งหรือน าของต้องจ ากัด ออกไปนอกหรือเข้ามาในประเทศไทยอันเป็น ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรด้วย และ ให้น าบทกฎหมายว่าด้วยศุลกากรและอ านาจ พนักงานศุลกากรตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ว่าด้วยการตรวจของและ ป้องกันลักลอบหนีศุลกากร การตรวจค้น การยึด และริบของ หรือการจับกุมผู้กระท าผิด การแสดง เท็จ และการฟ้องร้องมาใช้บังคับแก่การกระท า ดังกล่าวรวมทั้งบุคคลและสิ่งของที่เกี่ยวข้อง

มาตรา ๙

ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังรักษาการ ตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอ านาจออก กฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติ นี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจา นุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี

「1942년 환전관리법」

 국가·지역: 태국  제 정 일: 1942년 1월 27일  개 정 일: 2016년 12월 10일(「2016년 환전관리법(제2권)」

ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันท มหิดล คณะผู้ส าเร็จราชการแทนพระองค์ (ตามประกาศประธานสภาผู้แทนราษฎร ลงวันที่ ๔ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๘๐ และวันที่ ๑๖ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๘๔) อาทิตย์ทิพอาภา พล อ. พิชเยนทรโยธิน ปรีดี พนมยงค์ ตราไว้ ณ วันที่ ๒๗ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๘๕ เป็นปีที่ ๙ ในรัชกาลปัจจุบัน โดยที่สภาผู้แทนราษฎรลงมติว่า สมควรมี กฎหมายควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน จึงมีพระบรมราชโองการให้ตราพระราชบัญญัติ ขึ้นไว้โดยค าแนะน าและยินยอมของสภา ผู้แทนราษฎร ดังต่อไปนี้ 아난타마히돈 국왕 폐하의 왕명 (王名)으로 섭정단 아팃팁아파 핏차옌트라요틴 대장 쁘리디 파놈용이 (1937년 8월 4일 및 1941년 12월 16일자 하원의장 고시에 따라) 현 왕조 9번째 해인 1942년 7월 27일에 제정한다. 하원이 환전 관리 관련 법률을 갖추는 것이 마땅하다고 의결하 였으므로, 하원의 조언과 동의를 통하여 다 음과 같이 법을 제정하도록 하시 는 어명이 있으셨다.

제1조

이 법은 “1942년 환전관리법” 이라고 한다.

제2조

이 법은 관보에 게재한 날부터 시행하도록 한다.

제3조

이 법에서 사용하는 용어의 뜻 은 다음과 같다. “통화”란 태국 국내법에 따라 변제가 가능한 금전을 말한다. “외화”란 태국 이외 기타 국가 의 법률에 따라 변제 가능한 금 전을 말하여, 아울러 외국환을 포함하여 말한다. “외국환”이란 은행 잔고나 환어 음, 수표, 약속어음, 전신환, 우 편환 또는 외화로 지불되어야 하는 모든 환어음을 말한다. “금”이란 금화나 금괴 또는 금 덩어리를 말한다. “유가 증권”이란 주식과 채권, 사채 및 예탁 증권을 말한다. “담당관”이란 이 법의 집행을 위하여 임명된 사람을 말한다. “장관”이란 이 법에 따른 주무 장관을 말한다.

제4조

장관에게 환전과 관련한 모든 사업 또는 어떠한 형태이든지 외화가 유입되어 관련되는 기타 업무 수행을 단속하거나 금지하 는 부령을 제정하는 권한을 부 여한다. 또한, 다음 각 항에 해 당하는 부령 제정권을 부여한 다.

(1) 외화 또는 금의 매입, 매 각, 대출

(2) 통화, 은행권, 환어음, 유 가 증권, 외화 또는 금의 해외 반출

(3) 태국에서 다른 곳으로의 유가 증권 이체

(4) 보수로 태국 국내에서 지 급받을 권리를 발생 또는 양도 하도록 하는 환어음 또는 약속 어음 발행, 환어음 또는 약속 어음 손 바뀜, 유가 증권 양도 나 부채 상황 인수

(ㄱ) 태국 국외에 있는 금전 인 수 또는 유가 증권 취득 (ㄴ) 태국 국외에 있는 금전 인 수권 또는 유가 증권 취득권 획득 보수로 취득하는 다음 각 항에 해당하는 금전까지 포함한다.

(5) 환율 규정, 특히 이러한 경우, 만약 장관이 합당하다고 판단한다면, 고시를 통하여 이 행하도록 할 수 있다.

(6) 은행 또는 특정인이 환전 을 하도록 하는 승인

(7) 수출품을 외화로 판매하거 나, 수입품의 대금을 외화로 지불하도록 하는 지시, 이와 관련하여 해당 외화를 명시할 수도 있다.

(8) 장관이 지정하는 사람에게 물품 수출로 취득한 외화를 매 각하거나 해당자에게 수입품 대금으로 지급할 외화를 매입 하도록 하는 지시 및 해당 매 각 또는 매입의 기간과 절차 및 조건을 규정

(9) 규정한 기간이나 절차 또 는 조건에 따라 물품 수출로 취득한 외화를 매각하지 아니 한 때에는 해당 물품의 수출에 대하여, 또는 수입품의 대금을 지급하기 위하여 외화를 구입 하지 아니한 때에는 해당 물품 의 수입을 막거나 제한 또는 금지

(10) 외국 도시에서 송금한 금 전에 대한 인수 또는 지급 절 차 및 조건 규정

(11) 수출업자 또는 수입업자 가 수출 또는 수입 물품 대금 을 취득하거나 지급하는 것과 관련한 사항과 아울러 해당 물 품의 사항을 신고하도록 규정

제4조의 부칙

외화 또는 신용장 매입이나 매 각 및 국가나 은행 또는 환전 허가를 받은 특정인 사이의 송 금은 고시 또는 장관의 명령에 따라 정확하게 이행하여야 한 다.

제5조

장관은 금이나 신용 또는 외화 나 신용 또는 외화 취득권 또는 외국 유가 증권을 보유한 사람 에 대하여 담당관 또는 장관이 지정하는 특정인에게 매각하고 장관이 정하는 환율에 따라 통 화를 수령하도록 하는 명령권을 갖도록 한다. 이전 단락의 내용에 따라 명령 한 장관의 명령을 받은 사람은 기한 내에 명령에 따라 이행하 도록 한다.

제6조

제5조에 따른 어떠한 한가지 자 산에 대한 매각은 인지세를 납 부할 필요가 없다.

제6조의1

장관은, 자금 세탁 및 소요 사 태를 야기하는 데에 재정적 지 원을 하는 것을 방지하고 단속 하는 목적을 위한 제4조에 따른 부령 제정 이외에, 통화와 외화 및 유통 증권의 국외 수출 또는 국내 수입과 관련하여 규정하는 부령 제정권을 갖도록 한다. 첫번째 단락에 따른 유통 증권 은 환어음이나 약속어음 또는 장관이 고시하는 기타 증권을 뜻하나, 인수자 성명을 명시하 고 양도를 금지하는 기타 증권 은 포함하지 아니한다. 이 조에 따른 통화와 외화 및 유통 증권은 관세 법률에 따른 것으로 보도록 하며, 제8조의 부칙 두번째 단락의 규정을 적 용하도록 한다.

제7조

장관은, 특별히 사안에 합당한 장부와 계정 및 서류를 제시하 도록 하는 요구와 관련한여 담 당관을 임명하고 권한과 직무를 규정하는 권한을 갖도록 한다.

제7조의 부칙

장관이 태국은행을 이 법에 따 른 대행자로 임명한 때에는, 태 국은행장이 은행의 직원을 이 법에 따른 담당관으로 임명할 수 있도록 한다.

제8조

이 법의 내용에 따라 제정되는 부령이나 고시 또는 명령을 위반하거나 이행하지 아니하고 무 시하는 사람은 2만바트 이하의 벌금형 또는 3년 이하의 금고형 에 처하거나 벌금형 및 금고형 이 병과한다.

제8조의 부칙

태국 국외로의 무단 송금 또는 태국 국내로의 무단 입금 방지 및 단속의 목적을 위하여 통화 또는 외화, 외국 은행권이나, 태 국 또는 외국의 것인지를 불문 하는 유가 증권은 관세 관련 법 률에 따른 것으로 보도록 한다. 이 법의 내용에 따라 제정되는 부령이나 고시 또는 명령을 위 반하거나 이행하지 아니하고 무 시하는 통화 또는 외화, 외국 은행권이나, 태국 및 외국의 유 가 증권 송금 또는 입금, 송금 이나 입금 시도 또는 송금이나 입금에 관한 특정한 조력은 관 세 관련 법률에 따른 범죄로 태 국 국외 송금 또는 국내 입금을 제한하여야 하는 물품 수출이나 수입으로 보도록 하며, 관세 관 련 법률 내용과 특히 물품 조사 및 세관 회피 방지, 물품 수색 과 압류 및 몰수 또는 범법자 체포, 허위 신고 및 기소에 관 한 세관원의 권한 관련 법률을 관련인 및 관련 물품을 포함한 해당 행위에 적용하도록 한다.

제9조

재무부 장관이 이 법에 따른 주 무 장관이 되도록 하며, 이 법 에 따른 집행을 위한 부령 제정 권을 갖도록 한다. 해당 부령은 관보에 게재를 완 료하였을 때 시행하도록 한다. 부서 육군 원수 쁠랙 피분쏭크람 총리