「2015년 전염병법」
• 국가·지역: 태국 • 제 정 일: 2015년 8월 10일
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติ โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘”
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นก าหนดหนึ่ง ร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจา นุเบกษาเป็นต้นไป
ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๒๓
ในพระราชบัญญัตินี้ “โรคติดต่อ” หมายความว่า โรคที่เกิดจากเชื้อโรค หรือพิษของเชื้อโรคซึ่งสามารถแพร่โดยทางตรง หรือทางอ้อมมาสู่คน “โรคติดต่ออันตราย” หมายความว่า โรคติดต่อที่ มีความรุนแรงสูงและสามารถแพร่ไปสู่ผู้อื่นได้ อย่างรวดเร็ว “โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง” หมายความว่า โรคติดต่อที่ต้องมีการติดตาม ตรวจสอบ หรือ จัดเก็บข้อมูลอย่างต่อเนื่อง “โรคระบาด” หมายความว่า โรคติดต่อหรือโรคที่ ยังไม่ทราบสาเหตุของการเกิดโรคแน่ชัด ซึ่งอาจ แพร่ไปสู่ผู้อื่นได้อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง หรือ มีภาวะของการเกิดโรคมากผิดปกติกว่าที่เคย เป็นมา “พาหะ” หมายความว่า คนหรือสัตว์ซึ่งไม่มี อาการของโรคติดต่อปรากฏแต่ร่างกายมีเชื้อโรค นั้น ซึ่งอาจติดต่อถึงผู้อื่นได้ “ผู้สัมผัสโรค” หมายความว่า คนซึ่งได้เข้าใกล้ชิด คน สัตว์ หรือสิ่งของติดโรค จนเชื้อโรคนั้นอาจ ติดต่อถึงผู้นั้นได้ “ระยะติดต่อของโรค” หมายความว่า ระยะเวลา ที่เชื้อโรคสามารถแพร่จากคนหรือสัตว์ที่มีเชื้อโรค ไปยังผู้อื่นได้โดยทางตรงหรือทางอ้อม “แยกกัก” หมายความว่า การแยกผู้สัมผัสโรค หรือพาหะไว้ต่างหากจากผู้อื่นในที่เอกเทศ เพื่อ ป้องกันมิให้เชื้อโรคแพร่โดยทางตรงหรือทางอ้อม ไปยังผู้ซึ่งอาจได้รับเชื้อโรคนั้น ๆ ได้ จนกว่าจะ พ้นระยะติดต่อของโรค “กักกัน” หมายความว่า การควบคุมผู้สัมผัสโรค หรือพาหะให้อยู่ในที่เอกเทศ เพื่อป้องกันมิให้เชื้อ โรคแพร่โดยทางตรงหรือทางอ้อมไปยังผู้ซึ่งอาจ ได้รับเชื้อโรคนั้น ๆ ได้ จนกว่าจะพ้นระยะฟักตัว ของโรคหรือจนกว่าจะพ้นความเป็นพาหะ “คุมไว้สังเกต” หมายความว่า การควบคุมดูแลผู้ สัมผัสโรคหรือพาหะโดยไม่กักกัน และอาจจะ อนุญาตให้ผ่านไปในที่ใด ๆ ก็ได้ โดยมีเงื่อนไขว่า เมื่อไปถึงท้องที่ใดที่ก าหนดไว้ ผู้นั้นต้องแสดงตัว ต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจ าท้องที่ นั้นเพื่อรับการตรวจในทางแพทย์ เพื่อป้องกันมิ ให้เชื้อโรคแพร่โดยทางตรงหรือทางอ้อมไปยังผู้ ซึ่งอาจได้รับเชื้อโรคนั้น ๆ ได้ “ระยะฟักตัวของโรค” หมายความว่า ระยะเวลา ตั้งแต่เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายจนถึงเวลาที่ผู้ติดโรค แสดงอาการป่ วยของโรคนั้น “เขตติดโรค” หมายความว่า ท้องที่หรือเมืองท่า ใดนอกราชอาณาจักรที่มีโรคติดต่ออันตรายหรือ โรคระบาดเกิดขึ้น “การสอบสวนโรค” หมายความว่า กระบวนการ เพื่อหาสาเหตุ แหล่งที่เกิดและแหล่งแพร่ของโรค เพื่อประโยชน์ในการควบคุมโรค “การเฝ้าระวัง” หมายความว่า การสังเกต การ เก็บรวบรวม และการวิเคราะห์ข้อมูล ตลอดจน การรายงาน และการติดตามผลของการแพร่ของ โรคอย่างต่อเนื่องด้วยกระบวนการที่เป็นระบบ เพื่อประโยชน์ในการควบคุมโรค “พาหนะ” หมายความว่า ยานพาหนะ สัตว์ หรือ วัตถุ ซึ่งใช้ในการขนส่งคน สัตว์ หรือสิ่งของโดย ทางบก ทางน ้า หรือทางอากาศ “เจ้าของพาหนะ” หมายความรวมถึง ตัวแทน เจ้าของ ผู้เช่า ตัวแทนผู้เช่า หรือผู้ครอบครอง พาหนะนั้น “ผู้ควบคุมพาหนะ” หมายความว่า ผู้รับผิดชอบ ในการควบคุมพาหนะ “ผู้เดินทาง” หมายความว่า คนซึ่งเดินทางเข้ามา ในราชอาณาจักร และให้หมายความรวมถึงผู้ ควบคุมพาหนะและคนประจ าพาหนะ “การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค” หมายความว่า การกระท าทางการแพทย์ต่อคน หรือสัตว์โดย วิธีการใด ๆ เพื่อให้คนหรือสัตว์เกิดความ ต้านทานโรค “ที่เอกเทศ” หมายความว่า ที่ใด ๆ ซึ่งเจ้า พนักงานควบคุมโรคติดต่อก าหนดให้เป็นที่ ส าหรับแยกกักหรือกักกันคนหรือสัตว์ที่เป็นหรือมี เหตุสงสัยว่าเป็นโรคติดต่อใด ๆ เพื่อป้องกันมิให้ โรคนั้นแพร่โดยทางตรงหรือทางอ้อมไปยังผู้ซึ่ง อาจได้รับเชื้อโรคนั้น ๆ ได้ “สุขาภิบาล” หมายความว่า การควบคุม ป้องกัน หรือรักษาสภาพสิ่งแวดล้อมและปัจจัยที่มีผลต่อ การเกิดหรือการแพร่ของโรคติดต่อ “ช่องทางเข้าออก” หมายความว่า ช่องทางหรือ สถานที่ใด ๆ ที่ใช้ส าหรับผ่านเข้าออกระหว่าง ประเทศของผู้เดินทาง พาหนะ และสิ่งของต่าง ๆ ทั้งนี้ ให้หมายความรวมถึงพื้นที่หรือบริเวณที่ จัดไว้เพื่อให้บริการดังกล่าว “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการ โรคติดต่อแห่งชาติ “คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด” หมายความว่า คณะกรรมการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ประจ าจังหวัด “คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร” หมายความว่า คณะกรรมการป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อประจ ากรุงเทพมหานคร “หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า ราชการ ส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วน ท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และ หน่วยงานอื่นของรัฐ “เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้ “อธิบดี” หมายความว่า อธิบดีกรมควบคุมโรค “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการ ตามพระราชบัญญัตินี้
ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอ านาจ แต่งตั้งเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ ออก กฎกระทรวงก าหนดกิจการอื่น ตลอดจนออก ระเบียบหรือประกาศเพื่อปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศนั้น เมื่อได้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุม โรคติดต่อ ให้รัฐมนตรีโดยค าแนะน าของ คณะกรรมการมีอ านาจประกาศก าหนด ดังต่อไปนี้
เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุม โรคติดต่อ ให้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการมีอ านาจประกาศก าหนด ดังต่อไปนี้
เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุม โรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาดที่อาจจะเข้ามา ภายในราชอาณาจักร ให้รัฐมนตรีโดยค าแนะน า ของคณะกรรมการด้านวิชาการมีอ านาจประกาศ ให้ท้องที่หรือเมืองท่าใดนอกราชอาณาจักรเป็น เขตติดโรค และยกเลิกประกาศเมื่อสภาวการณ์ ของโรคนั้นสงบลงหรือกรณีมีเหตุอันสมควร
เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรค ระบาด ให้อธิบดีโดยค าแนะน าของ คณะกรรมการด้านวิชาการมีอ านาจประกาศชื่อ อาการส าคัญ และสถานที่ที่มีโรคระบาด และ แจ้งให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อตามมาตรา ๓๔ ทราบ รวมทั้งประกาศยกเลิกเมื่อ สภาวการณ์ของโรคนั้นสงบลงหรือกรณีมีเหตุอัน สมควร
ในกรณีที่ข้อมูลจากการเฝ้าระวัง การสอบสวน โรค หรือการแจ้งหรือรายงานตาม พระราชบัญญัตินี้ ซึ่งมีการพาดพิงถึงตัวบุคคล ทั้งที่ระบุตัวได้หรือไม่สามารถระบุตัวได้ จะต้อง เก็บเป็นความลับและประมวลผลโดยไม่เปิดเผย ชื่อ ทั้งนี้ การประมวลผลดังกล่าวจะต้อง เหมาะสมและตรงกับวัตถุประสงค์ในการป้องกัน และควบคุมโรค เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่ออาจเปิดเผยข้อมูล ตามวรรคหนึ่งบางส่วนที่เกี่ยวกับการรักษา การ ป้องกัน การควบคุมโรคติดต่ออันตราย หรือการ เกิดโรคระบาด ซึ่งมีผลกระทบต่อสุขภาพของ ประชาชน โดยได้รับค ายินยอมจากเจ้าของ ข้อมูลหรือตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ คณะกรรมการประกาศก าหนด
ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ” ประกอบด้วย
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการด ารงต าแหน่ง คราวละสามปี ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากต าแหน่ง ก่อนครบวาระ ให้รัฐมนตรีแต่งตั้งกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเดียวกันแทนภายในสามสิบวัน นับแต่วันที่พ้นจากต าแหน่ง และให้ผู้ได้รับ แต่งตั้งให้ด ารงต าแหน่งแทนอยู่ในต าแหน่ง เท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการซึ่งตนแทน เว้นแต่วาระของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจะ เหลืออยู่ไม่ถึงเก้าสิบวัน รัฐมนตรีจะไม่ ด าเนินการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทนก็ ได้และในการนี้ให้คณะกรรมการประกอบด้วย กรรมการเท่าที่เหลืออยู่
นอกจากการพ้นจากต าแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากต าแหน่งเมื่อ
ให้คณะกรรมการมีอ านาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
การประชุมของคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการ มาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ านวน กรรมการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ จึงเป็นองค์ประชุม ให้ประธานกรรมการเป็นประธานในที่ประชุม ถ้า ประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติ หน้าที่ได้ ให้กรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการ คนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้าง มาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุม ออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด
ให้มีคณะกรรมการด้านวิชาการคณะหนึ่ง ประกอบด้วยประธานกรรมการซึ่งแต่งตั้งจาก กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๑๑ (๔) และ ให้มีกรรมการซึ่งแต่งตั้งจากผู้มีความรู้ความ เชี่ยวชาญ และประสบการณ์ด้านโรคติดต่อ อีก จ านวนไม่เกินเจ็ดคน คณะกรรมการด้านวิชาการมีอ านาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
ให้น าความในมาตรา ๑๒ และมาตรา ๑๓ มาใช้ บังคับแก่กรณีวาระการด ารงต าแหน่งและการพ้น จากต าแหน่งของคณะกรรมการด้านวิชาการโดย อนุโลม
ให้น าความในมาตรา ๑๕ มาใช้บังคับแก่การ ประชุมของคณะกรรมการด้านวิชาการและ คณะอนุกรรมการโดยอนุโลม
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้ คณะกรรมการ คณะกรรมการด้านวิชาการ และ คณะอนุกรรมการมีอ านาจออกค าสั่งเป็นหนังสือ เรียกให้บุคคลใด ๆ มาให้ข้อเท็จจริงหรือแสดง ความคิดเห็น หรือให้จัดส่งข้อมูล หรือเอกสาร ใด ๆ ที่จ าเป็นหรือข้อคิดเห็นมาเพื่อใช้ ประกอบการพิจารณาได้
ให้กรมควบคุมโรคเป็นส านักงานเลขานุการของ คณะกรรมการ คณะกรรมการด้านวิชาการ และ คณะอนุกรรมการ รับผิดชอบงานธุรการ โดยให้มี อ านาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
ให้มีคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด ประกอบด้วย
การแต่งตั้ง วาระการด ารงต าแหน่ง และการพ้น จากต าแหน่งของกรรมการตามมาตรา ๒๐ (๓) (๔) และ (๕) และกรรมการตามมาตรา ๒๐ วรรคสอง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขที่คณะกรรมการประกาศก าหนด
ให้คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดมีอ านาจ หน้าที่ ดังต่อไปนี้
คณะท างานประจ าช่องทางเข้าออก ประกอบด้วย
ให้คณะท างานประจ าช่องทางเข้าออกมีอ านาจ หน้าที่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ดังต่อไปนี้
ให้น าความในมาตรา ๑๕ มาใช้บังคับแก่การ ประชุมของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดและ คณะท างานประจ าช่องทางเข้าออกโดยอนุโลม
ให้มีคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย
การแต่งตั้ง วาระการด ารงต าแหน่ง และการพ้น จากต าแหน่งของกรรมการตามมาตรา ๒๖ (๓) (๔) และ (๕) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการประกาศก าหนด
ให้คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานครมี อ านาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
ให้น าความในมาตรา ๑๕ มาใช้บังคับแก่การ ประชุมของคณะกรรมการโรคติดต่อ กรุงเทพมหานครและคณะท างานประจ าช่อง ทางเข้าออกโดยอนุโลม
ให้น าความในมาตรา ๒๓ และมาตรา ๒๔ มาใช้ บังคับแก่องค์ประกอบ และอ านาจหน้าที่ของ คณะท างานประจ าช่องทางเข้าออกที่ คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานครแต่งตั้ง โดยอนุโลม
ในกรณีที่มีโรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อที่ต้อง เฝ้าระวัง หรือโรคระบาดเกิดขึ้นให้บุคคล ดังต่อไปนี้แจ้งต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ
เมื่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อได้รับแจ้งตาม มาตรา ๓๑ ว่ามีเหตุสงสัย มีข้อมูลหรือหลักฐาน ว่ามีโรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง หรือโรคระบาด ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ แจ้งคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดหรือ คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณี และรายงานข้อมูลนั้นให้กรม ควบคุมโรคทราบโดยเร็ว
ในกรณีที่มีเหตุอันควรสงสัยว่ามีโรคติดต่อ อันตราย โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังหรือโรคระบาด เกิดขึ้นในต่างประเทศ ให้กรมควบคุมโรค ประสานงานไปยังองค์การอนามัยโลกเพื่อขอ ข้อมูลเกี่ยวกับโรคดังกล่าว
เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุม โรคติดต่อ เมื่อเกิดโรคติดต่ออันตรายหรือโรค ระบาดหรือมีเหตุสงสัยว่าได้เกิดโรคติดต่อ อันตรายหรือโรคระบาดในเขตพื้นที่ใด ให้เจ้า พนักงานควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่นั้นมีอ านาจที่ จะด าเนินการเองหรือออกค าสั่งเป็นหนังสือให้ ผู้ใดด าเนินการ ดังต่อไปนี้
ในกรณีที่มีเหตุจ าเป็นเร่งด่วนเพื่อเป็นการ ป้องกันการแพร่ของโรคติดต่ออันตรายหรือโรค ระบาด ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดโดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด หรือผู้ว่า ราชการกรุงเทพมหานครโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร มี อ านาจในพื้นที่ความรับผิดชอบของตน ดังต่อไปนี้
ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดหรือผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานครโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณี จัดตั้งหน่วยปฏิบัติการควบคุม โรคติดต่อขึ้นในทุกอ าเภอหรือทุกเขตอย่างน้อย หนึ่งหน่วย เพื่อท าหน้าที่ในการเฝ้าระวัง สอบสวนโรค ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ อันตรายหรือโรคระบาด ทั้งนี้ หลักเกณฑ์การ จัดตั้งหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อให้ เป็นไปตามที่คณะกรรมการประกาศก าหนด หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อตามวรรคหนึ่ง อย่างน้อยต้องประกอบด้วยเจ้าพนักงานควบคุม โรคติดต่อหนึ่งคน เจ้าหน้าที่ทางการแพทย์และ การสาธารณสุขสองคน และอาจแต่งตั้ง เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือ หน่วยงานภาคเอกชน ตามจ านวนที่ผู้ว่าราชการ จังหวัดหรือผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เห็นสมควรเป็นหน่วยปฏิบัติการควบคุม โรคติดต่อร่วมด้วยก็ได้
ให้ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบช่องทางเข้าออกปฏิบัติ ตามวิธีการเพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกัน และ ควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ในบริเวณช่อง ทางเข้าออก ดังต่อไปนี้
เมื่อมีเหตุอันสมควร ให้เจ้าพนักงานควบคุม โรคติดต่อประจ าด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่าง ประเทศมีอ านาจตรวจตรา ควบคุม ก ากับดูแล ในพื้นที่นอกช่องทางเข้าออก และแจ้งให้เจ้า พนักงานท้องถิ่นด าเนินการก าจัดยุงและพาหะ น าโรคในบริเวณรัศมีสี่ร้อยเมตรรอบช่อง ทางเข้าออก ในการนี้ ให้เจ้าของหรือผู้อยู่ใน บ้าน โรงเรือน หรือสถานที่ในบริเวณดังกล่าว อ านวยความสะดวกแก่เจ้าพนักงานควบคุม โรคติดต่อประจ าด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่าง ประเทศและเจ้าพนักงานท้องถิ่นตามสมควร
ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อระหว่าง ประเทศ เมื่อมีเหตุอันสมควรหรือมีเหตุสงสัยว่า พาหนะนั้นมาจากท้องที่หรือเมืองท่าใดนอก ราชอาณาจักรที่มีโรคระบาด ให้เจ้าพนักงาน ควบคุมโรคติดต่อประจ าด่านควบคุมโรคติดต่อ ระหว่างประเทศมีอ านาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
การแจ้งและการยื่นเอกสารของเจ้าของพาหนะ หรือผู้ควบคุมพาหนะตาม (๑) และ (๒) และการ ห้ามเจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะตาม (๕) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขที่ก าหนดในกฎกระทรวง
เมื่อรัฐมนตรีประกาศให้ท้องที่หรือเมืองท่าใด นอกราชอาณาจักรเป็นเขตติดโรคตามมาตรา ๘ ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจ าด่าน ควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ มีอ านาจ ด าเนินการเอง หรือออกค าสั่งเป็นหนังสือให้ เจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะที่เข้ามาใน ราชอาณาจักรจากท้องที่หรือเมืองท่านั้น ด าเนินการดังต่อไปนี้
ให้เจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะเป็นผู้ ออกค่าใช้จ่ายในการขนส่งผู้เดินทางซึ่งมากับ พาหนะนั้น เพื่อแยกกัก กักกัน คุมไว้สังเกต หรือ รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตลอดทั้งออก ค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงดู การรักษาพยาบาล การ ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ตามมาตรา ๔๐ และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง การก าหนดค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการด าเนินการ ตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศก าหนดโดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการ
ในกรณีที่พบว่าผู้เดินทางเป็นหรือมีเหตุอันควร สงสัยว่าเป็นโรคติดต่ออันตรายโรคระบาด หรือ พาหะน าโรค ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ ประจ าด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศมี อ านาจสั่งให้บุคคลดังกล่าวถูกแยกกัก กักกัน คุม ไว้สังเกต หรือได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการด าเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้เดินทางผู้นั้นเป็นผู้รับผิดชอบ ทั้งนี้ ตาม หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรี ประกาศก าหนดโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการ
เพื่อประโยชน์ในการป้องกันโรคติดต่อระหว่าง ประเทศหรือโรคระบาด ให้อธิบดีหรือผู้ที่อธิบดี มอบหมายมีอ านาจออกหนังสือรับรองการสร้าง เสริมภูมิคุ้มกันโรคหรือการได้รับยาป้องกัน โรคติดต่อระหว่างประเทศ หรือหนังสือรับรองอื่น ๆ ให้แก่ผู้ร้องขอ โดยผู้ร้องขอเป็นผู้รับผิดชอบ ค่าใช้จ่าย การมอบหมาย การเรียกเก็บหรือการยกเว้นการ เรียกเก็บค่าใช้จ่าย ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการประกาศ ก าหนด
ในกรณีที่เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อได้ออก ค าสั่งให้ผู้ใดด าเนินการตามมาตรา ๓๔ (๓) (๔) หรือ (๕) มาตรา ๓๘ มาตรา ๓๙ (๔) หรือมาตรา ๔๐ (๑) (๒) หรือ (๓) แล้ว ผู้นั้นละเลยไม่ ด าเนินการตามค าสั่งภายในเวลาที่ก าหนด เจ้า พนักงานควบคุมโรคติดต่อมีอ านาจด าเนินการ แทนได้ โดยให้ผู้นั้นชดใช้ค่าใช้จ่ายในการ ด าเนินการนั้นตามจ านวนที่จ่ายจริง ทั้งนี้ ตาม ระเบียบที่กระทรวงสาธารณสุขก าหนด
เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อมีอ านาจ ดังต่อไปนี้
การด าเนินการตาม (๒) ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีก าหนด ในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าพนักงานควบคุม โรคติดต่อตาม (๒) ให้บุคคลที่เกี่ยวข้องอ านวย ความสะดวกตามสมควร
ให้มีเครื่องแบบ เครื่องหมาย และบัตรประจ าตัว ส าหรับเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อเพื่อแสดง ตัวขณะปฏิบัติหน้าที่ต่อบุคคลที่เกี่ยวข้อง เครื่องแบบ เครื่องหมาย และบัตรประจ าตัวตาม วรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามแบบที่กระทรวง สาธารณสุขประกาศก าหนด
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้เจ้า พนักงานควบคุมโรคติดต่อเป็นเจ้าพนักงานตาม ประมวลกฎหมายอาญา
ในการด าเนินการของเจ้าพนักงานควบคุม โรคติดต่อตามพระราชบัญญัตินี้ หากเกิดความ เสียหายแก่บุคคลหรือทรัพย์สินของบุคคลใดจาก การเฝ้าระวัง การป้องกัน หรือการควบคุมโรคให้ ทางราชการชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นให้แก่ผู้ นั้นตามความจ าเป็น การชดเชยความเสียหายตามวรรคหนึ่ง ให้ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ ก าหนดในกฎกระทรวง
ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามค าสั่งของคณะกรรมการ คณะกรรมการด้านวิชาการ หรือ คณะอนุกรรมการตามมาตรา ๑๘ หรือค าสั่งของ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดตามมาตรา ๒๒ (๖) หรือค าสั่งของคณะกรรมการโรคติดต่อ กรุงเทพมหานครตามมาตรา ๒๘ (๖) หรือค าสั่ง ของเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อตามมาตรา ๔๕ (๑) ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจ าทั้งปรับ
ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการแจ้งตาม มาตรา ๓๑ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองหมื่น บาท
ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามค าสั่งของเจ้า พนักงานควบคุมโรคติดต่อตามมาตรา ๓๔ (๑) (๒) (๕) หรือ (๖) มาตรา ๓๙ (๑) (๒) (๓) หรือ (๕) มาตรา ๔๐ (๕) หรือไม่อ านวยความสะดวก แก่เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อตามมาตรา ๓๙ (๔) ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามค าสั่งของเจ้า พนักงานควบคุมโรคติดต่อตามมาตรา ๓๔ (๓) (๔) (๗) หรือ (๘) หรือมาตรา ๔๐ (๓) หรือ (๔) หรือผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานคร ตามมาตรา ๓๕ ต้องระวาง โทษจ าคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสน บาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ
ผู้ใดไม่อ านวยความสะดวกแก่เจ้าพนักงาน ควบคุมโรคติดต่อหรือเจ้าพนักงานท้องถิ่นตาม มาตรา ๓๘ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองหมื่น บาท
เจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะผู้ใดไม่ ปฏิบัติตามค าสั่งของเจ้าพนักงานควบคุม โรคติดต่อตามมาตรา ๔๐ (๒) ต้องระวางโทษ จ าคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินห้าแสนบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ
ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อ านวยความสะดวกแก่เจ้า พนักงานควบคุมโรคติดต่อตามมาตรา ๔๕ วรรค สาม ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
ผู้ใดไม่มีสิทธิที่จะสวมเครื่องแบบหรือประดับ เครื่องหมายของเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ ตามมาตรา ๔๖ กระท าการเช่นนั้นเพื่อให้บุคคล อื่นเชื่อว่าตนมีสิทธิ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกิน หกเดือน หรือปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจ า ทั้งปรับ
บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ที่มีโทษ ปรับสถานเดียวหรือมีโทษจ าคุกไม่เกินหนึ่งปี ให้ อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายมีอ านาจ เปรียบเทียบได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์การ เปรียบเทียบที่คณะกรรมการก าหนด เมื่อผู้ต้องหาได้ช าระเงินค่าปรับตามจ านวนที่ เปรียบเทียบภายในสามสิบวันนับแต่วันที่มีการ เปรียบเทียบแล้ว ให้ถือว่าคดีเลิกกันตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ให้เจ้าพนักงานสาธารณสุขตามพระราชบัญญัติ โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๒๓ เป็นเจ้าพนักงานควบคุม โรคติดต่อตามพระราชบัญญัตินี้จนกว่าจะมีการ แต่งตั้งเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อตาม พระราชบัญญัตินี้
ในวาระเริ่มแรก ให้คณะกรรมการประกอบด้วย กรรมการตามมาตรา ๑๑ ยกเว้นกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๑๑ (๔) ปฏิบัติหน้าที่ คณะกรรมการตามพระราชบัญญัตินี้ไปพลาง ก่อนจนกว่าจะมีการแต่งตั้งกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ต้อง ไม่เกินหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
บรรดากฎกระทรวง ระเบียบ ประกาศ หรือค าสั่ง ใดที่ออกตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๒๓ ที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ใช้บังคับได้ต่อไป เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับบทบัญญัติแห่ง พระราชบัญญัตินี้ จนกว่าจะมีกฎกระทรวง ระเบียบ หรือประกาศตามพระราชบัญญัตินี้ใช้ บังคับ การด าเนินการออกกฎกระทรวง ระเบียบ หรือ ประกาศตามวรรคหนึ่งให้ด าเนินการให้แล้วเสร็จ ภายในหนึ่งปี นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้ บังคับ หากไม่สามารถด าเนินการได้ ให้รัฐมนตรี รายงานเหตุผลที่ไม่อาจด าเนินการได้ต่อ คณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
「2015년 전염병법」
• 국가·지역: 태국 • 제 정 일: 2015년 8월 10일
이 법은 “2015년 전염병법”이라 고 한다.
이 법은 관보에 게재한 날부터 180일이 경과한 날에 시행하도 록 한다.
「1980년 전염병법」은 폐지하 도록 한다.
이 법에서 사용하는 용어의 뜻 은 다음과 같다. “전염병”이란 사람에게 직간접 적으로 전염될 수 있는 병원균 또는 병원균의 독소로 인해 발 생하는 질병을 말한다. “위험 전염병”이란 고도의 심각 성이 있으며, 빠르게 다른 사람 에게 전염될 수 있는 전염병을 말한다. “감시가 필요한 전염병”이란 지 속적인 모니터링과 조사 및 데 이터 수집이 필요한 전염병을 말한다. “유행병”이란 빠르고 광범위하 게 다른 사람에게 전염될 수 있 거나, 이전보다 더 비정상적으 로 발병률이 높을 수 있는 전염 병 또는 아직 발생 원인이 명확 하게 밝혀지지 아니한 병을 말 한다. “보균자”란 발현하는 전염병 증 상은 없으나, 신체에 해당 병원 균을 보유하고 있어 다른 사람 에게 전염시킬 수 있는 사람 또 는 동물을 말한다. “접촉자”란 감염된 사람이나 동 물 또는 물품에 전염될 수 있을 정도로 가까이 접근한 사람을 말한다. “전염기간”이란 병원균을 보유 한 사람 또는 동물로부터 다른 사람에게 직간접적으로 병원균 이 전염될 수 있는 기간을 말한 다. “분리”란 병원균이 해당 병원균 에 노출될 수 있는 사람에게 직 간접적으로 전염되지 아니하도 록 예방하기 위하여 질병 또는 매개체에 접촉한 사람을 전염기 간이 경과될 때까지 다른 사람 과 별도로 고립된 장소에 분리 하는 것을 말한다. “격리”란 해당 병원균에 노출될 수 있는 사람에게 병원균이 직 간접적으로 전염되지 아니하도 록 예방하기 위하여 질병 또는 매개체에 접촉한 사람을 전염기 간이 경과되거나, 매개체가 되 는 것에서 벗어날 때까지 다른 사람과 별도로 고립된 장소에 있도록 통제하는 것을 말한다 “관찰 관리”란 질병 또는 매개 체 접촉자를 격리 없이 감시하 는 것을 말하며, 병원균을 접촉 한 사람에게 해당 병원균이 직 간접적으로 전염되지 아니하도 록 예방하기 위하여 지정된 특 정 장소에 도착하였을 때 해당 자가 그 지역 주재 질병 통제 담당관에게 출두하여야 하도록 조건을 설정하여 어떠한 장소를 통과하도록 허가할 수도 있다. “잠복기”란 병원균이 몸속으로 침투한 때부터 전염자에게 해당 질병의 증상이 나타나는 때에 이르기까지를 말한다. “전염병 지역”이란 위험 전염병 또는 유행병이 발생한 국외의 지방 또는 항구 도시를 말한다. “질병 조사”란 질병 통제를 위 하여 질병의 원인과 발생원 및 전파원을 찾기 위한 과정을 말 한다. “감시”란 질병 통제의 목적으로 체계적인 절차를 통하여 질병의 전염 데이터를 관찰, 수집하고 분석하며, 결과를 보고하고 추 적하는 것을 말한다. “운송수단”이란 육상이나 수상 또는 항공으로 차량이나 동물, 또는 물품을 운송하는 데 이용 하는 차량이나 동물 또는 물체 를 말한다. “운송수단 소유주”란 해당 운송 수단 소유주의 대리인이나 임차 인, 임차인의 대리인 또는 점유 자를 포함하여 말한다. “운송수단 관리자”란 운송수단 관리의 책임자를 말한다. “여행자”이란 국내에 입국하는 사람을 말하여, 운송수단 관리 자 및 운송수단 승무원을 포함 하여 말하도록 한다. “면역화”란 사람이나 동물에게 질병에 대한 저항성을 유발하기 위하여 특정한 방법을 통하여 사람이나 동물에게 의료적 행위 를 하는 것을 말한다. “고립된 장소”란 질병 통제 담 당관이 병원균에 접촉할 수 있 는 사람에게 직간접적으로 질병 이 전염되지 아니하도록 예방하 기 위하여 어떠한 전염병에 감 염되었거나 감염이 의심되는 이 유가 있는 사람이나 동물의 분 리 또는 격리용으로 정하는 어 떠한 장소를 말한다. “위생”이란 전염병의 발생 또는 전파에 영향이 있는 환경 및 요 소를 통제하거나 예방 또는 관 리하는 것을 말한다. “출입국 통로”란 여행자나 운송 수단 또는 각종 물품의 국제 출 입국에 사용되는 경로나 장소를 말한다. 이와 관련하여 해당 서 비스 제공을 위하여 마련한 공 간이나 지역을 포함하여 말하도 록 한다. “위원회”란 국가전염병위원회를 말한다. “도전염병위원회”란 도지방 주 재 전염병 예방 및 통제 위원회 를 말한다. “방콕시전염병위원회”란 방콕시 주재 전염병 예방 및 통제 위원 회를 말한다. “국가기관”이란 중앙정부와 지 방정부, 지역정부, 국영기업, 공 공기관 및 기타 국가 기관을 말 한다. “전염병담당관”이란 장관이 이 법에 따른 집행을 위하여 임명 하는 사람을 말한다. “국장”이란 질병통제국장을 말 한다. “장관”이란 이 법에 따른 주무 장관을 말한다.
공중보건부 장관이 이 법에 따 른 주무 장관이 되도록 하며, 이 법에 따른 집행을 위하여 질 병통제담당관을 임명하고, 기타 업무를 규정하는 부령을 제정하 며, 규칙 및 고시 제정권을 갖 도록 한다. 그러한 부령과 규칙 및 고시는 관보에 게재 완료한 때에 시행 하도록 한다.
전염병 예방 및 통제의 목적을 위하여, 장관이 위원회의 조언 을 통하여 다음 각 항에 해당하 는 사항을 고시할 권한을 갖도 록 한다.
전염병 예방 및 통제를 위하여, 장관이 위원회의 승인을 통하여 다음 각 항에 해당하는 사항을 고시할 권한을 갖도록 한다.
국내에 유입될 수 있는 위험 전 염병 또는 유행병 예방 및 통제 목적을 위하여, 장관이 학술 분 야 위원회의 조언을 통하여 국 외 지역 또는 항구 도시를 전염 병 지역으로 고시하고, 해당 질 병 상태가 진정된 때 또는 타당 한 이유가 있는 경우에는 취소 고시를 할 권한을 갖도록 한다.
유행병 예방 및 통제 목적을 위 하여, 국장이 학술 분야 위원회 의 조언을 통하여 유행병 명칭 과 주요 증상 및 발생 장소를 고시할 권한을 갖도록 하며, 제 34조에 따른 전염병 통제 담당 관에게 알리도록 하고, 아울러 해당 유행병이 진정된 때 또는 타당한 있는 경우에는 취소 고 시를 할 권한을 갖도록 한다.
신원 특정이 가능한지의 여부를 불문하고, 개인과 관련된 이 법 에 따른 질병 감시 또는 조사나 신고 또는 보고에 의한 정보인 경우에는 기밀 사항으로 간수하 여야 하며, 성명을 공개하지 아 니하고 결과를 수집하여야 한 다. 이와 관련하여 해당 결과 수집은 질병 예방 및 통제의 취 지에 합당하고 부합하여야 한 다. 전염병통제담당관은 정보 소유 주의 승낙을 받거나 위원회가 고시하는 원칙과 절차 및 조건 에 따라 국민의 건강에 영향을 미치는 위험 전염병 치료나 예 방, 통제 또는 유행병 발생과 관련한 첫번째 단락에 따른 정 보 일부분을 공개할 수도 있다.
다음 각 항으로 구성되는 “국가 전염병위원회”라는 명칭의 위원 회 하나를 두도록 한다.
전문가 위원의 임기는 회당 3년 이다. 전문가 위원이 임기 만료 전에 퇴임하는 경우, 퇴임일부터 30 일 이내에 장관이 같은 분야에 서 보궐 전문가 위원을 임명하 도록 하며, 임명된 사람은 본인 이 대신하는 전문가 위원의 잔 여 임기와 같은 기간 동안 재임 하도록 한다. 다만, 전문가 위원 의 잔여 임기가 90일 미만인 경 우에는 장관이 보궐 전문가 위 원 임명을 실시하지 아니할 수 도 있으며, 이와 같은 경우 위 원회는 남아 있는 위원으로만 구성하도록 한다.
전문가 위원은 임기에 따른 퇴 임 이외에도 다음 각 항의 어느 하나에 해당하는 때에는 퇴임한 다.
위원회에 다음 각 항에 해당하 는 권한과 직무를 부여한다.
위원회의 회의는 재적 위원 과 반수가 참석하여야 정족수가 된 다. 위원장이 회의의 의장이 되도록 한다. 만약 위원장이 회의에 불 참하거나 직무 수행을 할 수 없 다면, 회의에 참석한 위원 중 1 인이 의장이 되도록 한다. 회의의 결정은 다수결을 따르도 록 한다. 위원 1인은 1개의 표결권을 갖 도록 한다. 만약 동률이라면, 의 장이 추가로 하나의 결정표를 갖도록 한다.
제11조제(4)항에 따른 전문가 위원 중에서 임명하는 위원장으 로 구성되는 학술 분야 위원회 하나를 두도록 하며, 전염병 분 야의 지식과 전문성을 갖춘 사 람 중에서 임명하는 추가 7인의 위원을 포함하도록 한다. 학술 분야 위원회는 다음 각 항 의 권한과 직무를 담당한다.
제12조 및 제13조의 내용을 학 술 분야 위원회의 임기 또는 퇴 임의 경우에 대하여 준용하도록 한다.
제15조의 내용을 학술 분야 위 원회 및 소위원회의 회의에 준 용하도록 한다.
이 법에 따른 직무 수행에서 위 원회와 학술 분야 위원회 및 소 위원회는 검토하는 데에 참고하 기 위하여 어떤 사람을 소환하 여 진술이나 의견 제시, 필요한 자료나 문서 제출 또는 견해를 표시하도록 하는 서면 명령권을 갖도록 한다.
질병통제국에 다음 각 항의 권 한과 직무를 부여하여 위원회와 학술 분야 위원회 및 소위원회 의 사무처로서 사무 업무를 책 임지도록 한다.
다음 각 항으로 구성되는 도전 염병위원회를 두도록 한다.
제20조제(3)항과 제(4)항 및 제(5)항에 따른 위원 및 제20 조 두번째 단락에 따른 위원의 임명과 임기 및 퇴임은 위원회 가 고시하는 원칙과 절차 및 조 건을 따르도록 한다.
도전염병위원회에 다음 각 항의 권한과 직무를 부여한다.
출입국 통로 실무단은 다음 각 항으로 구성된다.
출입국 통로 주재 실무단은 관 할 지역에서 다음 각 항의 권한 과 직무를 담당하도록 한다.
제14조의 내용을 도전염병위원 회 및 출입국 통로 주재 실무단 의 회의에 준용하도록 한다.
다음 각 항으로 구성되는 방콕 시전염병위원회를 두도록 한다.
제26조제(3)항과 제(4)항 및 제(5)항에 따른 위원의 임명과 임기 및 퇴임은 위원회가 고시 하는 원칙과 절차 및 조건을 따 르도록 한다.
방콕시전염병위원회에 다음 각 항의 권한과 직무를 부여한다.
제15조의 내용을 방콕시전염병 위원회 및 출입국 통로 실무단 의 회의에 준용하도록 한다.
제23조 및 제24조의 내용을 방 콕시전염병위원회가 임명하는 출입국 통로 주재 실무단의 구 성과 권한 및 직무에 준용하도 록 한다.
위험 전염병이나 감시가 필요한 전염병 또는 유행병이 발생한 경우, 다음 각 항의 어느 하나 에 해당하는 사람은 전염병통제 담당관에게 신고하도록 한다.
전염병통제담당관이 제31조에 따라 위험 전염병이나 감시가 필요한 전염병 또는 유행병이 있다고 의심할 만한 이유가 있 거나, 자료 또는 증거가 있다는 신고를 접수한 때에는, 전염병 통제담당관은 신속하게 경우에 따라 도전염병위원회 또는 방콕 시전염병위원회에 통보하고, 해 당 자료를 질병통제국에 보고하 도록 한다.
외국에서 위험 전염병이나 감시 가 필요한 전염병 또는 유행병 이 발생했다고 의심할 만한 이 유가 있는 경우, 질병통제국은 세계보건기구와 조정하여 해당 질병 관련 자료를 요청하도록 한다.
전염병 예방 및 통제를 위하여 어떤 지역에서 위험 전염병 또 는 유행병이 발생하거나, 위험 전염병 또는 유행병이 발생하였 다고 의심할 만한 이유가 있는 때에는 해당 지역의 전염병통제 담당관이 다음 각 항을 직접 실 행하거나, 어떤 사람에게 서면 으로 실행을 명령할 권한을 갖 도록 한다.
위험 전염병 또는 유행병의 확 산을 방지하기 위하여 서둘러야 하는 필요성이 있는 경우, 도전 염병위원회의 승인을 통하여 도 지사 또는 방콕시전염병위원회 의 승인을 통하여 방콕시장이 본인의 책임 지역에서 다음 각 항에 해당하는 권한을 갖도록 한다.
경우에 따라 도전염병위원회의 승인을 통하여 도지사 또는 방 콕시전염병위원회의 승인을 통 하여 방콕시장에게 위험 전염병 또는 유행병에 대한 감시와 질 병 조사, 예방 및 통제를 위한 실무단을 모든 군 또는 모든 구 역에 1개소 이상 설치하도록 한 다. 이와 관련하여 전염병통제 실무단 설치 원칙은 위원회가 고시하는 바를 따르도록 한다. 첫번째 단락에 따른 전염병통제 실무단은 최소한 전염병통제담 당관 1인과 의료담당관 및 공중 보건담당관 2인으로 구성되어야 하며, 도지사 또는 방콕시장이 타당하다고 판단하는 인원수에 따라 관련 기관 또는 민간 조직 담당자를 전염병통제실무단으로 함께 임명할 수도 있다.
출입국 통로에서의 국제 전염병 감시와 예방 및 통제를 위하여 출입국 통로 책임자는 다음 각 항에 해당하는 절차를 따르도록 한다.
정당한 이유가 있는 경우, 국제 전염병통제검문소 주재 전염병 통제담당관은 출입국 통로 외의 지역에서 순찰과 통제 및 감독 권한을 갖도록 하며, 지역 담당 관에게 출입국 통로 반경 400 미터 주변 지역의 모기 및 질병 매개체를 제거하도록 통지한다. 이와 같은 경우, 해당 지역 내 주택이나 공동 주택, 또는 장소 의 소유주 또는 거주자는 국제 전염병통제검문소 주재 전염병 통제담당관 및 지역 담당관에게 편의를 제공하도록 한다.
국제적 전염병 예방 및 통제에 서 정당한 이유가 있거나, 해당 매개체가 유행병이 발생한 국외 의 어떤 지방 또는 도시에서 유 래하였다고 의심할 이유가 있는 때에는, 국제전염병통제검문소 에서 주재하는 전염병통제담당 관에게 다음 각 항의 권한을 부 여한다.
제(1)항과 제(2)항 및 제(3)항 에 따른 운송수단 소유주 또는 운송수단 관리자의 신고 및 서 류 제출과 제(4)항에 따른 운송 수단 소유주 또는 운송수단 관 리자에 대한 금지 사항은 부령 에서 정하는 원칙과 절차 및 조 건을 따르도록 한다.
장관이 제8조에 따라 국외 지방 또는 도시를 전염병 지역으로 고시한 때에는 국제전염병통제 검문소 주재 전염병통제담당관 이 다음 각 항에 해당하는 사항 을 직접 실시하거나 서면으로 해당 지방 또는 도시에서 국내 에 입국하는 운송수단 소유주나 운송수단 관리자가 실시하도록 명령할 권한을 갖도록 한다.
운송수단 소유주 또는 운송수단 관리자가 해당 운송수단으로 입 국한 여행자에 대한 제80조에 따른 분리나 격리, 관찰 관리 또는 면역화를 위한 비용을 부 담하도록 하며, 아울러 돌봄 비 용과 의료, 전염병 예방 및 통 제 비용을 부담하도록 한다. 첫번째 단락에 따른 조치에서 발생하는 비용 규정은 위원회의 승인을 통하여 장관이 고시하는 원칙과 절차 및 조건을 따르도 록 한다.
여행자가 위험 전염병이나 유행 병 또는 질병 매개체에 감염되 었거나 감염을 의심할 만한 합 리적인 이유가 있는 경우, 국제 전염병통제검문소 주재 전염병 통제담당관은 해당자를 분리하 거나, 격리, 관찰 관리 또는 면 역화 조치를 받도록 명령한다. 첫번째 단락에 따른 조치로 인 하여 발생하는 비용은 해당 여 행자가 부담하도록 한다. 이와 관련하여 위원회의 승인을 통하 여 장관이 고시하는 원칙과 절 차 및 조건을 따르도록 한다.
국제적인 전염병 또는 유행병 예방을 위하여 국장 또는 국장 이 위임한 사람은 국제적 전염 병 면역화 또는 예방 접종 확인 서 또는 기타 확인서를 신청자 가 비용을 부담하도록 하여 신 청자에게 발급할 권한을 갖도록 한다. 비용 청구에 대한 위임이나 청 구 또는 면제는 위원회가 고시 하는 원칙과 절차 및 조건을 따 르도록 한다.
전염병통제담당관이 어떤 사람 에게 제34조제(3)항이나 제(4) 항 또는 제(5)항, 제38조, 제39 조제(4)항 또는 제40조제(1)항 이나 제(2)항 또는 제(3)항에 따른 조치 명령 후 해당자가 기 한 내에 명령을 무시하고 이행 하지 아니하는 경우, 전염병통 제담당관은 실제로 지불한 비용 에 따라 그러한 조치 비용을 해 당자에게 변상하도록 하여 대신 조치할 권한이 있다. 이와 관련 하여 공중보건부가 정하는 규칙 을 따른다.
질병통제담당관에게 이 법에 따 른 집행을 위하여 다음 각 항의 권한을 부여한다.
제(2)항에 따른 조치는 국장이 정하는 원칙과 절차 및 조건을 따르도록 한다. 제(2)항에 따른 전염병통제담당 관의 직무 수행에 대하여 관계 자가 편의를 제공하도록 한다.
관계자에게 직무 수행 중임을 표시하기 위하여 전염병통제담 당관의 제복과 표식 및 신분증 을 갖추도록 한다. 첫번째 단락에 따른 제복과 표 식 및 신분증은 공중보건부가 정하는 양식을 따르도록 한다.
이 법에 따른 직무 수행에서, 전염병통제담당관은 「형법전」 에 따른 담당관이 되도록 한다.
이 법에 따른 전염병통제담당관 의 직무 수행에서, 만약 질병 감시나 예방 또는 통제로 인하 여 개인 또는 어떤 개인의 재산 에 피해를 야기한다면, 당국이 필요한 바에 따라 해당자에게 발생한 피해에 대한 보상을 하 도록 한다. 첫번째 단락에 따른 보상은 부 령에서 정하는 원칙과 절차 및 조건을 따르도록 한다.
제18조에 따른 위원회나 학술 분야 위원회 또는 소위원회의 명령이나 제22조제(6)항에 따 른 도전염병통제위원회의 명령 또는 제18조제(6)항에 따른 방 콕시전염병위원회의 명령을 준 수하지 아니하는 사람은 1개월 이하의 금고형 또는 1만바트 이 하의 벌금형에 처하거나, 금고 형과 벌금형을 병과한다.
제31조에 따른 신고 원칙 및 절 차를 준수하지 아니하는 사람은 2만바트 이하의 벌금형에 처한 다.
제34조제(1)항이나 제(2)항, 제 (5)항 또는 제(6)항, 제39조제 (1)항이나 제(2)항, 제(3)항 또 는 제(5)항, 제40조제(5)항에 따른 전염병통제담당관의 명령 을 위반 또는 준수하지 아니하 거나 제39조제(4)항에 따른 전 염병통제담당관에게 편의를 제 공하지 아니하는 사람은 2만바 트 이하의 벌금형에 처한다.
제34조제(3)항이나 제(4)항, 제 (7)항 또는 제(8)항, 제40조제 (3)항이나 제(4)항에 따른 전염 병통제담당관의 명령 또는 제35 항에 따른 도지사나 방콕시장의 명령을 위반하거나 준수하지 아 니하는 사람은 1년 이하의 금고 형 또는 10만바트 이하의 벌금 형에 처하거나, 금고형과 벌금 형을 병과한다.
전염병통제담당관 또는 지방 담 당관에게 제38조에 따른 편의를 제공하지 아니하는 사람은 2만 바트 이하의 벌금형에 처한다.
제40조제(2)항에 따른 전염병 통제담당관의 명령을 준수하지 아니하는 운송수단 소유주 또는 운송수단 관리자는 2년 이하의 금고형 또는 5십만바트 이하의 벌금형에 처하거나, 금고형과 벌금형을 병과한다.
제45조 세번째 단락에 따른 질 병통제담당관을 방해하거나 편 의를 제공하지 아니하는 사람은 2만바트 이하의 벌금형에 처한 다.
본인이 권리를 보유하였다고 타 인을 기망하기 위하여, 해당 권 리를 가지지 아니하고 제46조에 따른 전염병통제담당관의 제복 을 착용하거나 표지를 부착하는 사람은 6개월 이하의 금고형 또 는 5만바트 이하의 벌금형에 처 하거나, 금고형과 벌금형을 병 과한다.
벌금형만 있거나 1년 이하의 금 고형에 해당하는 이 법에 따른 모든 위법 행위에 대해서는 국 장 또는 국장이 위임한 사람이 벌금 부과권을 갖도록 한다. 이 와 관련하여 위원회가 정하는 벌금 부과 원칙을 따르도록 한 다. 피의자가 벌금이 부과된 날부터 30일 이내에 부과된 액수에 따 라 벌금을 납부한 때에는, 「형 사소송법전」에 따라 사건이 종 결된 것으로 보도록 한다.
「1980년 전염병법」에 따른 공중보건담당관은 이 법률에 따 라 전염병통제담당관 임명이 있 을 때까지 이 법에 따른 전염병 통제담당관이 되도록 한다.
초기에는 위원회를 제11조제 (4)항에 따른 전문가 위원을 제 외한 제11조에 따른 위원으로만 구성하도록 하고, 이 법에 따른 전문가 위원 임명이 있을 때까 지는 우선 이 법에 따라 위원회 직무를 수행하도록 한다. 이와 관련하여 이 법의 시행일부터 180일을 초과하지 아니한다.
이 법의 시행일 전에 적용 중인 「1980년 전염병법」에 따라 제정된 모든 부령과 규칙, 고시 및 명령은 이 법에 위배되거나 모순되지 아니하는 한 이 법률 에 따른 부령이나 규칙 또는 고 시가 있을 때까지는 계속 적용 하도록 한다. 첫번째 단락에 따른 부령이나 규칙 또는 고시 제정 실행은 이 법률의 시행일부터 1년 이내에 완료하도록 한다. 만약 실행이 불가능하다면, 장관이 실행 불 가능한 이유를 내각에 보고하도 록 한다. 부서 대장 쁘라윳 짠오차 총리