「1968년 공산품표준법」
• 국가·지역: 태국 • 제 정 일: 1968년 12월 27일 • 최종개정일: 2019년 4월 15일
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ณ วันที่ ๒๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๑ เป็นปีที่ ๒๓ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยค าแนะน าและยินยอม ของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서 현 왕조의 23번째 해인 1968년 (불기2511년) 12월 27일에 하사 하셨다. 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서는 다음과 같이 공포하도록 하셨다. 공산품 표준 관련 법률을 갖추는 것이 마땅하다. 그러므로 국왕 폐하께서는 의회 의 조언과 승인을 통하여 다음과 같이 이 법을 제정하도록 하셨다.
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติ มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๑๑”
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจาก วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ในพระราชบัญญัตินี้ “มาตรฐาน” หมายความว่า ข้อก าหนดรายการ อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างเกี่ยวกับ
“ส านักงาน” หมายความว่า ส านักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการ มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม “เลขาธิการ” หมายความว่า เลขาธิการส านักงาน มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่ง รัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้ “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการ ตามพระราชบัญญัตินี้
ให้จัดตั้งส านักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมขึ้นในกระทรวง อุตสาหกรรม และให้มีอ านาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
ให้เลขาธิการมีหน้าที่บังคับบัญชา ควบคุมและ ดูแลโดยทั่วไปซึ่งราชการของส านักงาน
เลขาธิการโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการมีอ านาจประกาศในราชกิจจา นุเบกษา ก าหนดให้ส่วนราชการองค์การของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานของรัฐ หรือหน่วยงานอื่น ทั้งในประเทศและต่างประเทศเป็นผู้ตรวจสอบ การท าผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมหรือเป็นผู้ ตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมได้ตาม หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่คณะกรรมการก าหนด
รัฐมนตรีมีอ านาจประกาศในราชกิจจา นุเบกษาก าหนดอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบ การท าผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือตรวจสอบ ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมหรือวัตถุตามมาตรา ๑๖ มาตรา ๒๐ มาตรา ๒๐ ทวิมาตรา ๒๑ มาตรา ๒๑ ทวิและมาตรา ๔๔ (๑) เฉพาะ ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่ใช้เครื่องหมาย มาตรฐานตามมาตรา ๑๖ หรือที่ได้รับ ใบอนุญาตหรือได้รับอนุญาตตามมาตรา ๒๐ มาตรา ๒๐ ทวิมาตรา ๒๑ หรือมาตรา ๒๑ ทวิ แล้วแต่กรณี ค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบการท า ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือตรวจสอบ ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือวัตถุตามวรรคหนึ่ง ให้เรียกเก็บจากผู้ขอรับใบอนุญาต ผู้รับ ใบอนุญาต ผู้รับอนุญาต ผู้ท า ผู้น าเข้า ผู้ จ าหน่าย หรือผู้มีไว้เพื่อจ าหน่าย แล้วแต่กรณี
ให้มีคณะกรรมการมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ประกอบด้วย ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมเป็นประธาน กรรมการอธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม อธิบดี กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ผู้แทนกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ผู้แทนกระทรวงมหาดไทย ผู้แทน กระทรวงพาณิชย์ผู้แทน กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและ การพลังงาน ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข ผู้แทน กรมศุลกากร ผู้แทนสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ผู้แทนส านักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ผู้แทน ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติกับผู้ทรงคุณวุฒิซึ่ง คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งอีกไม่เกินหกคน เป็น กรรมการ ให้เลขาธิการเป็นกรรมการและเลขานุการ
คณะกรรมการมีอ านาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งมีวาระการ ด ารงต าแหน่งคราวละสามป เมื่อครบก าหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยัง มิได้มีการแต่งตั้งกรรมการขึ้นใหม่ ให้กรรมการ ซึ่งพ้นจากต าแหน่งตามวาระนั้นอยู่ในต าแหน่ง เพื่อด าเนินงานต่อไปจนกว่ากรรมการซึ่งได้รับ แต่งตั้งใหม่เข้ารับหน้าที่ กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งซึ่งพ้นจาก ต าแหน่งตามวาระอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้แต่จะ ด ารงต าแหน่งเกินสองวาระติดต่อกันไม่ได้
นอกจากการพ้นจากต าแหน่งตามวาระตาม มาตรา ๙ วรรคหนึ่ง กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรี แต่งตั้งพ้นจากต าแหน่ง เมื่อ
ในกรณีที่ยังไม่มีการแต่งตั้งกรรมการตามวรรค สอง ให้คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการ เท่าที่มีอยู่จนกว่าจะได้มีการแต่งตั้งกรรมการซึ่ง คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งขึ้นใหม่
การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมา ประชุมไม่ต ่ากว่าหนึ่งในสามของจ านวน กรรมการทั้งหมดจึงเป็นองค์ประชุม ในการประชุมครั้งใด ถ้าประธานกรรมการไม่ อยู่ในที่ประชุม ให้กรรมการซึ่งมาประชุมเลือก กรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในการประชุมครั้ง นั้น การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้าง มาก กรรมการคนหนึ่งย่อมมีเสียงหนึ่งในการออก เสียงลงคะแนน ถ้ามีคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นได้อีกเสียง หนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด
คณะกรรมการมีอ านาจแต่งตั้งอนุกรรมการ เพื่อช่วยเหลือท ากิจการ หรือพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ การประชุมคณะอนุกรรมการให้น ามาตรา ๑๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ให้มีคณะกรรมการวิชาการคณะหนึ่งหรือ หลายคณะตามความเหมาะสมซึ่งแต่งตั้งโดย คณะกรรมการเพื่อท าหน้าที่จัดท าร่างมาตรฐาน และปฏิบัติงานทางวิชาการอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับ มาตรฐานเสนอคณะกรรมการพิจารณา กรรมการวิชาการต้องเป็นบุคคลผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งมีความรู้หรือความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่ได้รับแต่งตั้ง ทั้งนี้ หลักเกณฑ์และวิธีการในการแต่งตั้งกรรมการ วิชาการให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการก าหนด ในการปฏิบัติหน้าที่ คณะกรรมการวิชาการมี อ านาจแต่งตั้งอนุกรรมการเพื่อช่วยเหลือท า กิจการหรือพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่ได้รับ มอบหมายจากคณะกรรมการวิชาการ วาระการด ารงต าแหน่ง การพ้นจากต าแหน่ง ตามวาระและการประชุมของคณะกรรมการ วิชาการและคณะอนุกรรมการวิชาการ ให้น า มาตรา ๙ และมาตรา ๑๑ มาใช้บังคับโดย อนุโลม
นอกจากการพ้นจากต าแหน่งตามวาระ กรรมการวิชาการพ้นจากต าแหน่ง เมื่อ
เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมอุตสาหกรรม รัฐมนตรีอาจประกาศก าหนด แก้ไข และยกเลิก มาตรฐานส าหรับผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมใด ๆ โดยอาจก าหนดให้ใช้หรืออ้างอิงมาตรฐานของ ต่างประเทศหรือมาตรฐานระหว่างประเทศ ทั้งนี้ ในกรณีที่มีความจ าเป็น อาจก าหนดให้ใช้หรือ อ้างอิงมาตรฐานดังกล่าวที่เป็นเอกสาร ภาษาต่างประเทศ ตามข้อเสนอของ คณะกรรมการได้ ประกาศตามวรรคหนึ่งให้ประกาศในราชกิจจา นุเบกษา
ภายใต้บังคับมาตรา ๒๕ ผู้ใดท า ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่มีประกาศก าหนด มาตรฐานแล้วจะแสดงเครื่องหมายมาตรฐาน กับผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนั้นได้ต้องให้พนักงาน เจ้าหน้าที่ตรวจสอบและได้รับใบอนุญาตจาก เลขาธิการก่อนน าผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนั้น ออกจากสถานที่ผลิต การขออนุญาต การตรวจสอบ และการออก ใบอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่ก าหนดในกฎกระทรวง กฎกระทรวงตามวรรคสองจะก าหนดให้การ ตรวจสอบในแต่ละผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่เป็น เรื่องรายละเอียดทางด้านเทคนิคเป็นไปตาม หลักเกณฑ์และวิธีการที่เลขาธิการก าหนดโดย ความเห็นชอบของคณะกรรมการก็ได้
เพื่อความปลอดภัย หรือเพื่อป้องกันความ เสียหายอันอาจจะเกิดแก่ประชาชนหรือแก่ กิจการอุตสาหกรรม หรือเศรษฐกิจของประเทศ คณะกรรมการอาจเสนอรัฐมนตรีเพื่อออก กฎกระทรวงก าหนดให้ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ชนิดใดต้องเป็นไปตามมาตรฐานทั้งหมดหรือแต่ บางส่วนของมาตรฐานก็ได้ กฎกระทรวงตามวรรคหนึ่งให้ระบุวันเริ่มใช้ บังคับไม่น้อยกว่าหกสิบวันนับแต่วันประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา
ในกรณีที่มีความจ าเป็นเร่งด่วนที่หากปล่อยให้ เนิ่นช้าต่อไปอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ ประชาชน หรือแก่กิจการอุตสาหกรรม หรือ เศรษฐกิจของประเทศ คณะกรรมการอาจเสนอ รัฐมนตรีเพื่อออกกฎกระทรวงก าหนดให้ ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมชนิดใดต้องเป็นไปตาม มาตรฐานหรือกฎเกณฑ์ของต่างประเทศหรือ ระหว่างประเทศทั้งหมดหรือแต่บางส่วนของ มาตรฐานหรือกฎเกณฑ์ดังกล่าวและใน กฎกระทรวงนั้นจะระบุวันเริ่มใช้บังคับน้อยกว่า หกสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ก็ได้ ทั้งนี้ในกรณีที่มีความจ าเป็นอาจก าหนดให้ ใช้หรืออ้างอิงมาตรฐานหรือกฎเกณฑ์ดังกล่าวที่ เป็นเอกสารภาษาต่างประเทศตามข้อเสนอของ คณะกรรมการก็ได้
ก่อนมีการออกกฎกระทรวงตามมาตรา ๑๗ และมาตรา ๑๗/๑ ให้ส านักงานจัดให้มีการรับฟัง ความคิดเห็นของตัวแทนของกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย หรือผู้มีประโยชน์เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่คณะกรรมการก าหนด
เมื่อได้จัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นตาม มาตรา ๑๘ แล้ว ให้ส านักงานน าผลการรับฟัง ความคิดเห็นนั้นเสนอคณะกรรมการเพื่อ ประกอบการพิจารณาก่อนเสนอรัฐมนตรีออก กฎกระทรวงต่อไป
ภายใต้บังคับมาตรา ๒๕ ผู้ใดท า ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่มีกฎกระทรวง ก าหนดให้ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน ต้องแสดง หลักฐานให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจสอบและ ได้รับใบอนุญาตจากเลขาธิการก่อนท า ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนั้น เว้นแต่เป็นการท า เพื่อการวิจัยและพัฒนา การท าเพื่อทดลอง กระบวนการผลิต หรือการท าเป็นตัวอย่างเพื่อ การขอรับใบอนุญาต ให้แจ้งต่อส านักงานก่อน เริ่มท าผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนั้นและต้องปฏิบัติ ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก าหนด การขออนุญาต การตรวจสอบ และการออก ใบอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่ก าหนดในกฎกระทรวง กฎกระทรวงตามวรรคสองจะก าหนดให้การ ตรวจสอบในแต่ละผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่เป็น เรื่องรายละเอียดทางด้านเทคนิคให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์และวิธีการที่เลขาธิการก าหนดโดย ความเห็นชอบของคณะกรรมการก็ได้
ในกรณีที่มีความจ าเป็นต้องท า ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่แตกต่างไปจาก มาตรฐานที่ก าหนดเพื่อใช้ในราชอาณาจักรเป็น ครั้งคราว เลขาธิการจะอนุญาตเป็นการเฉพาะ คราวให้ผู้รับใบอนุญาตตามมาตรา ๒๐ ท า ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่มีกฎกระทรวง ก าหนดให้ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน ตาม มาตรฐานของต่างประเทศหรือมาตรฐานระหว่าง ประเทศก็ได้ มาตรฐานของต่างประเทศหรือมาตรฐาน ระหว่างประเทศตามวรรคหนึ่งจะต้องได้รับความ เห็นชอบจากคณะกรรมการ และการท า ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมดังกล่าวจะต้องเป็นไป ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก าหนด
เมื่อมีความจ าเป็นต้องท าผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมที่แตกต่างไปจากมาตรฐานที่ ก าหนดเพื่อประโยชน์ในการส่งออก ให้ผู้ท า ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่มีกฎกระทรวง ก าหนดให้ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน แจ้งต่อ ส านักงานก่อนเริ่มท าผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนั้น และต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ คณะกรรมการก าหนด เมื่อได้รับแจ้งตามวรรคหนึ่ง ให้ส านักงานออก ใบรับแจ้งเพื่อเป็นหลักฐานการแจ้งให้แก่ผู้แจ้งใน วันที่ได้รับแจ้ง และให้ผู้แจ้งเริ่มท า ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมได้ตั้งแต่วันที่ได้รับใบรับ แจ้ง
ในกรณีที่มีข้อก าหนดของต่างประเทศหรือ ข้อตกลงระหว่างประเทศหรือสัญญาระหว่างผู้ ส่งออกและผู้น าเข้าก าหนดให้ผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมใดเป็นไปตามมาตรฐานหรือ กฎเกณฑ์ของต่างประเทศหรือระหว่างประเทศ จึงจะน าเข้าผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนั้นได้ ส านักงานอาจท าความตกลงกับหน่วยงานของ ต่างประเทศเกี่ยวกับการให้การรับรองการ ตรวจสอบหรือรับรองผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนั้น ได้ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก าหนด ไม่ว่าผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนั้นจะมี กฎกระทรวงก าหนดให้ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน หรือไม่ก็ตาม และไม่ว่าหน่วยงานของ ต่างประเทศนั้นจะเป็นหน่วยงานของรัฐหรือ เอกชนก็ตาม
การตรวจสอบหรือรับรองเกี่ยวกับมาตรฐาน ตามพระราชบัญญัตินี้คณะกรรมการจะ ประกาศยอมรับมาตรฐานหรือการตรวจสอบ หรือรับรองที่ก าหนดขึ้นหรือด าเนินการโดย หน่วยงานอื่น หรือมอบหมายหน่วยงานอื่นให้ ด าเนินการตรวจสอบหรือรับรองหรือกระท าการ ใดที่เกี่ยวเนื่องกับการตรวจสอบหรือรับรองก็ได้ ไม่ว่าหน่วยงานนั้นจะตั้งอยู่ในประเทศหรือ ต่างประเทศหรือเป็นหน่วยงานของรัฐหรือเอกชน ก็ตาม ทั้งนี้ให้เลขาธิการโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการมีอ านาจประกาศรายชื่อ หน่วยงานที่ด าเนินการตรวจสอบหรือรับรอง ชนิดและมาตรฐานของผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ห้องปฏิบัติการ และขอบเขตของการตรวจสอบ หรือรับรองที่ได้รับการยอมรับในราชกิจจา นุเบกษา
ภายใต้บังคับมาตรา ๒๕ ผู้ใดน า ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่มีกฎกระทรวง ก าหนดให้ต้องเป็นไปตามมาตรฐานเข้ามาเพื่อ จ าหน่ายในราชอาณาจักร ต้องแสดงหลักฐานให้ พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจสอบและได้รับ ใบอนุญาตจากเลขาธิการก่อนรับมอบไปจากเจ้า พนักงานศุลกากร ในกรณีเป็นการน าเข้ามาโดยมิได้มี วัตถุประสงค์เพื่อจ าหน่ายในราชอาณาจักร แต่ ได้น าเข้ามาเกินจ านวนที่ส านักงานก าหนด ต้อง แจ้งต่อส านักงานก่อนรับมอบไปจากเจ้า พนักงานศุลกากรและปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และ เงื่อนไขที่คณะกรรมการก าหนด การขออนุญาต การตรวจสอบ และการออก ใบอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่ก าหนดในกฎกระทรวง กฎกระทรวงตามวรรคสามจะก าหนดให้การ ตรวจสอบในแต่ละผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่เป็น เรื่องรายละเอียดทางด้านเทคนิคให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์และวิธีการที่เลขาธิการก าหนดโดย ความเห็นชอบของคณะกรรมการก็ได้
เมื่อมีความจ าเป็นต้องน าเข้ามาใน ราชอาณาจักรซึ่งผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่ แตกต่างไปจากมาตรฐานที่ก าหนดเพื่อใช้ใน ราชอาณาจักรเป็นครั้งคราว เลขาธิการจะ อนุญาตเป็นการเฉพาะคราวให้ผู้ใดน าเข้ามาใน ราชอาณาจักรซึ่งผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่มี กฎกระทรวงก าหนดให้ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน ตามมาตรฐานของต่างประเทศหรือมาตรฐาน ระหว่างประเทศก็ได้ มาตรฐานของต่างประเทศหรือมาตรฐาน ระหว่างประเทศตามวรรคหนึ่ง จะต้องได้รับ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการ และการน า ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมดังกล่าวเข้ามาใน ราชอาณาจักร จะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการก าหนด
เมื่อมีความจ าเป็นต้องน าผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมที่มีกฎกระทรวงก าหนดให้ต้อง เป็นไปตามมาตรฐานเข้ามาในราชอาณาจักร เพื่อผลิต ผสม ประกอบ บรรจุ หรือด าเนินการ ด้วยวิธีอื่นใดกับผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนั้นโดยมี วัตถุประสงค์เพื่อส่งออกไปนอกราชอาณาจักร ทั้งหมด ให้ผู้น าเข้าแจ้งต่อส านักงานก่อนเริ่มการ น าเข้าผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนั้นและต้องปฏิบัติ ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก าหนด เมื่อได้รับแจ้งตามวรรคหนึ่ง ให้ส านักงานออก ใบรับแจ้งเพื่อเป็นหลักฐานการแจ้งให้แก่ผู้แจ้งใน วันที่ได้รับแจ้งและให้ผู้แจ้งเริ่มน าเข้า ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมได้ตั้งแต่วันที่ได้รับใบรับ แจ้ง
ผู้รับใบอนุญาตต้องแสดงใบอนุญาตไว้ในที่ เปิดเผยและเห็นได้ง่าย ณ สถานที่ที่ระบุไว้ใน ใบอนุญาต
ถ้าใบอนุญาตหายหรือช ารุดเสียหายมาก ให้ ผู้รับใบอนุญาตขอรับใบแทนใบอนุญาตจาก เลขาธิการภายในสามสิบวันนับแต่วันทราบว่า ใบอนุญาตหายหรือช ารุดเสียหายมาก การขอใบแทนใบอนุญาตและการออกใบแทน ใบอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่ก าหนดในกฎกระทรวง
การย้ายสถานที่ที่ระบุไว้ในใบอนุญาตต้อง ได้รับใบอนุญาตจากเลขาธิการ[๓๔] การขออนุญาตและการออกใบอนุญาต ให้ เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ก าหนดใน กฎกระทรวง
การโอนใบอนุญาตที่ออกให้ตามมาตรา ๑๖ มาตรา ๒๐ และมาตรา ๒๑ จะกระท าได้ต่อเมื่อ ได้รับใบอนุญาตให้โอนใบอนุญาตจาก เลขาธิการ เมื่อผู้ขอโอนใบอนุญาตได้ยื่นค าขอโอน ใบอนุญาตตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้ผู้ขอรับโอน ใบอนุญาตแสดงหรือใช้เครื่องหมายมาตรฐาน หรือท า หรือน าเข้าผลิตภัณฑ์ที่เป็นไปตาม มาตรฐาน แล้วแต่กรณี ต่อไปได้จนกว่าจะมี ค าสั่งไม่อนุญาตให้โอนใบอนุญาต โดยถือว่าผู้ ขอรับโอนเป็นผู้รับใบอนุญาตซึ่งจะต้องปฏิบัติ ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้เลขาธิการพิจารณาค าขอโอนใบอนุญาต และมีค าสั่งให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่ วันที่ได้รับค าขอ กรณีที่เลขาธิการพิจารณาไม่แล้วเสร็จภายใน ก าหนดเวลาตามวรรคสาม ให้ถือว่าค าขอโอน ใบอนุญาตดังกล่าวได้รับการอนุญาตและ เลขาธิการจะต้องออกใบอนุญาตให้โอน ใบอนุญาตให้โดยมิชักช้า การขอโอนใบอนุญาตและการออกใบอนุญาต ให้โอนใบอนุญาตให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และ วิธีการที่ก าหนดในกฎกระทรวง
ในการออกใบอนุญาตตามมาตรา ๑๖ มาตรา ๒๐ มาตรา ๒๑ มาตรา ๒๔ และมาตรา ๒๕ เลขาธิการจะก าหนดเงื่อนไขเป็นหนังสือให้ผู้รับ ใบอนุญาตปฏิบัติในเรื่องต่อไปนี้ด้วยก็ได้
เงื่อนไขที่ก าหนดตามวรรคหนึ่ง เลขาธิการจะ แก้ไขเพิ่มเติมก็ได
ในกรณีผู้รับใบอนุญาตซึ่งเป็นบุคคลธรรมดา ถึงแก่ความตาย ให้ทายาทหรือผู้จัดการมรดกยื่น ค าขอเพื่อรับโอนใบอนุญาตภายในหนึ่งร้อยแปด สิบวันนับแต่วันที่ผู้รับใบอนุญาตถึงแก่ความตาย หรือภายในระยะเวลาที่ขยายให้ตามความ จ าเป็น ถ้ามิได้ยื่นค าขอภายในระยะเวลาที่ ก าหนดให้ถือว่าใบอนุญาตสิ้นอายุ ในระหว่างระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง ให้ถือ เสมือนว่าทายาทหรือผู้จัดการมรดกเป็นผู้รับ ใบอนุญาตซึ่งจะต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ นี้ และให้แสดงหรือใช้เครื่องหมายมาตรฐาน หรือท า หรือน าเข้าผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่ เป็นไปตามมาตรฐาน แล้วแต่กรณี ต่อไปได้ จนกว่าจะมีค าสั่งไม่อนุญาตให้โอนใบอนุญาต และให้น ามาตรา ๒๕ วรรคสามและวรรคสี่มาใช้ บังคับโดยอนุโลม ในกรณีที่ผู้รับใบอนุญาตถูกศาลสั่งให้เป็นคน ไร้ความสามารถ ให้น าความในวรรคหนึ่งและ วรรคสองมาใช้บังคับแก่ผู้อนุบาลโดยอนุโลม การขอรับโอนใบอนุญาตและการอนุญาต ให้ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ ก าหนดในกฎกระทรวง
ใบอนุญาตสิ้นอายุเมื่อ
เมื่อผู้รับใบอนุญาตเลิกประกอบกิจการ ผู้รับ ใบอนุญาตต้องแจ้งเป็นหนังสือให้เลขาธิการ ทราบภายในสามสิบวันนับแต่วันเลิกประกอบ กิจการ
ผู้รับใบอนุญาตตามมาตรา ๒๐ หรือมาตรา ๒๑ ต้องท าผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนั้นให้เป็นไป ตามมาตรฐาน หรือน าผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่ เป็นไปตามมาตรฐานเข้ามา แล้วแต่กรณี
ให้รัฐมนตรีก าหนดเครื่องหมายมาตรฐานขึ้นไว้ ส าหรับแสดงกับผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมตาม มาตรา ๑๖ มาตรา ๒๐ และมาตรา ๒๑ ลักษณะของเครื่องหมายมาตรฐาน การท า เครื่องหมายมาตรฐาน และวิธีแสดงเครื่องหมาย มาตรฐาน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก าหนดในกฎกระทรวง
ห้ามมิให้ผู้ใดนอกจากผู้รับใบอนุญาตตาม มาตรา ๑๖ มาตรา ๒๐ หรือมาตรา ๒๑ ใช้ เครื่องหมายมาตรฐาน
ห้ามมิให้ผู้ใดเลียนเครื่องหมายมาตรฐาน เพื่อให้ประชาชนหลงเชื่อว่าเป็นเครื่องหมาย มาตรฐาน
ให้ผู้รับใบอนุญาตตามมาตรา ๒๐ และมาตรา ๒๑ แสดงเครื่องหมายมาตรฐานก่อนน า ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมออกจากสถานที่ผลิต หรือรับมอบไปจากเจ้าพนักงานศุลกากร ในกรณี หลังนี้เลขาธิการจะอนุญาตให้ท าภายหลังตาม เงื่อนไขที่ก าหนดก็ได้[๔๓] ในกรณีที่มีการอนุญาตให้ท าหรือน าเข้ามาใน ราชอาณาจักรซึ่งผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่ แตกต่างไปจากมาตรฐานที่ก าหนดตามมาตรา ๒๐ ทวิ หรือมาตรา ๒๑ ทวิ แล้วแต่กรณี ให้ผู้รับ ใบอนุญาตหรือผู้รับอนุญาตแสดงเครื่องหมาย หรือข้อความว่าผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนั้นไม่ได้ เป็นไปตามมาตรฐานตามพระราชบัญญัตินี้ตาม ความในวรรคหนึ่ง ส าหรับเครื่องหมายหรือ ข้อความดังกล่าวนั้นให้คณะกรรมการก าหนด ในกรณีที่มีหลักฐานว่าผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ที่น าเข้าเป็นไปตามมาตรฐานของต่างประเทศที่ เทียบได้ไม่ต ่ากว่ามาตรฐานตามพระราชบัญญัติ นี้ และมีเครื่องหมายมาตรฐานของต่างประเทศ แสดงแล้ว คณะกรรมการอาจยกเว้นให้ผู้รับ ใบอนุญาตหรือผู้รับอนุญาตไม่ต้องแสดง เครื่องหมายมาตรฐานตามวรรคหนึ่งหรือ เครื่องหมายหรือข้อความตามวรรคสอง แล้วแต่ กรณี ในกรณีที่มีการแจ้งเพื่อท า ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่แตกต่างไปจาก มาตรฐานที่ก าหนดตามมาตรา ๒๐ ตรี ให้ผู้แจ้ง แสดงเครื่องหมายหรือข้อความว่า ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนั้นเป็น ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเพื่อการส่งออกตามที่ คณะกรรมการก าหนดก่อนน า ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมออกจากสถานที่ผลิต
ในการใช้เครื่องหมายมาตรฐาน ผู้รับ ใบอนุญาตต้องแสดงชื่อผู้รับใบอนุญาตหรือ เครื่องหมายการค้าของผู้รับใบอนุญาตที่จด ทะเบียนแล้วตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก าหนดในกฎกระทรวง
ห้ามมิให้ผู้รับใบอนุญาตตามมาตรา ๑๖ มาตรา ๒๐ หรือมาตรา ๒๑ แสดงเครื่องหมาย มาตรฐานกับผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่ไม่เป็นไป ตามมาตรฐาน
ห้ามมิให้ผู้ใดโฆษณา จ าหน่าย หรือมีไว้เพื่อ จ าหน่าย ซึ่งผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม โดยรู้อยู่ว่า ไม่เป็นไปตามมาตรา ๑๖ มาตรา ๒๐ มาตรา ๒๐ ทวิ มาตรา ๒๑ มาตรา ๒๑ ทวิ มาตรา ๒๙ หรือมาตรา ๓๓ วรรคหนึ่งหรือวรรคสอง หรือโดย รู้อยู่ว่าเป็นผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่ใช้หรือแสดง เครื่องหมายมาตรฐานอันเป็นการฝ่ าฝืนมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๒ หรือมาตรา ๓๕
ห้ามมิให้ผู้ใดโฆษณา จ าหน่าย หรือมีไว้เพื่อ จ าหน่ายซึ่งผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม โดยรู้อยู่ว่า เป็นผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่ท าขึ้นเพื่อการ ส่งออกตามมาตรา ๒๐ ตรี เว้นแต่เป็นการ จ าหน่ายเพื่อการส่งออก
เลขาธิการมีอ านาจสั่งพักใช้ใบอนุญาตได้ไม่ เกินครั้งละสามเดือน เมื่อปรากฏว่าผู้รับ ใบอนุญาตฝ่ าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๒๒ มาตรา ๒๓ วรรคหนึ่ง มาตรา ๒๔ วรรคหนึ่ง มาตรา ๒๕ วรรคหนึ่ง มาตรา ๒๙ มาตรา ๓๓ วรรคหนึ่งหรือวรรคสอง มาตรา ๓๔ มาตรา ๓๕ หรือกฎกระทรวงซึ่งออกตามพระราชบัญญัตินี้ หรือเงื่อนไขที่เลขาธิการก าหนดตามมาตรา ๒๕ ทวิ
ในกรณีที่ผู้ถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตได้ปฏิบัติการ ถูกต้องตามพระราชบัญญัตินี้แล้ว ให้เลขาธิการ สั่งเพิกถอนค าสั่งพักใช้ใบอนุญาตนั้นก่อนถึง ก าหนดได้
เลขาธิการมีอ านาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาต เมื่อ ปรากฏว่าผู้รับใบอนุญาตเคยถูกสั่งพักใช้ ใบอนุญาตแล้วมากระท าความผิดในเหตุอย่าง เดียวกันอีกภายในห้าป
มาตรา ๓๙ ทวิ เลขาธิการมีอ านาจสั่งเพิกถอนการอนุญาต ตามมาตรา ๒๐ ทวิ หรือมาตรา ๒๑ ทวิ เมื่อ ปรากฏว่าผู้รับใบอนุญาตหรือผู้รับอนุญาต แล้วแต่กรณี ไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๓๓ วรรคสอง หรือหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่คณะกรรมการ ก าหนด
เลขาธิการมีอ านาจสั่งเพิกถอนใบรับแจ้งตาม มาตรา ๒๐ ตรี เมื่อปรากฏว่าผู้แจ้งไม่ส่งออกซึ่ง ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่ท าขึ้นไม่ว่าในกรณีใด ๆ หรือส่งออกแล้วแต่ถูกส่งกลับเข้ามาใน ราชอาณาจักรอีก หรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๓๓ วรรคสี่ หรือหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่ คณะกรรมการก าหนดตามมาตรา ๒๐ ตรี
ก่อนสั่งพักใช้ใบอนุญาตตามมาตรา ๓๗ หรือ สั่งเพิกถอนใบอนุญาตตามมาตรา ๓๙ ให้ เลขาธิการมีหนังสือเตือนให้ผู้รับใบอนุญาต ปฏิบัติการให้ถูกต้องภายในเวลาที่ก าหนด แต่ ทั้งนี้ไม่เป็นเหตุลบล้างความผิดตาม พระราชบัญญัตินี้ ในกรณีที่ไม่พบตัวผู้รับ ใบอนุญาตดังกล่าว ให้ปิดหนังสือเตือนไว้ ณ สถานที่ที่ระบุไว้ในใบอนุญาตและให้ถือว่าผู้รับ ใบอนุญาตนั้นได้ทราบค าเตือนนั้นแล้วตั้งแต่วัน ปิดหนังสือเตือน
ค าสั่งตามมาตรา ๓๗ มาตรา ๓๙ มาตรา ๓๙ ทวิหรือมาตรา ๓๙ ตรีให้ส านักงานแจ้งเป็น หนังสือให้ผู้ถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาต เพิกถอน ใบอนุญาต เพิกถอนการอนุญาต หรือเพิกถอน ใบรับแจ้งทราบ ในกรณีที่ไม่พบตัวผู้ถูกสั่ง ดังกล่าว ให้ปิดหนังสือไว้ณ สถานที่ที่ระบุไว้ใน ใบอนุญาต หนังสืออนุญาต หรือใบรับแจ้ง แล้วแต่กรณีและให้ถือว่าผู้นั้นได้ทราบค าสั่งนั้น แล้วตั้งแต่วันปิดหนังสือ
การอุทธรณ์ค าสั่งของเลขาธิการ ให้เป็นไปตาม กฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
ผู้ใดถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตส าหรับ ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมชนิดใดแล้วจะขอ ใบอนุญาตส าหรับผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมชนิด นั้นใหม่อีกไม่ได้จนกว่าจะพ้นหกเดือนนับแต่วัน ทราบค าสั่ง
ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ ให้พนักงาน เจ้าหน้าที่มีอ านาจดังต่อไปนี้
(ก) ไม่เป็นไปตามมาตรา ๑๖ มาตรา ๒๐ มาตรา ๒๐ ทวิมาตรา ๒๐ ตรีมาตรา ๒๑ มาตรา ๒๑ ทวิมาตรา ๒๑ ตรีมาตรา ๒๙ หรือมาตรา ๓๓ วรรคหนึ่งหรือวรรคสอง (ข) ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่ คณะกรรมการก าหนดตามมาตรา ๒๐ ทวิ วรรคสอง มาตรา ๒๐ ตรีวรรคหนึ่ง มาตรา ๒๑ วรรคสอง มาตรา ๒๑ ทวิวรรคสอง หรือ มาตรา ๒๑ ตรีวรรคหนึ่ง (ค) เป็นผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่ใช้หรือแสดง เครื่องหมายมาตรฐานอันเป็นการฝ่ าฝืน มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๒ หรือมาตรา ๓๕ หรือ (ง) เป็นผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเพื่อการส่งออก ที่ถูกเพิกถอนใบรับแจ้งตามมาตรา ๓๙ ตรี
พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องมีบัตรประจ าตัว พนักงานเจ้าหน้าที่ตามแบบที่ก าหนดใน กฎกระทรวง ในการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา ๔๔ พนักงาน เจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจ าตัวพนักงาน เจ้าหน้าที่ต่อบุคคลซึ่งเกี่ยวข้อง
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้ ยึดหรืออายัดไว้ตามมาตรา ๔๔ (๓) นั้น ให้ คณะกรรมการมีอ านาจดังต่อไปนี้ (๑) ในกรณีที่ผู้รับใบอนุญาตตามมาตรา ๑๖ ฝ่ าฝืนมาตรา ๓๕ หรือเป็นกรณีที่ไม่ปฏิบัติตาม มาตรา ๑๖ อันเป็นการฝ่ าฝืนมาตรา ๓๑ หรือ เป็นกรณีที่ผู้โฆษณา ผู้จ าหน่าย หรือผู้มีไว้เพื่อ จ าหน่ายฝ่ าฝืนมาตรา ๓๖ คณะกรรมการอาจ สั่งให้แก้ไขหรือปรับปรุงผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ให้เป็นไปตามมาตรฐาน หรือสั่งให้ท าลาย เครื่องหมายมาตรฐาน หรือท าให้เครื่องหมาย มาตรฐานหลุดพ้นจากผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม นั้นด้วยก็ได้หากไม่สามารถท าลายเครื่องหมาย มาตรฐานหรือท าให้เครื่องหมายมาตรฐานหลุด พ้นจากผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมได้ก็อาจสั่งให้ ท าผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนั้นให้สิ้นสภาพ (๒) ในกรณีที่ไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๒๐ มาตรา ๒๐ ตรีมาตรา ๒๑ หรือมาตรา ๒๑ ตรีหรือฝ่ า ฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่ คณะกรรมการก าหนดตามมาตรา ๒๐ ทวิ วรรคสอง มาตรา ๒๐ ตรีวรรคหนึ่ง มาตรา ๒๑ วรรคสอง มาตรา ๒๑ ทวิวรรคสอง หรือมาตรา ๒๑ ตรีวรรคหนึ่ง คณะกรรมการอาจสั่งให้ท า ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมให้สิ้นสภาพ หรือใน กรณีที่น าเข้าอาจสั่งให้ส่งกลับคืนไป ถ้าไม่ ส่งกลับคืนไปก็อาจสั่งให้ท า ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนั้นให้สิ้นสภาพ หรือ อาจสั่งให้รอไว้เพื่อให้ผู้ท าหรือผู้น าเข้าขอรับ ใบอนุญาต หรือขอรับอนุญาต หรือขอรับใบรับ แจ้งก่อนได้ (๓) ในกรณีที่เป็นผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเพื่อ การส่งออกที่ถูกเพิกถอนใบรับแจ้งตามมาตรา ๓๙ ตรีคณะกรรมการอาจสั่งให้ท า ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนั้นให้สิ้นสภาพได้ (๔) ในกรณีที่ผู้รับใบอนุญาตไม่ปฏิบัติตาม มาตรา ๒๙ คณะกรรมการอาจสั่งให้แก้ไขหรือ ปรับปรุงผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมให้เป็นไปตาม มาตรฐานหรือสั่งให้ท าผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ให้สิ้นสภาพหรือในกรณีที่น าเข้าอาจสั่งให้ ส่งกลับคืนไปและอาจสั่งให้ท าลายเครื่องหมาย มาตรฐาน หรือท าให้เครื่องหมายมาตรฐาน หลุดพ้นจากผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนั้นด้วยก็ ได้ถ้าไม่ส่งกลับคืนไป หรือไม่ท าลาย เครื่องหมายมาตรฐาน หรือไม่ท าให้ เครื่องหมายมาตรฐานหลุดพ้นจาก ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ก็อาจสั่งให้ท า ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนั้นให้สิ้นสภาพ ให้ผู้รับใบอนุญาต ผู้รับอนุญาต ผู้ท า ผู้น าเข้า ผู้โฆษณา ผู้จ าหน่าย หรือผู้มีไว้เพื่อจ าหน่าย แล้วแต่กรณีเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการ แก้ไข การปรับปรุง หรือการท าให้สิ้นสภาพ รวมทั้งการจัดการซากผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือการส่งกลับคืนไปซึ่งผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือการรอไว้เพื่อขอรับใบอนุญาตหรือขอรับ อนุญาต หรือการท าลายเครื่องหมายมาตรฐาน หรือการท าให้เครื่องหมายมาตรฐานหลุดพ้นจาก ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม การท าให้สิ้นสภาพและการจัดการซาก ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการก าหนด
สิ่งที่ยึดหรืออายัดไว้ตามมาตรา ๔๔ (๓) ถ้า ภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่ยึดหรืออายัดไม่ ปรากฏเจ้าของหรือผู้ครอบครอง ให้ตกเป็นของ แผ่นดิน และให้ส านักงานโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการมีอ านาจจัดการอย่างใดอย่างหนึ่ง ได้ตามที่เห็นสมควร ถ้าสิ่งที่ยึดหรืออายัดไว้ตามมาตรา ๔๔ (๓) นั้น เป็นของเสียง่ายหรือถ้าเก็บไว้จะเป็นการเสี่ยงต่อ ความเสียหายหรือจะเสียค่าใช้จ่ายในการเก็บ รักษาเกินค่าของสิ่งนั้น ส านักงานจะจัดการขาย ทอดตลาดสิ่งนั้นเสียก่อนคดีถึงที่สุด หรือก่อนที่ สิ่งนั้นจะตกเป็นของแผ่นดินก็ได้เงินค่าขายสิ่ง นั้นเมื่อหักค่าใช้จ่ายและค่าภาระติดพันทั้งปวง แล้วเหลือเงินจ านวนสุทธิเท่าใดให้ถือไว้แทนสิ่ง นั้น
ให้บุคคลซึ่งเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของ พนักงานเจ้าหน้าที่อ านวยความสะดวก ช่วยเหลือ หรือให้ค าชี้แจงแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ ตามที่ขอร้อง
ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๒๐ วรรคหนึ่ง หรือ มาตรา ๒๑ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษจ าคุกไม่ เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสองล้านบาท หรือทั้ง จ าทั้งปรับ
ผู้ใดท าหรือน าเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่ง ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมตามมาตรา ๒๐ ทวิ วรรคหนึ่ง มาตรา ๒๐ ตรีวรรคหนึ่ง มาตรา ๒๑ ทวิวรรคหนึ่ง หรือมาตรา ๒๑ ตรีวรรคหนึ่ง โดย ไม่ได้รับอนุญาตหรือไม่ได้แจ้ง หรือฝ่ าฝืนหรือไม่ ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่ คณะกรรมการก าหนดตามมาตรา ๒๐ ทวิวรรค สอง มาตรา ๒๐ ตรีวรรคหนึ่ง มาตรา ๒๑ ทวิ วรรคสอง หรือมาตรา ๒๑ ตรีวรรคหนึ่งแล้วแต่ กรณีหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๓๓ วรรคสอง หรือวรรคสี่ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสองล้านบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ
ผู้ใดท ารายงานการตรวจสอบการท า ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมหรือการตรวจสอบ มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมขึ้นทั้งฉบับหรือ แต่ส่วนหนึ่งส่วนใด เติมหรือตัดทอนข้อความ หรือแก้ไขด้วยประการใดในรายงานดังกล่าวอัน เป็นเท็จเพื่อให้ผู้หนึ่งผู้ใดหลงเชื่อว่าการท า ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมหรือผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมนั้นเป็นไปตามมาตรฐาน ต้อง ระวางโทษจ าคุกตั้งแต่หกเดือนถึงห้าปีและ ปรับตั้งแต่ห้าแสนบาทถึงห้าล้านบาท
ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๒๑ วรรคสอง ต้อง ระวางโทษปรับตั้งแต่ห้าพันบาทถึงห้าหมื่นบาท
ผู้รับใบอนุญาตผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๒๔ วรรคหนึ่ง มาตรา ๒๕ วรรคหนึ่ง มาตรา ๒๘ มาตรา ๓๓ วรรคหนึ่ง หรือมาตรา ๓๔ ต้อง ระวางโทษปรับไม่เกินสามแสนบาท
ผู้รับใบอนุญาตผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๒๙ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม เกินสองล้านบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ
ผู้ใดฝ่ าฝืนมาตรา ๓๑ หรือมาตรา ๓๒ ต้อง ระวางโทษจ าคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกิน หนึ่งล้านบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ
(ยกเลิก)
ผู้รับใบอนุญาตผู้ใดฝ่ าฝืนมาตรา ๓๕ ต้อง ระวางโทษดังต่อไปนี้
ผู้ใดฝ่ าฝืนมาตรา ๓๖ หรือมาตรา ๓๖/๑ ต้อง ระวางโทษจ าคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกิน ห้าแสนบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ
ผู้ใดขัดขวางพนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ ตามมาตรา ๔๔ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินสาม เดือน หรือปรับไม่เกินสามแสนบาท หรือทั้งจ าทั้ง ปรับ
ผู้ใดไม่อ านวยความสะดวก ไม่ช่วยเหลือ หรือ ไม่ให้ค าชี้แจงแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๔๗ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท
ผู้ใดไม่อ านวยความสะดวก ไม่ช่วยเหลือ หรือ ไม่ให้ค าชี้แจงแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๔๗ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท
ในกรณีที่นิติบุคคลเป็นผู้กระท าความผิดตาม พระราชบัญญัตินี้ถ้าการกระท าความผิดของนิติ บุคคลนั้นเกิดจากการสั่งการ หรือการกระท าของ บุคคลใด หรือไม่สั่งการ หรือไม่กระท าการอัน เป็นหน้าที่ที่ต้องกระท าของผู้แทนนิติบุคคล กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลอื่นใดซึ่งกระท า การแทนนิติบุคคลนั้น ผู้นั้นต้องรับโทษตามที่ บัญญัติไว้ส าหรับความผิดนั้น ๆ ด้วย
บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้เว้นแต่ ความผิดตามมาตรา ๔๘ ตรีให้เลขาธิการหรือ พนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย หรือ คณะกรรมการเปรียบเทียบมีอ านาจเปรียบเทียบ ได้ดังต่อไปนี้
คณะกรรมการเปรียบเทียบตามวรรคหนึ่ง ให้ ประกอบด้วยผู้แทนส านักงานอัยการสูงสุดเป็น ประธานกรรมการ ผู้แทนส านักงานต ารวจ แห่งชาติเป็นกรรมการและผู้แทนส านักงาน มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเป็นกรรมการ และเลขานุการ หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาของผู้มีอ านาจ เปรียบเทียบตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่ คณะกรรมการก าหนด เมื่อผู้ต้องหาได้ช าระเงินค่าปรับตามจ านวนที่ เปรียบเทียบภายในระยะเวลาที่ก าหนดแล้ว ให้ ถือว่าคดีเลิกกันตามบทบัญญัติแห่งประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ถ้าผู้ต้องหาไม่ยินยอมตามที่เปรียบเทียบ หรือ เมื่อยินยอมแล้วไม่ช าระเงินค่าปรับภายใน ระยะเวลาที่ก าหนด ให้ด าเนินคดีต่อไป
ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้และให้มีอ านาจ แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ กับออกกฎกระทรวง ก าหนดค่าธรรมเนียมไม่เกินอัตราท้าย พระราชบัญญัตินี้ลดหรือยกเว้นค่าธรรมเนียม และก าหนดกิจการอื่นเพื่อปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจา นุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ จอมพล ถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี
(๑) ใบอนุญาตตามมาตรา ๑๖ ฉบับละ ๑๐,๐๐๐ บาท (๒) ใบอนุญาตตามมาตรา ๒๐ ฉบับละ ๑๐,๐๐๐ บาท (๓) ใบอนุญาตตามมาตรา ๒๑ ฉบับละ ๑๐,๐๐๐ บาท (๔) ใบอนุญาตตามมาตรา ๒๔ ฉบับละ ๕,๐๐๐ บาท (๕) ใบอนุญาตตามมาตรา ๒๕ ฉบับละ ๕,๐๐๐ บาท (๖) ใบแทนใบอนุญาต ฉบับละ ๑,๐๐๐ บาท
「1968년 공산품표준법」
• 국가·지역: 태국 • 제 정 일: 1968년 12월 27일 • 최종개정일: 2019년 4월 15일
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ณ วันที่ ๒๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๑ เป็นปีที่ ๒๓ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยค าแนะน าและยินยอม ของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서 현 왕조의 23번째 해인 1968년 (불기2511년) 12월 27일에 하사 하셨다. 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서는 다음과 같이 공포하도록 하셨다. 공산품 표준 관련 법률을 갖추는 것이 마땅하다. 그러므로 국왕 폐하께서는 의회 의 조언과 승인을 통하여 다음과 같이 이 법을 제정하도록 하셨다.
이 법은 “1968년 공산품표준 법”이라고 한다.
이 법은 관보에 게재한 이튿날 부터 시행하도록 한다.
이 법에서 사용하는 용어의 뜻 은 다음과 같다. “표준”이란 다음 각 항과 관련 한 한가지 또는 여러가지 항목 에 대한 규정을 말한다.
“사무처”란 공산품표준사무처를 말한다. “위원회”란 공산품표준위원회를 말한다. “사무처장”이란 공산품표준사무 처장을 말한다. “담당관”이란 장관이 이 법에 따라 집행하도록 임명하는 사람 을 말한다. “장관”이란 이 법에 따른 주무 장관을 말한다.
산업부에 공산품표준사무처를 설치하고 다음 각 항의 권한과 직무를 담당하도록 한다.
사무처장이 사무처의 전반적인 공무를 지휘하고 관리, 감독한 다.
사무처장은 위원회의 승인을 통하여 위원회가 정하는 원칙과 조건에 따라 정부부문이나 국가 기관, 국영기업, 정부기관 또는 국내외의 기타 기관을 공산품 제조 심사 또는 공산품 심사를 담당하도록 정하여 관보에 게재 할 권한이 있다.
장관은 제16조에 따른 표준마 크를 사용하거나 경우에 따라 제20조나 제20조의부칙1, 제21 조 또는 제21조의부칙1에 따라 허가증을 취득하거나 허가를 받 은 공산품에 한하여 제16조와 제20조, 제20조의부칙1, 제21 조, 제21조의부칙1 및 제44조의 제(1)항 공산품 제조 심사나 공 산품 또는 물품 심사 비용 요율 을 정하여 관보에 게재할 권한 이 있다. 첫번째 단락에 따른 공산품 제 조 심사나 공산품 또는 물품 심 사 비용은 경우에 따라 허가증 신청자나 허가증 취득자, 허가 취득자, 제조자, 수입업자, 판매 자 또는 판매를 위하여 보관하 는 사람에게 청구하도록 한다.
산업부 차관을 위원장으로 하 고, 공장국장, 산업진흥국장, 농 업협동조합부 대리인, 내무부 대리인, 상무부 대리인, 과학기 술에너지부 대리인, 보건부 대 리인, 관세청 대리인, 태국과학 기술연구소 대리인, 투자촉진위 원회사무처 대리인, 국가경제사 회개발위원회사무처 대리인과 내각이 임명하는 5인 이하의 권 위자를 위원으로 하는 위원회를 두도록 한다. 사무처장은 위원 겸 간사가 되 도록 한다.
위원회는 다음 각 항의 권한과 직무를 담당한다.
내각 임명 위원의 임기는 3년 이다. 첫번째 단락에 따른 임기가 만 료한 때에 만약 아직 새로운 위 원을 임명하지 아니하였다면, 해당 임기에 따라 이임하는 위 원은 새로 임명되는 위원이 취 임할 때까지 업무 수행을 계속 하기 위하여 재임하도록 한다. 임기에 따라 이임하는 내각 임 명 위원은 재임명될 수 있으나, 2회를 초과하여 연임할 수는 없 다.
내각 임명 위원은 제9조 첫번 째 단락에 따른 임기에 의한 이 임 이외에 다음 각 항의 어느 하나에 해당하는 때에 이임한 다.
두번째 단락에 따른 위원이 아 직 임명되지 아니한 동안에는 내각이 새로 임명하는 위원의 임명이 있을 때까지 재임 중인 위원으로만 위원회를 구성하도 록 한다.
위원회의 회의는 재적 위원의 3분의 1 이상이 참석하여야 정 족수가 된다. 특정 회차의 회의에서 만약 위 원장이 회의에 불참하였다면, 회의에 참석한 위원이 위원 중 한 사람을 그 회의의 의장으로 선정하도록 한다. 회의의 결정은 다수결로 하도 록 한다. 위원 한 사람은 하나의 투표권 을 가진다. 만약 득표수가 같다 면, 의장이 추가로 한 개의 결 정표를 행사할 수 있도록 한다.
위원회는 업무 수행 지원 또는 위원회로부터 위임을 받은 각종 사안을 검토하기 위한 소위원회 임명권을 갖는다. 소위원회의 회의는 제11조를 준용하도록 한다.
표준안 작성 및 표준 관련 기 타 학술 업무 수행을 위하여 위 원회에 제출하여 검토하도록 하 기 위하여 적합성에 따라 위원 회가 임명하는 하나 또는 다수 의 학술위원회를 두도록 한다. 학술위원은 임명되는 공산품 관련 지식 또는 전문성을 갖춘 적격자이어야 한다. 이와 관련 하여 학술위원 임명 원칙 및 절 차는 위원회가 정하는 바를 따 르도록 한다. 직무 수행에서, 학술위원회는 업무 보조나 학술위원회가 위임 하는 각종 사안에 대한 검토를 지원하기 위한 소위원회 임명권 을 가진다. 학술위원회 및 학술소위원회의 임기와 이임 및 회의는 제9조와 제11조를 준용하도록 한다.
학술위원회는 임기 만료에 따 른 이임 이외에 다음 각 항의 어느 하나에 해당하는 때에 이 임한다.
산업 진흥의 이익을 위하여 장 관은 외국 표준이나 국제 표준 을 사용 또는 참고하도록 하여 특정 공산품에 대한 표준을 규 정, 수정 및 취소 고시할 수 있 다. 이와 관련하여 필요한 경우 에는 위원회가 건의하는 바에 따라 외국 문서인 해당 표준을 사용 또는 참고하도록 정할 수 있다. 첫번째 단락에 따른 고시는 관 보에 게재하도록 한다.
제25조의 적용 하에서 표준을 정하는 고시가 있는 공산품 생 산자는 해당 공산품을 제조장에 서 반출하기 전에 담당관이 심 사하도록 하고, 사무처장으로부 터 허가증을 취득하여야 해당 공산품에 표준마크를 표시할 수 있다. 허가 신청과 심사 및 허가증 발급은 부령에서 정하는 원칙과 절차를 따르도록 한다. 두번째 단락에 따른 부령은 기 술적 세부 사항인 각 공산품에 서 위원회의 승인을 통하여 사 무처장이 정하는 원칙과 절차를 따르도록 규정할 수도 있다.
안전 또는 국민이나 산업 또는 국가 경제에 발생할 수 있는 피 해 방지를 위하여 위원회는 특 정 공산품이 표준의 전체 또는 일부분을 따라야 하도록 규정하 는 부령 제정을 장관에게 건의 할 수 있다. 첫번째 단락에 따른 부령은 관 보에 게재한 날부터 최소 60일 이후의 시행일을 명시하도록 한 다.
만약 지체되도록 방치한다면 국민이나 산업 또는 국가 경제 에 피해를 유발할 수 있는 긴급 성을 요하는 경우, 위원회는 특 정 공산품을 외국 또는 국제 표 준이나 규칙의 전체 또는 일부 분을 따라야 하도록 규정하는 부령 제정을 장관에게 건의할 수 있으며, 그러한 부령에는 관 보에 게재한 날부터 최대 60일 이후의 시행일을 명시할 수도 있다. 이와 관련하여 필요한 경 우에는 위원회의 건의에 따라 외국 문서인 해당 표준이나 규 칙을 사용 또는 참고하도록 정 할 수도 있다.
사무처는 제17조 및 제17조의 1에 따른 부령을 제정하기 전에 이해관계인 집단의 대리인 또는 관련 이해당사자의 의견을 청취 하도록 한다.
제18조에 따라 의견 청취를 완 료한 때에 사무처는 그러한 의 견 청취 결과를 부령 제정 전, 장관에게 제출하기에 앞서 위원 회에 제출하여 검토하도록 한 다.
제25조의 적용 하에서 표준을 따르도록 규정하는 고시가 있는 공산품 제조자는 제조 전에 담 당관에게 증빙 자료를 제시하여 심사하도록 하고, 사무처장으로 부터 허가증을 취득하여야 한 다. 다만, 연구 개발을 위한 제 조나 생산 공정 시험을 위한 제 조 또는 허가증 신청을 위한 샘 플 제조는 제외하여, 그러한 공 산품 생산을 개시하기 전에 사 무처에 신고하도록 하며, 위원 회가 정하는 원칙과 조건을 준 수하여야 한다. 허가 신청과 심사 및 허가증 발급은 부령에서 정하는 원칙과 절차를 따르도록 한다. 두번째 단락에 따른 부령은 기 술적 세부 사항인 각 공산품마 다 위원회의 승인을 통하여 사 무처가 정하는 원칙과 절차를 따르도록 심사 방법을 정할 수 도 있다.
그때그때 국내에서 사용하기 위하여, 규정한 표준과 다른 공 산품을 제조하여야 하는 필요성 이 있는 경우, 사무처장은 제20 조에 따른 허가증 취득자에 대 하여 임시로 부령에서 외국 표 준이나 국제 표준에 따른 표준 을 따르도록 규정하는 공산품 제조 허가를 할 수도 있다. 첫번째 단락에 따른 외국 표준 이나 국제 표준은 위원회로부터 승인을 받아야 하며, 그러한 공 산품 제조는 위원회가 정하는 원칙과 조건을 따라야 한다.
수출용으로, 규정한 표준과 다 른 공산품을 제조하여야 할 필 요가 있는 때에는, 부령에서 표 준을 따르도록 규정하는 공산품 제조자는 그러한 공산품 제조 개시 전에 사무처에 신고하도록 하며, 위원회가 정하는 원칙과 조건을 준수하여야 한다. 첫번째 단락에 따라 신고를 접 수한 때에 사무처는 신고 접수 일에 신고자에게 신고 증빙 자 료로 신고필증을 발급하여야 하 며, 신고자는 신고필증을 수령 한 날부터 공산품 제조를 개시 하도록 한다.
특정 공산품에 대하여 외국 또 는 국제 표준이나 규칙을 따라 야 해당 공산품을 수입할 수 있 도록 하는 외국 규칙이나 국제 협정 또는 수출업자와 수입업자 간의 계약이 있는 경우에는 그 러한 공산품에 대하여 표준을 따르도록 규정하는 부령의 유무 를 불문하며 그러한 외국 기관 이 정부 또는 민간 기관인지에 관계없이, 위원회가 정하는 원 칙과 조건에 따라 사무처가 심 사 인증 또는 그러한 공산품 인 증을 하도록 하는 관련 외국 기 관과 협정을 체결할 수 있다.
이 법에 따른 표준 관련 심사 또는 인증은, 해당 기관이 국내 또는 외국에 위치하거나 정부 또는 민간 기관인지에 관계없 이, 위원회가 다른 기관에 의하 여 규정되었거나 이행되는 표준 이나 심사 또는 인증에 대한 승 인 고시를 하거나, 다른 기관에 심사나 인증 또는 심사나 인증 관련 업무를 수행하도록 위임할 수도 있다. 이와 관련하여 사무 처장이 위원회의 승인을 통하여 심사 또는 인증 수행 기관과 공 산품의 종류 및 표준, 실험실 및 승인을 받는 심사 또는 인증 범위를 관보에 게재할 권한을 갖도록 한다.
제25조의 적용 하에서 표준을 따르도록 정한 부령이 있는 공 산품을 국내에서 판매하기 위하 여 수입하는 사람은 세관공무원 에게서 인도받기 전에 조사관에 게 증빙 자료를 제시하고 사무 처장의 허가증을 취득하여야 한 다. 국내 판매 목적은 없으나 사무 처가 정한 수를 초과하여 수입 하는 경우에는 세관공무원에게 서 인도받기 전에 사무처에 신 고하고, 위원회가 정하는 원칙 과 절차를 준수하여야 한다. 허가 신청과 조사 및 허가증 발급은 부령에서 정하는 원칙과 절차를 따르도록 한다. 세 번째 단락에 따른 부령은 기술적 세부 사항인 각 공산품 에 대한 검사가 위원회의 승인 을 통하여 사무처장이 정하는 원칙과 절차를 따르도록 정할 수도 있다.
국내에서 간헐적으로 사용하기 위하여, 규정한 표준과 다른 공 산품을 국내로 수입하여야 하는 필요성이 있는 때에는 사무처장 이 표준을 따르도록 정하는 부 령이 있는 공산품을 수입하는 사람에게는 외국 표준 또는 국 제 표준을 따르도록 특별 허가 를 할 수도 있다. 첫 번째 단락에 따른 외국 표 준 또는 국제 표준은 위원회의 승인을 받아야 하며, 해당 공산 품의 국내 수입은 위원회가 정 하는 원칙과 절차를 따라야 한 다.
표준을 따르도록 규정하는 부 령이 있는 공산품 전부를 국외 수출을 목적으로 공산품에 대한 제조, 혼합, 조립, 포장 또는 기 타 방법으로 처리하기 위하여 국내에 수입하여야 하는 필요성 이 있는 때에는 수입업자가 해 당 공산품 수입을 개시하기 전 에 사무처에 신고하도록 하며, 위원회가 정하는 원칙과 조건을 준수하여야 한다. 첫 번째 단락에 따른 신고를 접수한 때에는 사무처가 신고를 접수한 날에 신고자에게 신고 증빙용도로 신고필증을 발급하 도록 하고, 신고자는 신고필증 을 수령한 날부터 공산품 수입 을 개시하도록 한다.
허가증 취득자는 허가증에 기 재된 장소의 눈에 잘 띄는 공개 된 곳에 허가증을 게시하여야 한다.
허가증을 분실 또는 훼손하였 다면, 허가증 취득자는 허가증 분실 또는 훼손을 인지한 날부 터 30일 이내에 사무처장에게 허가증대체증서를 신청하도록 한다. 허가증대체증서 신청과 허가증 대체증서 발급은 부령에서 정하 는 원칙과 절차를 따르도록 한 다.
허가증에 기재된 장소의 이전 은 사무처장의 허가를 받아야 한다. 허가 신청과 허가증 발급은 부 령에서 정하는 원칙과 절차를 따르도록 한다.
제16조와 제20조 및 제21조에 따라 발급되는 허가증의 양도는 사무처장으로부터 허가증 양도 허가증을 받은 때에 실행할 수 있다. 허가증 양도 신청자가 첫 번째 단락에 따라 허가증 양도 신청 서를 제출한 때에는 허가증 양 수 신청자를 이 법률을 준수하 여야 할 허가증 취득자로 간주 하여, 양도 불허 명령이 있을 때까지는 경우에 따라 표준에 따른 허가증 표시나 표준마크 사용 또는 제품 생산이나 수입 을 계속할 수 있도록 한다. 사무처장은 신청서 접수일부터 30일 이내에 허가증 양도 신청 서 검토 및 명령을 완료하도록 한다. 사무처장이 세 번째 단락에 따 른 기한 내에 검토를 완료하지 아니한 경우에는 해당 허가증 양도 신청서가 허가된 것으로 보도록 하며, 사무처장은 지체 없이 허가증 양도 허가증을 발 급하여야 한다. 허가증 양도 신청 및 허가증 양도 허가증 발급은 부령에서 정하는 원칙과 절차를 따르도록 한다.
제16조와 제20조, 제21조, 제 24조 및 제25조에 따라 허가증 을 발급하는 경우, 사무처장은 서면으로 다음 각 항의 사안에 관하여 허가증 취득자가 준수하 도록 하는 조건을 규정할 수도 있다.
첫 번째 단락에 따라 정하는 조건은 사무처장이 수정할 수도 있다.
자연인인 허가증 취득자가 사 망한 경우, 상속인 또는 유산 관리인이 허가증 취득자 사망일 부터 180일 이내 또는 연장을 필요로 하는 기간 이내에 허가 증을 양수하기 위한 신청서를 제출하도록 한다. 기한 내에 신 청서를 제출하지 아니한다면, 허가증은 유효기간이 만료된 것 으로 보도록 한다. 첫 번째 단락에 따른 기간 동 안에는 상속인 또는 유산 관리 인을 이 법을 준수하여야 하는 허가증 취득자로 보도록 하며, 허가증 양도 불허 명령이 있을 때까지는 경우에 따라 표준에 따른 표준마크 표시나 사용 또 는 공산품 제조나 수입을 계속 할 수 있도록 하고, 제25조 세 번째 단락을 준용하도록 한다. 허가증 취득자가 법원에서 금 치산자가 되도록 하는 명령을 받은 경우에는 후견인에게 첫 번째 단락 및 두 번째 단락을 준용하도록 한다. 허가증 양수 신청과 허가는 부 령에서 정하는 원칙과 절차 및 조건을 따르도록 한다.
허가증은 다음 각 항의 어느 하나에 해당하는 때에 만료된 다.
허가증 취득자가 폐업하는 때 에는 폐업일부터 30일 이내에 직접 사무처장에게 서면으로 신 고하여야 한다.
제20조 또는 제21조에 따른 허가증 취득자는 경우에 따라 표준에 따른 공산품을 제조하거 나 표준에 따른 공산품을 수입 하여야 한다.
장관은 제16조와 제20조 및 제21조에 따라 공산품에 표시할 표준마크를 규정하도록 한다. 표준마크의 형태와 표준마크 제작 및 표준마크 표시 방법은 부령에서 정하는 원칙과 절차를 따르도록 한다.
제16조나 제20조 또는 제21조 에 따른 허가증 취득자 이외의 사람이 표준마크를 사용하는 것 을 금지한다.
누구든지 국민이 표준마크로 오인하도록 하기 위하여 표준마 크를 모방하는 것을 금지한다.
제20조 및 제21조에 따른 허 가증 취득자는 공산품을 제조장 에서 반출하거나 세관공무원에 게서 인도받기 전에 표준마크를 표시하도록 한다. 후자의 경우 사무처장이 규정하는 조건에 따 라 차후 이행이 허가될 수도 있 다. 경우에 따라 제20조의부칙1 또는 제21조의부칙1에서 규정 하는 표준과 다른 공산품을 제 조하거나 국내에 수입하도록 하 는 허가가 있는 경우, 허가증 취득자 또는 허가 취득자는 첫 번째 단락의 내용에 의거하여 해당 공산품이 이 법을 따르지 아니한다는 기호 또는 내용을 표시하여야 한다. 그러한 기호 또는 내용은 위원회가 정하도록 한다. 이 법에 따른 표준과 비등한 외국 표준에 따라 수입되었으며 외국 표준마크가 있는 공산품이 라는 증빙 자료가 있는 경우, 위원회는 허가증 취득자 또는 허가 취득자에게 경우에 따라 첫 번째 단락에 따른 표준마크 또는 두 번째 단락에 따른 기호 나 내용 표시를 면제하도록 한 다. 제20조의부칙2에 따라 규정되 는 표준과 다른 공산품을 생산 하기 위한 신고가 있는 경우, 신고자는 제조장에서 공산품을 반출하기 전에 위원회가 정하는 바에 따라 해당 공산품이 수출 용 공산품이라는 기호 또는 내 용을 표시하도록 한다.
표준마크를 사용하는 경우, 허 가증 취득자는 부령에서 정하는 원칙과 절차에 따라 허가증 취 득자의 성명 또는 허가증 취득 자의 등록 상표를 표시하여야 한다.
제16조나 제20조 또는 제21조 에 따른 허가증 취득자가 표준 에 따르지 아니하는 공산품에 표준마크를 표시하는 것을 금지 한다.
누구든지 제16조나 제20조, 제 20조의부칙1, 제21조, 제21조의 부칙1, 제29조 또는 제33조 첫 번째 단락이나 두 번째 단락을 따르지 아니한다는 것을 인지하 거나, 제31조나 제32조 또는 제 35조를 위반하여 표준마크를 사 용 또는 표시한 공산품이라는 것을 인지하고 공산품을 광고하 거나 판매 또는 판매용으로 보 관하는 것을 금지한다.
누구든지 수출용 판매를 제외 하고 제20조의부칙2에 따라 수 출용으로 제조된 공산품이라는 것을 인지하고 공산품을 광고하 거나 판매 또는 판매용으로 보 관하는 것을 금지한다.
허가증 취득자가 제22조나 제 23조 첫 번째 단락, 제24조 첫 번째 단락, 제25조 첫 번째 단 락, 제29조, 제33조 첫 번째 단 락이나 두 번째 단락, 제34조, 제35조 또는 이 법에 따라 제정 되는 부령이나 제25조의부칙1 에 따라 사무처장이 정하는 조 건을 위반하거나 준수하지 아니 하였다는 것이 적발된 때에는 사무처장이 1회당 3개월 이하의 기간 동안 허가증 사용 중단 명 령을 할 권한을 가진다.
허가증 사용 중단 명령을 받은 사람이 이 법을 올바르게 준수 한 경우에는 사무처장이 기한 만료 전에 해당 허가증 사용 중 단 명령에 대한 취소 명령을 할 수 있도록 한다.
허가증 사용 중단 명령을 받은 이력이 있는 허가증 취득자가 5 년 이내에 동일한 위법 행위를 하였다는 것이 적발된 때에는 사무처장이 허가증에 대한 취소 명령을 할 권한을 가진다.
경우에 따라 허가증 취득자 또 는 허가 취득자가 제33조 두 번 째 단락 또는 위원회가 정하는 원칙이나 조건을 준수하지 아니 하였다는 것이 적발되는 경우에 는 사무처장이 제20조의부칙1 또는 제21조의부칙1에 따른 허 가증에 대한 취소 명령권이 있 다.
어떤 경우라도 신고자가 제조 된 공산품을 수출하지 아니하거 나, 수출은 하였으나 국내로 반 송되었거나, 제33조 네 번째 단 락 또는 제20조의부칙2에 따라 위원회가 정하는 원칙이나 조건 을 준수하지 아니하였다는 것이 적발된 때에는 사무처장이 제20 조의부칙2에 따른 신고필증에 대한 취소 명령을 할 권한을 가 진다.
사무처장은 제37조에 따라 허 가증 사용 중단 명령 또는 제39 조에 따라 허가증 취소 명령을 하기 전에 허가증 취득자가 기 한 내에 정확하게 이행하도록 경고장을 전달하도록 하나, 이 것이 이 법에 따른 위법 행위를 소멸시키는 이유가 되지는 아니 한다. 해당 허가증 취득자를 발 견하지 못하는 경우에는 허가증 에 기재된 장소에 경고장을 게 시하도록 하고, 허가증 게시일 부터 해당 허가증 취득자가 그 러한 경고 내용을 인지한 것으 로 보도록 한다.
제37조나 제39조, 제39조의부 칙1 또는 제39조의부칙2에 따 른 명령은 사무처가 허가증 사 용 중단이나 허가증 취소, 허가 취소 또는 신고필증 취소 명령 대상자에게 서면으로 통보하도 록 한다. 해당 명령의 대상자를 발견하지 못하는 경우에는 경우 에 따라 허가증이나 허가문 또 는 신고필증에 기재된 장소에 게시하도록 하며, 게시일부터 해당자가 그러한 명령을 인지한 것으로 보도록 한다.
사무처장의 명령에 대한 이의 제기는 행정절차 관련 법률을 따르도록 한다.
특정한 종류의 공산품에 대한 허가증이 취소된 사람은 명령을 인지한 날부터 6개월이 경과할 때까지는 해당 공산품에 대한 허가증을 다시 신청할 수 없다.
직무를 수행하는 때에는 담당 관에게 다음 각 항의 권한을 부 여한다.
(ㄱ) 제16조나 제20조, 제20조 의부칙1, 제21조, 제21조의 부칙1, 제21조의부칙2, 제29 조 또는 제33조 첫 번째 단 락이나 두 번째 단락을 따르 지 아니한 공산품 (ㄴ) 제20조의부칙1 두 번째 단락이나 제20조의부칙2 첫 번째 단락, 제21조 두 번째 단락, 제21조의부칙1 두 번 째 단락 또는 제21조의부칙2 첫 번째 단락을 따르지 아니 하는 공산품 (ㄷ) 제31조나 제32조 또는 제 35조를 위반하는 표준마크를 사용하거나 표시하는 공산품 (ㄹ) 제39조의부칙2에 따라 신 고필증이 취소된 수출용 공 산품
담당관은 부령에서 정하는 양 식에 따른 담당관 신분증을 갖 추어야 한다. 제44조에 따른 직무를 수행하 는 경우, 담당관은 관계자에게 신분증을 제시하여야 한다.
제44조제(3)항에 따라 담당관 이 압수 또는 압류한 공산품에 대해서는 위원회가 다음 각 항 의 권한을 갖도록 한다. (1) 제16조에 따른 허가증 취 득자가 제35조를 위반하는 경 우이거나, 제31조에 따른 위반 이 되는 제16조를 준수하지 아 니하는 경우 또는 광고나 판매 또는 판매를 위하여 보관하는 사람이 제36조를 위반하는 경 우에는 위원회가 표준에 따라 공산품을 수정 또는 개선하도 록 명령하거나, 표준마크를 파 기하도록 명령하거나, 해당 공 산품에서 표준마크를 제거하도 록 명령할 수도 있다. 표준마크 를 파기하거나 공산품에서 표 준마크를 제거하는 것이 불가 능하다면, 해당 공산품을 파훼 하도록 명령할 수 있다. (2) 제20조나 제20조의부칙2, 제21조 또는 제21조의부칙2를 준수하지 아니하거나, 제20조 의부칙1 두 번째 단락이나 제 20조의부칙2 첫 번째 단락, 제 21조 두 번째 단락, 제21조의 부칙1 두 번째 단락 또는 제21 조의부칙2 첫 번째 단락에 따 라 위원회가 정하는 원칙 또는 조건을 위반하거나 준수하지 아니하는 경우, 위원회는 공산 품을 파훼하도록 명령하거나, 수입한 경우에는 반송하도록 명령할 수 있으며, 반송하지 아 니한다면 해당 공산품을 파훼 하도록 명령하거나, 제조자 또 는 수입자가 우선 허가증이나 허가 또는 신고필증을 신청하 도록 하기 위하여 기다리도록 명령할 수 있다. (3) 제39조의부칙2에 따라 신 고필증이 취소된 수출용 공산 품인 경우, 위원회가 해당 공산 품을 파훼하도록 명령할 수 있 다. (4) 허가증 취득자가 제29조를 준수하지 아니하는 경우에는 위원회가 표준에 따라 공산품 을 개조 또는 개선하도록 명령 하거나, 표준마크를 파기하도록 명령하거나, 해당 공산품에서 표준마크를 제거하도록 명령할 수도 있다. 표준마크를 파기하 거나 공산품에서 표준마크를 제거하는 것이 불가능하다면, 해당 공산품을 파훼하도록 명 령할 수 있다. 경우에 따라 허가증 취득자나 허가 취득자, 제조자, 수입업자, 광고주, 판매자 또는 판매를 위 하여 보관하는 사람이 공산품 개조나 개선 또는 파훼와 아울 러 잔해 처리나 공산품 반송 또 는 허가증이나 허가 신청을 위 한 대기 또는 표준마크 파기나 공산품에서 표준마크를 제거하 는 것과 관련한 비용을 지불하 도록 한다. 공산품 파훼 및 잔해 처리는 부령에서 정하는 원칙과 절차를 따르도록 한다.
압수 또는 압류된 날부터 90일 이내에 소유자 또는 점유자가 나타나지 아니하는 제44조제 (3)항에 따른 압수 또는 압류 물품은 국가에 귀속되도록 하 며, 위원회의 승인을 통하여 사 무처가 적절하다고 판단하는 바 에 따라 어떤 한가지의 처리를 할 수 있는 권한을 갖도록 한 다. 제44조제(3)항에 따라 압수 또는 압류된 물품이 상하기 쉬 운 것이거나, 보관한다면 손상 의 위험이 있거나 물품 가치를 초과하는 보관 비용이 소요된다 면, 사무처는 사건이 종국에 도 달하거나 해당 물품이 국고에 귀속되기 전에 해당 물품을 경 매 처리할 수도 있다. 해당 물 품 판매 대금은 경비 및 부대 비용 전체를 차감한 후 순잔액 을 해당 물품 대신 보유해 두도 록 한다.
담당관의 직무 수행과 관련된 사람은 담당관에게 요청에 따른 편의나 지원 또는 답변을 제공 하도록 한다.
제20조 첫 번째 단락 또는 제 21조 첫 번째 단락을 준수하지 아니하는 사람은 2년 이하의 금 고형 또는 2백만바트 이하의 벌 금형에 처하거나, 금고형과 벌 금형을 병과한다.
미허가나 미신고로, 또는 경우 에 따라 제20조의부칙1 두 번 째 단락이나 제20조의부칙2 첫 번째 단락, 제21조의부칙1 두 번째 단락 또는 제21조의부칙2 첫 번째 단락에 따라 위원회가 정하는 원칙이나 조건을 위반 또는 준수하지 아니하거나 제33 조 두 번째 단락 또는 네 번째 단락을 이행하지 아니하여 제20 조의부칙1 첫 번째 단락이나 제 20조의부칙2 첫 번째 단락, 제 21조의부칙1 첫 번째 단락 또 는 제21조의부칙2 첫 번째 단 락에 따른 공산품을 제조하거나 국내로 수입하는 사람은 2년 이 하의 금고형 또는 200만바트 이하의 벌금형에 처하거나, 금 고형과 벌금형을 병과한다.
공산품의 제조 또는 해당 공산 품이 표준을 따른다고 특정인을 기망하기 위하여 공산품 제조 조사 또는 공산품 표준 조사 보 고서 내용의 전체 또는 일부를 허위로 추가하거나 삭제하는 사 람은 6개월에서 5년까지의 금고 형 및 50만바트에서 500만바트 까지의 벌금형에 처한다.
제21조 두 번째 단락을 준수하 지 아니하는 사람은 5천바트에 서 5만바트까지의 벌금형에 처 한다.
제24조 첫 번째 단락이나 제 25조 첫 번째 단락, 제28조, 제 33조 첫 번째 단락 또는 제34 조를 준수하지 아니하는 허가증 취득자는 30만바트 이하의 벌금 형에 처한다.
제29조를 준수하지 아니하는 허가증 취득자는 2년 이하의 금 고형 또는 200만바트 이하의 벌금형에 처하거나, 금고형과 벌금형을 병과한다.
제31조 또는 제32조를 위반하 는 사람은 1년 이하의 금고형 또는 100만바트 이하의 벌금형 에 처하거나, 금고형과 벌금형 을 병과한다.
(삭제)
제35조를 위반하는 허가증 취 득자는 각 항의 어느 하나에 해 당하는 형에 처한다.
제36조 또는 제36조의1을 위 반하는 사람은 6개월 이하의 금 고형 또는 60만바트 이하의 벌 금형에 처하거나, 금고형과 벌 금형을 병과한다.
제44조에 따라 직무를 수행하 는 담당관을 방해하는 사람은 3 개월 이하의 금고형 또는 30만 바트 이하의 벌금형에 처하거 나, 금고형과 벌금형을 병과한 다.
제46조에 따른 위원회의 명령 을 준수하지 아니하는 사람은 3 개월 이하의 금고형 또는 30만 바트 이하의 벌금형에 처하거 나, 금고형과 벌금형을 병과한 다.
담당관에게 제47조에 따른 편 의나 지원 또는 설명을 제공하 지 아니하는 사람은 2천바트 이 하의 벌금형에 처한다.
법인이 이 법에 따른 위법 행 위를 하는 경우, 법인의 행위가 특정인의 지휘나 행위 또는 법 인 대리인이나 이사, 경영자 또 는 기타의 사람이 수행하여야 하는 책임이 있는 행위를 수행 하지 아니하여 발생하였다면, 해당자는 그러한 위법 행위에 대한 규정에 따라 처벌된다.
제48조의부칙2를 제외한 이 법에 따른 모든 위법 행위는 사 무처장이나 사무처장이 위임한 담당관 또는 조정위원회가 다음 각 항과 같이 조정할 수 있도록 한다.
첫 번째 단락에 따른 조정위원 회는 검찰총장을 위원장으로 하 고, 경찰청 대리인 및 공산품표 준사무처 대리인을 위원 겸 감 사로 하여 구성하도록 한다. 첫 번째 단락에 따른 조정권자 의 검토 원칙과 절차는 위원회 가 정하는 바를 따르도록 한다. 피의자가 기한 내에 조정 금액 에 따른 벌금을 납부한 때에는 「형사소송법전」의 규정에 따 라 사건이 종결된 것으로 보도 록 한다. 피의자가 조정에 동의하지 아 니하거나, 조정에 동의하였으나 기한 내에 벌금을 납부하지 아 니하는 때에는 후속 법적 절차 를 집행하도록 한다.
산업부 장관이 이 법을 주관하 도록 하며, 담당관 임명과 이 법 별표의 요율을 초과하지 아 니하는 벌금 규정 또는 수수료 감면 부령 제정 및 이 법에 따 른 집행을 위한 기타 업무를 규 정하는 권한을 갖도록 한다. 해당 부령은 관보에 게재한 때 에 시행된다. 부서 육군 원수 타넘 낏띠카전 총리
(1) 제16조에 따른 허가증 1 부당 10,000바트 (2) 제29조에 따른 허가증 1 부당 10,000바트 (3) 제21조에 따른 허가증 1 부당 10,000바트 (4) 제24조에 따른 허가증 1 부당 5,000바트 (5) 제25조에 다른 허가증 1 부당 5,000바트 (6) 허가증 대체 증서 1부당 1,000바트