「1994 년 저작권법」
국 가 ‧ 지 역: 태국 제 정 일: 1994년 12월 9일 개 정 일: 2018년 11월 8일(일부개정「2018년 저작권법(제4권)」)
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ เป็นปีที่ ๔๙ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย เดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯให้ประกาศ ว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วย ลิขสิทธิ์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยค าแนะน าและยินยอม ของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서 현 왕조 49년째 해인 1994년(불기 2537년) 12월 9일에 하사하셨다. 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서는 다음과 같이 공포하도록 하셨다. 저작권에 관한 법률을 개정하는 것 이 타당하므로, 의회의 조언과 동의를 통하여 다음 과 같이 법에 날인한다.
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์พ.ศ. ๒๕๓๗”
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นก าหนดเก้า สิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็น ต้นไป
ใหย้ กเลิกพระราชบญั ญัติลิขสิทธิ์พ.ศ. ๒๕๒๑
ในพระราชบัญญัตินี้ “ผู้สร้างสรรค์” หมายความว่า ผู้ท าหรือผู้ก่อให้เกิด งานสร้างสรรค์อย่างใดอย่างหนึ่งที่เป็นงานอันมี ลิขสิทธิ์ตามพระราชบญั ญัตินี้ “ลิขสิทธิ”์ หมายความว่า สิทธิแต่ผู้เดียวที่จะท า การใด ๆ ตามพระราชบัญญัตินี้เกี่ยวกับงานที่ผู้ สร้างสรรค์ได้ท าขึ้น “วรรณกรรม” หมายความว่า งานนิพนธ์ที่ท าขึ้น ทุกชนิด เช่น หนังสือ จุลสาร สิ่งเขียน สิ่งพิมพ์ ปาฐกถา เทศนา ค าปราศรัย สุนทรพจน์ และให้ หมายความรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย “โปรแกรมคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ค าสั่ง ชุดค าสั่ง หรือสิ่งอื่นใดที่น าไปใช้กับเครื่อง คอมพิวเตอร์เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ท างาน หรือเพื่อให้ได้รับผลอย่างหนึ่งอย่างใด ทั้งนี้ ไม่ว่า จะเป็นภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในลักษณะใด “นาฏกรรม” หมายความว่า งานเกี่ยวกับการร า การเต้น การท าท่า หรือการแสดงที่ประกอบขึ้น เป็นเรื่องราว และให้หมายความรวมถึงการแสดง โดยวิธีใบ้ด้วย “ศิลปกรรม” หมายความว่า งานอันมีลักษณะ อย่างหนึ่งอย่างใดหรือหลายอย่าง ดังต่อไปนี้
ทั้งนี้ ไม่ว่างานตาม (๑) ถึง (๗) จะมีคุณค่าทาง ศิลปะหรือไม่ และให้หมายความรวมถึงภาพถ่าย และแผนผังของงานดังกล่าวด้วย “ดนตรีกรรม” หมายความว่า งานเกี่ยวกับเพลงที่ แต่งขึ้นเพื่อบรรเลงหรือขับร้องไม่ว่าจะมีท านอง และค าร้องหรือมีท านองอย่างเดียว และให้ หมายความรวมถึงโน้ตเพลงหรือแผนภูมิเพลงที่ได้ แยกและเรียบเรียงเสียงประสานแล้ว “โสตทัศนวัสดุ” หมายความว่า งานอัน ประกอบด้วยล าดับของภาพโดยบันทึกลงในวัสดุ ไม่ว่าจะมีลักษณะอย่างใด อันสามารถที่จะน ามา เล่นซ ้าได้อีก โดยใช้เครื่องมือที่จ าเป็นส าหรับการ ใช้วัสดุนั้น และให้หมายความรวมถึงเสียง ประกอบงานนั้นด้วย ถ้ามี “ภาพยนตร์” หมายความว่า โสตทัศนวัสดุอัน ประกอบด้วยล าดับของภาพ ซึ่งสามารถน าออก ฉายต่อเนื่องได้อย่างภาพยนตร์หรือสามารถ บันทึกลงบนวัสดุอื่น เพื่อน าออกฉายต่อเนื่องได้ อย่างภาพยนตร์ และให้หมายความรวมถึงเสียง ประกอบภาพยนตร์นั้นด้วย ถ้ามี “สิ่งบันทึกเสียง” หมายความว่า งานอัน ประกอบด้วยล าดับของเสียงดนตรี เสียงการแสดง หรือเสียงอื่นใด โดยบันทึกลงในวัสดุไม่ว่าจะมี ลักษณะใด ๆ อันสามารถที่จะน ามาเล่นซ ้าได้อีก โดยใช้เครื่องมือที่จ าเป็นส าหรับการใช้วัสดุนั้น แต่ ทั้งนี้มิให้หมายความรวมถึงเสียงประกอบ ภาพยนตร์หรือเสียงประกอบโสตทัศนวัสดุอย่าง อื่น “นักแสดง” หมายความว่า ผู้แสดง นักดนตรี นักร้อง นักเต้น นักร า และผู้ซึ่งแสดงท่าทาง ร้อง กล่าว พากย์ แสดงตามบทหรือในลักษณะอื่นใด “งานแพร่เสียงแพร่ภาพ” หมายความว่า งานที่น า ออกสู่สาธารณชนโดยการแพร่เสียงทาง วิทยุกระจายเสียง การแพร่เสียงและหรือภาพทาง ิทยุโทรทัศน์ หรือโดยวิธีอย่างอื่นอันคล้ายคลึงกัน “ท าซ ้า” หมายความรวมถึง คัดลอกไม่ว่าโดยวิธี ใด ๆ เลียนแบบ ท าส าเนา ท าแม่พิมพ์ บันทึกเสียง บันทึกภาพ หรือบันทึกเสียงและภาพ จากต้นฉบับ จากส าเนา หรือจากการโฆษณาในส่วนอันเป็น สาระส าคัญ ทั้งนี้ ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ส าหรับในส่วนที่เกี่ยวกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้ หมายความถึง คัดลอกหรือท าส าเนาโปรแกรม คอมพิวเตอร์จากสื่อบันทึกใด ไม่ว่าด้วยวิธีใด ๆ ในส่วนอันเป็นสาระส าคัญโดยไม่มีลักษณะเป็น การจัดท างานขึ้นใหม่ ทั้งนี้ ไม่ว่าทั้งหมดหรือ บางส่วน “ดัดแปลง” หมายความว่า ท าซ ้าโดยเปลี่ยนรูป ใหม่ ปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติม หรือจ าลองงานนฉบับ ในส่วนอันเป็นสาระส าคัญโดยไม่มีลักษณะเป็น การจัดท างานขึ้นใหม่ ทั้งนี้ ไม่ว่าทั้งหมดหรือ บางส่วน
“เผยแพร่ต่อสาธารณชน” หมายความว่า ท าให้ ปรากฏต่อสาธารณชน โดยการแสดง การบรรยาย การสวด การบรรเลง การท าให้ปรากฏด้วยเสียง และหรือภาพ การก่อสร้าง การจ าหน่าย หรือโดย วิธีอื่นใดซึ่งงานที่ได้จัดท าขึ้น “การโฆษณา” หมายความว่า การน าส าเนา จ าลองของงานไม่ว่าในรูปหรือลักษณะอย่างใดที่ ท าขึ้นโดยความยินยอมของผู้สร้างสรรค์ ออกจ าหน่าย โดยส าเนาจ าลองนั้นมีปรากฏต่อ สาธารณชนเป็นจ านวนมากพอสมควรตามสภาพ ของงานนั้น แต่ทั้งนี้ไม่หมายความรวมถึง การ แสดงหรือการท าให้ปรากฏซึ่งนาฏกรรม ดนตรี กรรม หรือภาพยนตร์ การบรรยายหรือการ ปาฐกถา ซึ่งวรรณกรรม การแพร่เสียงแพร่ภาพ เกี่ยวกับงานใด การน าศิลปกรรมออกแสดงและ การก่อสร้างงานสถาปัตยกรรม “ข้อมูลการบริหารสิทธิ” หมายความว่า ข้อมูลที่ บ่งชี้ถึงผู้สร้างสรรค์ งานสร้างสรรค์ นักแสดง การ แสดง เจา้ของลิขสิทธิ์หรือระยะเวลาและเง่ือนไข การใชง้านอนั มีลิขสิทธิ์ตลอดจนตวัเลขหรือรหส แทนข้อมูลดังกล่าว โดยข้อมูลเช่นว่านี้ติดอยู่หรือ ปรากฏเกี่ยวขอ้งกบังานอนั มีลิขสิทธิ์หรือสิ่งบันทึก การแสดง “มาตรการทางเทคโนโลยี” หมายความว่า เทคโนโลยีที่ออกแบบมาเพื่อป้องกันการท าซ ้าหรือ ควบคมุ การเขา้ถึงงานอนั มีลิขสิทธิ์หรือสิ่งบนั ทกึ การแสดง โดยเทคโนโลยีเช่นว่านี้ได้น ามาใช้กับ งานอนั มีลิขสิทธิ์หรือสิ่งบนั ทึกการแสดงนนั้อย่างมี ประสิทธิภาพ “การหลบเลี่ยงมาตรการทางเทคโนโลยี” หมายความว่า การกระท าด้วยประการใด ๆ ที่ท า ให้มาตรการทางเทคโนโลยีไม่เกิดผล “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรี แต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ “อธิบดี” หมายความว่า อธิบดีกรมทรัพย์สินทาง ปัญญา และให้หมายความรวมถึงผู้ซึ่งอธิบดีกรม ทรัพย์สินทางปัญญามอบหมายด้วย “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการ ลิขสิทธิ์ “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการ ตามพระราชบัญญัตินี้
ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์รักษาการตาม พระราชบัญญัตินี้ และให้มีอ านาจแต่งตั้ง พนักงานเจ้าหน้าที่ กับออกกฎกระทรวงเพื่อ ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจา นุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
งานอนั มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบญั ญัตินี้ไดแ้ก่งาน สร้างสรรค์ประเภทวรรณกรรม นาฏกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียง งานแพร่เสียงแพร่ภาพ หรืองานอื่น ใดในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือ แผนกศิลปะ ของผู้สร้างสรรค์ไม่ว่างานดังกล่าวจะ แสดงออกโดยวิธีหรือรูปแบบอย่างใด การคมุ้ ครองลิขสิทธิ์ไม่คลมุ ถึงความคิด หรือ ขั้นตอน กรรมวิธีหรือระบบ หรือวิธีใช้หรือท างาน หรือแนวความคิด หลักการ การค้นพบ หรือทฤษฎี ทางวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์
ิ่งต่อไปนี้ไม่ถือว่าเป็นงานอนั มีลิขสิทธิ์ตาม พระราชบัญญัตินี้
ใหผ้ สู้รา้งสรรคเ์ป็นผมู้ีลิขสิทธิ์ในงานท่ีตนได้ สร้างสรรค์ขึ้นภายใต้เงื่อนไขดังต่อไปนี้
งานที่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ขึ้นในฐานะ พนักงานหรือลูกจ้าง ถ้ามิได้ท าเป็นหนังสือตกลง กนัไวเ้ป็นอย่างอ่ืน ใหล้ิขสิทธิ์ในงานนนั้ เป็นของผู้ สร้างสรรค์ แต่นายจ้างมีสิทธิน างานนั้นออก เผยแพร่ต่อสาธารณชนได้ตามที่เป็นวัตถุประสงค์ แห่งการจ้างแรงงานนั้น
งานที่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยการรับจ้าง บคุ คลอ่ืน ใหผ้วู้่าจา้งเป็นผมู้ีลิขสิทธิ์ในงานนน เว้นแต่ผู้สร้างสรรค์และผู้ว่าจ้างจะได้ตกลงกันไว้ เป็นอย่างอื่น
งานใดมีลักษณะเป็นการดัดแปลงงานอันมี ลิขสิทธิ์ตามพระราชบญั ญัตินีโ้ดยไดร้บัอนญุ าต จากเจา้ของลิขสิทธิ์ใหผ้ ทู้่ีไดด้ ดัแปลงนนั้ มีลิขสิทธิ์ ในงานที่ได้ดัดแปลงตามพระราชบัญญัตินี้ แต่ ทงั้นี้ไม่กระทบกระเทือนสิทธิของเจา้ของลิขสิทธิ์ท่ี มีอยู่ในงานของผู้สร้างสรรค์เดิมที่ถูกดัดแปลง
งานใดมีลกัษณะเป็นการนา เอางานอนั มีลิขสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัตินี้ มารวบรวมหรือประกอบ เขา้กนัโดยไดร้บัอนญุ าตจากเจา้ของลิขสิทธิ์หรือ เป็นการน าเอาข้อมูลหรือสิ่งอื่นใดซึ่งสามารถอ่าน หรือถ่ายทอดได้โดยอาศัยเครื่องกลหรืออุปกรณ์ อื่นใดมารวบรวมหรือประกอบเข้ากัน หากผู้ที่ได้ รวบรวมหรือประกอบเข้ากันได้รวบรวมหรือ ประกอบเข้ากันซึ่งงานดังกล่าวขึ้นโดยการ คัดเลือกหรือจัดล าดับในลักษณะซึ่งมิได้ลอกเลียน งานของบุคคลอื่น ให้ผู้ที่ได้รวบรวมหรือประกอบ เขา้กนั นนั้ มีลิขสิทธิ์ในงานท่ีไดร้วบรวมหรือ ประกอบเข้ากันตามพระราชบัญญัตินี้ แต่ทั้งนี้ ไม่ กระทบกระเทือนสิทธิของเจา้ของลิขสิทธิ์ท่ีมีอย่ใูน งาน หรือข้อมูลหรือสิ่งอื่นใด ของผู้สร้างสรรค์เดิม ที่ถูกน ามารวบรวมหรือประกอบเข้ากัน
ให้น ามาตรา ๘ มาตรา ๙ และมาตรา ๑๐ มาใช้ บงัคบัแก่การมีลิขสิทธิ์ตามมาตรา ๑๑ หรือมาตรา ๑๒ โดยอนุโลม
กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ หรือของทอ้งถ่ินย่อมมีลิขสิทธิ์ในงานท่ีได้ สร้างสรรค์ขึ้นโดยการจ้างหรือตามค าสั่งหรือใน ความควบคุมของตน เว้นแต่จะได้ตกลงกันไว้เป็น อย่างอื่นเป็นลายลักษณ์อักษร
ภายใต้บังคับมาตรา ๙ มาตรา ๑๐ และมาตรา ๑๔ เจา้ของลิขสิทธิ์ย่อมมีสิทธิแต่ผเู้ดียว ดังต่อไปนี้
การพิจารณาว่าเงื่อนไขตามวรรคหนึ่ง (๕) จะเป็น การจ ากัดการแข่งขันโดยไม่เป็นธรรมหรือไม่ ให้ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่ ก าหนดในกฎกระทรวง
ในกรณีท่ีเจา้ของลิขสิทธิ์ตามพระราชบญั ญัตินีไ้ด้ อนุญาตให้ผู้ใดใช้สิทธิตามมาตรา ๑๕ (๕) ย่อม ไม่ตดั สิทธิของเจา้ของลิขสิทธิ์ท่ีจะอนญุ าตใหผ้อู้่ืน ใช้สิทธินั้นได้ด้วย เว้นแต่ในหนังสืออนุญาตได้ระบุ เป็นข้อห้ามไว้
ลิขสิทธิ์นนั้ ย่อมโอนใหแ้ก่กนัได้ เจา้ของลิขสิทธิ์อาจโอนลิขสิทธิ์ของตนทงั้หมด หรือแต่บางส่วนให้แก่บุคคลอื่นได้ และจะโอนให้ โดยมีก าหนดเวลาหรือตลอดอายุแห่งการคุ้มครอง ลิขสิทธิ์ก็ได้ การโอนลิขสิทธิ์ตามวรรคสองซ่งึมิใช่ทางมรดก ต้องท าเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้โอนและผู้รับ โอน ถ้าไม่ได้ก าหนดระยะเวลาไว้ในสัญญาโอน ให้ถือว่าเป็นการโอนมีก าหนดระยะเวลาสิบปี
ผสู้รา้งสรรคง์านอนั มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบญั ญัติ นี้มีสิทธิที่จะแสดงว่าตนเป็นผู้สร้างสรรค์งาน ดังกล่าว และมีสิทธิที่จะห้ามมิใหผ้รู้บัโอนลิขสิทธิ์ หรือบุคคลอื่นใดบิดเบือน ตัดทอน ดัดแปลงหรือ ท าโดยประการอื่นใดแก่งานนั้นจนเกิดความ เสียหายต่อชื่อเสียง หรือเกียรติคุณของผู้ สร้างสรรค์ และเมื่อผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย ทายาทของผู้สร้างสรรค์มีสิทธิที่จะฟ้องร้องบังคับ ตามสิทธิดังกล่าวได้ตลอดอายุแห่งการคุ้มครอง ลิขสิทธิ์ ทงั้นี้เวน้แต่จะไดต้ กลงกนัไวเ้ป็นอย่างอ่ืน เป็นลายลักษณ์อักษร
ภายใต้บังคับมาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัตินี้ให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้ สร้างสรรค์ และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปี นับ แต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย ในกรณีท่ีมีผสู้รา้งสรรคร์ว่ ม ลิขสิทธิ์ในงาน ดังกล่าวให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ร่วม และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปีนับแต่ผู้ สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย ถ้าผู้สร้างสรรค์หรือผู้สร้างสรรค์ร่วมทุกคนถึงแก่ ความตายก่อนที่ได้มีการโฆษณางานนั้น ให้ ลิขสิทธิ์ดงักลา่ วมีอายุหา้สิบปีนบัแต่ไดม้ีการ โฆษณาเป็นครั้งแรก ในกรณีท่ีผสู้รา้งสรรคเ์ป็นนิติบคุ คล ใหล้ิขสิทธิ์มี อายุห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่าง ระยะเวลาดงักล่าว ใหล้ิขสิทธิ์มีอายหุ า้สิบปีนบัแต่ ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
งานอนั มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบญั ญัตินีท้ ่ีได้ สร้างสรรค์ขึ้นโดยผู้สร้างสรรค์ใช้นามแฝงหรือไม่ ปรากฏช่ือผสู้รา้งสรรค์ใหล้ิขสิทธิ์มีอายหุ า้สิบปี นับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการ โฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ ลิขสิทธิ์มีอายหุ า้สิบปีนบัแต่ไดม้ีการโฆษณาเป็น ครั้งแรก ในกรณีที่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ให้น ามาตรา ๑๙ มาใช้ บังคับโดยอนุโลม
ิขสิทธิ์ในงานภาพถ่าย โสตทศันวสัดุภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียงหรืองานแพร่เสียงแพร่ภาพให้มีอายุ ห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มี การโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ใหล้ิขสิทธิ์มีอายุหา้สิบปีนบัแต่ไดม้ีการโฆษณา เป็นครั้งแรก
ลิขสิทธิ์ในงานศิลปะประยุกต์ให้มีอายุยี่สิบห้าปี นับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการ โฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ ลิขสิทธิ์มีอายุย่ีสิบหา้ปีนบัแต่ไดม้ีการโฆษณาเป็น ครั้งแรก
ลิขสิทธิ์ในงานท่ีไดส้รา้งสรรคข์ึน้ โดยการจา้งหรือ ตามค าสั่งหรือในความควบคุมตามมาตรา ๑๔ ให้ มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลา ดงักลา่ ว ใหล้ิขสิทธิ์มีอายหุ า้สิบปีนบัแต่ไดม้ีการ โฆษณาเป็นครั้งแรก
การโฆษณางานตามมาตรา ๑๙ มาตรา ๒๐ มาตรา ๒๑ มาตรา ๒๒ หรือมาตรา ๒๓ อันเป็น การเร่มิ นบัอายุแห่งการคมุ้ ครองลิขสิทธิ์ หมายความถึง การน างานออกท าการโฆษณาโดย ความยินยอมของเจา้ของลิขสิทธิ์
เม่ืออายุแห่งการคมุ้ ครองลิขสิทธิ์ครบกา หนดในปี ใด ถา้วนั ครบกา หนดอายแุ ห่งการคมุ้ ครองลิขสิทธิ์ ไม่ตรงกับวันสิ้นปีปฏิทิน หรือในกรณีที่ไม่อาจ ทราบวนั ครบกา หนดอายุแห่งการคมุ้ ครองลิขสิทธิ์ ท่ีแน่นอน ใหล้ิขสิทธิ์ยงัคงมีอย่ตู ่อไปจนถึงวนั สิน้ ปี ปฏิทินของปีนั้น
การนา งานอนั มีลิขสิทธิ์ออกทา การโฆษณาภาย หลงัจากท่ีอายแุ ห่งการคมุ้ ครองลิขสิทธิ์สิน้ สดุ ลง ไม่ก่อใหเ้กิดลิขสิทธิ์ในงานนนั้ ๆขึน้ ใหม่
การกระทา อย่างใดอย่างหนึ่งแก่งานอนั มีลิขสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัตินี้โดยไม่ได้รับอนุญาตตาม มาตรา ๑๕ (๕) ใหถ้ือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ถ้าได้กระท าดังต่อไปนี้
การกระท าอย่างใดอย่างหนึ่งแก่โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์หรือสิ่งบนั ทกึเสียงอนั มีลิขสิทธิ์ตาม พระราชบัญญัตินี้โดยไม่ได้รับอนุญาตตามมาตรา ๑๕ (๕) ทั้งนี้ไม่ว่าในส่วนที่เป็นเสียงและหรือ ภาพ ใหถ้ือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ถ้าได้กระท า ดังต่อไปนี้
การท าซ ้าโดยการบันทึกเสียงหรือภาพหรือทั้ง เสียงและภาพจากภาพยนตรอ์ นั มีลิขสิทธิ์ตาม พระราชบัญญัตินี้ในโรงภาพยนตร์ตามกฎหมาย ว่าด้วยภาพยนตร์และวีดิทัศน์ไม่ว่าทั้งหมดหรือ แต่บางส่วนโดยไม่ได้รับอนุญาตตามมาตรา ๑๕ (๕) ในระหว่างการฉายในโรงภาพยนตร์ให้ถือว่า เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์และมิให้น ามาตรา ๓๒ วรรคสอง (๒) มาใช้บังคับ
การกระท าอย่างใดอย่างหนึ่งแก่งานแพร่เสียงแพร่ ภาพอนั มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบญั ญัตินีโดยไม่ได้ รับอนุญาตตามมาตรา ๑๕ (๕) ให้ถือว่าเป็นการ ละเมิดลิขสิทธิ์ถ้าได้กระท าดังต่อไปนี้
การกระท าอย่างใดอย่างหนึ่งแก่โปรแกรม คอมพิวเตอรอ์ นั มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบญั ญัตินี้ โดยไม่ได้รับอนุญาตตามมาตรา ๑๕ (๕) ให้ถือว่า เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ถ้าได้กระท าดังต่อไปน
ผู้ใดรู้อยู่แล้วหรือมีเหตุอันควรรู้ว่างานใดได้ท าขึ้น โดยละเมิดลิขสิทธิ์ของผูอ้่ืน กระท าอย่างใดอย่าง หนึ่งแก่งานนั้นเพื่อหาก าไร ให้ถือว่าผู้นั้นกระท า การละเมิดลิขสิทธิ์ถ้าได้กระท าดังต่อไปนี้
การกระทา แก่งานอนั มีลิขสิทธิ์ของบคุ คลอ่ืนตาม พระราชบัญญัตินี้หากไม่ขัดต่อการแสวงหา ประโยชนจ์ากงานอนั มีลิขสิทธิ์ตามปกติของ เจา้ของลิขสิทธิ์และไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิอนั ชอบดว้ยกฎหมายของเจา้ของลิขสิทธิ์เกินสมควร มิใหถ้ือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ภายใต้บังคับบทบัญญัติในวรรคหนึ่ง การกระท า อย่างใดอย่างหนึ่งแก่งานอนั มีลิขสิทธิ์ตามวรรค หนึ่ง มิใหถ้ือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ถ้าได้ กระท าดังต่อไปนี้
การจา หน่ายตน้ ฉบบั หรือสา เนางานอนั มีลิขสิทธิ์ โดยผไู้ดม้าซ่งึกรรมสิทธิ์ในตน้ ฉบบั หรือสา เนางาน อนั มีลิขสิทธิ์นนั้ โดยชอบดว้ยกฎหมาย มิให้ถือว่า เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์
การกระทา แก่งานอนั มีลิขสิทธิ์ท่ีทา หรือไดม้าโดย ชอบด้วยกฎหมายในระบบคอมพิวเตอร์ที่มี ลักษณะเป็นการท าซ ้าที่จ าเป็นต้องมีส าหรับการ น าส าเนามาใช้เพื่อให้อุปกรณ์ที่ใช้ในระบบ คอมพิวเตอร์หรือกระบวนการสง่ งานอนั มีลิขสิทธิ์ ทางระบบคอมพิวเตอร์ท างานได้ตามปกติมิให้ถือ ว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์
ในกรณีที่มีหลักฐานอันควรเชื่อได้ว่ามีการละเมิด ลิขสิทธิ์ในระบบคอมพิวเตอรข์องผใู้หบ้ ริการ เจา้ของลิขสิทธิ์อาจย่ืนคา รอ้งต่อศาลเพ่ือมีคา ส่งั ใหผ้ใู้หบ้ ริการระงบั การละเมิดลิขสิทธิ์นนั้ เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี้ผู้ให้บริการ หมายความว่า
(๑) ชื่อและที่อยู่ของผู้ให้บริการ (๒) งานอนั มีลิขสิทธิ์ท่ีอา้งว่าถกู ละเมิดลิขสิทธิ์ (๓) งานท่ีอา้งว่าไดท้า ขึน้ โดยละเมิดลิขสิทธิ์ (๔) กระบวนการสืบทราบ วันและเวลาที่พบการ กระท าและการกระท าหรือพฤติการณ์ตลอดทั้ง หลกัฐานเกี่ยวกบั การละเมิดลิขสิทธิ์ (๕) ความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากการกระท าที่ อา้งว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ (๖) ค าขอบังคับให้ผู้ให้บริการน างานที่ท าขึ้นโดย ละเมิดลิขสิทธิ์ออกจากระบบคอมพิวเตอรข์องผู้ ให้บริการ หรือระงบั การละเมิดลิขสิทธิ์ดว้ยวิธีอ่ืน ใด เมื่อศาลได้รับค าร้องตามวรรคหนึ่ง ให้ศาลท าการ ไต่สวน หากศาลเห็นว่าค าร้องมีรายละเอียด ครบถ้วนตามวรรคสาม และมีเหตุจ าเป็นที่ศาล สมควรจะมีค าสั่งอนุญาตตามค าร้องนั้น ให้ศาลมี ค าสั่งให้ผู้ให้บริการระงับการกระท าที่อ้างว่าเป็น การละเมิดลิขสิทธิ์หรือนา งานท่ีอา้งว่าไดท้า ขึน้ โดยละเมิดลิขสิทธิ์ออกจากระบบคอมพิวเตอรข์อง ผู้ให้บริการตามระยะเวลาที่ศาลก าหนด โดยค าสั่ง ศาลให้บังคับผู้ให้บริการได้ทันทีแล้วแจ้งค าสั่งนั้น ให้ผู้ให้บริการทราบโดยไม่ชักช้า ในกรณีเช่นนี้ให้ เจา้ของลิขสิทธิ์ดา เนินคดีต่อ ผู้กระท าละเมิด ลิขสิทธิ์ภายในระยะเวลาท่ีศาลมีค าสั่งให้ระงับ การกระทา ท่ีอา้งว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์หรือน า งานท่ีอา้งว่าไดท้า ขึน้ โดยละเมิดลิขสิทธิ์ออกจาก ระบบคอมพิวเตอร์ ในกรณีที่ผู้ให้บริการมิใช่ผู้ควบคุม ริเริ่ม หรือสั่ง การใหม้ีการละเมิดลิขสิทธิ์ในระบบคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการและผู้ให้บริการนั้นได้ด าเนินการ ตามค าสั่งศาลตามวรรคสี่แล้ว ผู้ให้บริการไม่ต้อง รับผิดเกี่ยวกับการกระท าที่อ้างว่าเป็นการละเมิด ลิขสิทธิ์ท่ีเกิดขึน้ ก่อนศาลมีคา ส่งัและหลงัจาก ค าสั่งศาลเป็นอันสิ้นผลแล้ว ผู้ให้บริการไม่ต้องรับผิดต่อความเสียหายใด ๆ ที่ เกิดขึ้นจากการด าเนินการตามค าสั่งศาลตาม วรรคสี่
การกล่าว คัด ลอก เลียน หรืออ้างอิงงานบางตอน ตามสมควรจากงานอนั มีลิขสิทธิ์ตาม พระราชบัญญัตินี้โดยมีการรับรู้ถึงความเป็น เจา้ของลิขสิทธิ์ในงานนนั้ มิให้ถือว่าเป็นการ ละเมิดลิขสิทธิ์ถ้าได้ปฏิบัติตามมาตรา ๓๒ วรรค หนึ่ง
การท าซ ้าโดยบรรณารักษ์ของห้องสมุดซึ่งงาน อนั มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบญั ญัตินี้มิให้ถือว่าเป็น การละเมิดลิขสิทธิ์หากการทา ซา ้นนั้ มิไดม้ี วัตถุประสงค์เพื่อหาก าไร และได้ปฏิบัติตาม มาตรา ๓๒ วรรคหนึ่ง ในกรณีดังต่อไปนี้
การกระทา แก่โปรแกรมคอมพิวเตอรอ์ นั มีลิขสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัตินี้มิให้ถือว่าเป็นการละเมิด ลิขสิทธิ์หากไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อหาก าไร และได้ ปฏิบัติตามมาตรา ๓๒ วรรคหนึ่ง ในกรณี ดังต่อไปนี้
การน างานนาฏกรรม หรือดนตรีกรรมออกแสดง เพื่อเผยแพร่ต่อสาธารณชนตามความเหมาะสม โดยมิได้จัดท าขึ้น หรือด าเนินการเพื่อหาก าไร เนื่องจากการจัดให้มีการเผยแพร่ต่อสาธารณชน นั้น และมิได้จัดเก็บค่าเข้าชมไม่ว่าโดยทางตรง หรือโดยทางอ้อมและนักแสดงไม่ได้รับ ค่าตอบแทนในการแสดงนั้น มิให้ถือว่าเป็นการ ละเมิดลิขสิทธิ์หากเป็นการด าเนินการโดย สมาคม มูลนิธิหรือองค์การอื่นที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อการสาธารณกุศล การศึกษา การศาสนา หรือ การสังคมสงเคราะห์และได้ปฏิบัติตามมาตรา ๓๒ วรรคหนึ่ง
การวาดเขียน การเขียนระบายสีการก่อสร้าง การ แกะลายเส้น การปั้น การแกะสลัก การพิมพ์ภาพ การถ่ายภาพ การถ่ายภาพยนตร์การแพร่ภาพ หรือการกระท าใด ๆ ท านองเดียวกันนี้ซึ่ง ศิลปกรรมใดอันตั้งเปิดเผยประจ าอยู่ในที่ สาธารณะ นอกจากงานสถาปัตยกรรม มิให้ถือว่า เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ในศิลปกรรมนนั้
การวาดเขียน การเขียนระบายสีการแกะลายเส้น การปั้น การแกะสลัก การพิมพ์ภาพ การถ่ายภาพ การถ่ายภาพยนตร์หรือการแพร่ภาพซึ่งงาน สถาปัตยกรรมใด มิให้ถือว่าเป็นการละเมิด ลิขสิทธิ์ในงานสถาปัตยกรรมนนั้
การถ่ายภาพหรือการถ่ายภาพยนตร์หรือการแพร่ ภาพซึ่งงานใด ๆอันมีศิลปกรรมใดรวมอยู่เป็น ส่วนประกอบด้วย มิให้ถือว่าเป็นการละเมิด ลิขสิทธิ์ในศิลปกรรมนนั้
ในกรณีท่ีลิขสิทธิ์ในศิลปกรรมใดมีบุคคลอ่ืน นอกจากผู้สร้างสรรค์เป็นเจ้าของอยู่ด้วยการที่ ผู้สร้างสรรค์คนเดียวกันได้ท าศิลปกรรมนั้นอีกใน ภายหลังในลักษณะที่เป็นการท าซ ้าบางส่วนกับ ศิลปกรรมเดิม หรือใช้แบบพิมพ์ภาพร่างแผนผัง แบบจ าลอง หรือข้อมูลที่ได้จากการศึกษาที่ใช้ใน การท าศิลปกรรมเดิม ถ้าปรากฏว่าผู้สร้างสรรค์ ิได้ท าซ ้าหรือลอกแบบในส่วนอันเป็นสาระส าคัญ ของศิลปกรรมเดิม มิให้ถือว่าเป็นการละเมิด ลิขสิทธิ์ในศิลปกรรมนั้น
อาคารใดเป็นงานสถาปัตยกรรมอนั มีลิขสิทธิ์ตาม พระราชบัญญัตินี้การบูรณะอาคารนั้นในรูป แบบเดิม มิใหถ้ือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์
ในกรณีท่ีอายแุ ห่งการคมุ้ ครองลิขสิทธิ์ใน ภาพยนตร์ใดสิ้นสุดลงแล้ว มิให้ถือว่าการน า ภาพยนตร์นั้นเผยแพร่ต่อสาธารณชนเป็นการ ละเมิดลิขสิทธิ์ในวรรณกรรม นาฏกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทัศนวัสดุสิ่งบันทึกเสียงหรืองาน ที่ใช้จัดท าภาพยนตร์นั้น
การท าซ ้า เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการโดย เจ้าพนักงาน ซึ่งมีอ านาจตามกฎหมายหรือตาม คา ส่งัของเจา้พนกังานดงักล่าวซ่งึงานอนั มีลิขสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัตินี้และที่อยู่ในความ ครอบครองของทางราชการ มิให้ถือว่าเป็นการ ละเมิดลิขสิทธิ์ถ้าได้ปฏิบัติตามมาตรา ๓๒ วรรค หนึ่ง
นักแสดงย่อมมีสิทธิแต่ผู้เดียวในการกระท าอัน เกี่ยวกับการแสดงของตน ดังต่อไปนี้
ผู้ใดน าสิ่งบันทึกเสียงการแสดงซึ่งได้น าออก เผยแพร่เพื่อวัตถุประสงค์ทางการค้าแล้ว หรือน า ส าเนาของงานนั้นไปแพร่เสียงหรือเผยแพร่ต่อ สาธารณชนโดยตรง ให้ผู้นั้นจ่ายค่าตอบแทนที่ เป็นธรรมแก่นักแสดง ในกรณีที่ตกลงค่าตอบแทน ไม่ได้ให้อธิบดีเป็นผู้มีค าสั่งก าหนดค่าตอบแทน ทั้งนี้โดยให้ค านึงถึงอัตราค่าตอบแทนปกติใน ธุรกิจประเภทนั้น ค าสั่งของอธิบดีตามวรรคหนึ่ง คู่กรณีอาจอุทธรณ์ ต่อคณะกรรมการได้ภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่ ได้รับหนังสือแจ้งค าสั่งของอธิบดีค าวินิจฉัยของ คณะกรรมการให้เป็นที่สุด
ในกรณีที่การแสดงหรือการบันทึกเสียงการแสดง ใดมีนักแสดงมากกว่าหนึ่งคนขึ้นไป นักแสดง เหล่านั้นอาจแต่งตั้งตัวแทนร่วมเพื่อดูแลหรือ บริหารเกี่ยวกับสิทธิของตนได้
ให้นักแสดงมีสิทธิในการแสดงตามมาตรา ๔๔ หากเป็นไปตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้
ให้นักแสดงมีสิทธิได้รับค่าตอบแทนตามมาตรา ๔๕ หากเป็นไปตามเงื่อนไขดังต่อไปน
ิทธิของนักแสดงตามมาตรา ๔๔ ให้มีอายุห้าสิบ ปีนับแต่วันสิ้นปีปฏิทินของปีที่มีการแสดง ในกรณี ที่มีการบันทึกการแสดงให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่วัน สิ้นปีปฏิทินของปีที่มีการบันทึกการแสดง
ิทธิของนักแสดงตามมาตรา ๔๕ ให้มีอายุห้าสิบ ปีนับแต่วันสิ้นปีปฏิทินของปีที่ได้มีการบันทึกเสียง การแสดง
ิทธิของนักแสดงตามมาตรา ๔๔ และมาตรา ๔๕ ย่อมโอนให้แก่กันได้ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน และจะโอนให้โดยมีก าหนดเวลาหรือตลอดอายุ แห่งการคุ้มครองก็ได้ ในกรณีที่มีนักแสดงมากกว่าหนึ่งคนขึ้นไป นักแสดงมีสิทธิโอนเฉพาะสิทธิส่วนที่เป็นของตน เท่านั้น การโอนโดยทางอื่นนอกจากทางมรดกต้องท าเป็น หนังสือลงลายมือชื่อผู้โอนและผู้รับโอน ถ้าไม่ได้ ก าหนดระยะเวลาไว้ในสัญญาโอน ให้ถือว่าเป็น การโอนมีก าหนดระยะเวลาสามปี
นักแสดงย่อมมีสิทธิที่จะแสดงว่า ตนเป็นนักแสดง ในการแสดงของตน และมีสิทธิห้ามผู้รับโอนสิทธิ ของนักแสดงหรือบุคคลอื่นใดบิดเบือน ตัดทอน ดัดแปลง หรือท าโดยประการอื่นใดแก่การแสดง นั้นจนเกิดความเสียหายต่อชื่อเสียง หรือเกียรติ คุณของนักแสดง และเมื่อนักแสดงถึงแก่ความ ตาย ทายาทของนักแสดงมีสิทธิฟ้องร้องบังคับ ตามสิทธิดังกล่าวได้ตลอดอายุแห่งการคุ้มครอง สิทธิของนักแสดง ทั้งนี้เว้นแต่จะได้ตกลงกันไว้ เป็นอย่างอื่นเป็นลายลักษณ์อักษร
ผู้ใดกระท าอย่างใดอย่างหนึ่งตามมาตรา ๔๔ โดย ไม่ได้รับอนุญาตจากนักแสดงหรือไม่จ่าย ค่าตอบแทนตามมาตรา ๔๕ ให้ถือว่าผู้นั้นละเมิด สิทธิของนักแสดง
ให้น ามาตรา ๓๒ มาตรา ๓๒/๒ มาตรา ๓๒/๓ มาตรา ๓๓ มาตรา ๓๔ มาตรา ๓๖ มาตรา ๔๒ และมาตรา ๔๓ มาใช้บังคับแก่สิทธิของนักแสดง โดยอนุโลม
การลบหรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลการบริหารสิทธิ โดยรู้อยู่แล้วว่าการกระท านั้นอาจจูงใจให้เกิด ก่อให้เกิด ให้ความสะดวก หรือปกปิดการละเมิด ลิขสิทธิ์หรือสิทธิของนกัแสดง ให้ถือว่าเป็นการ ละเมิดข้อมูลการบริหารสิทธิ
ผใู้ดรูอ้ย่แู ลว้ว่างานหรือสา เนางานอนั มีลิขสิทธิ์นนั้ ได้มีการลบหรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลการบริหาร สิทธิให้ถือว่าผู้นั้นกระท าการละเมิดข้อมูลการ บริหารสิทธิด้วย ถ้าได้กระท าการอย่างใดอย่าง หนึ่งแก่งานนั้น ดังต่อไปนี้
การกระท าใด ๆ ดังต่อไปนี้มิให้ถือว่าเป็นการ ละเมิดข้อมูลการบริหารสิทธ
การหลบเลี่ยงมาตรการทางเทคโนโลยีหรือการ ให้บริการเพื่อก่อให้เกิดการหลบเลี่ยงมาตรการ ทางเทคโนโลยีโดยรู้อยู่แล้วว่าการกระท านั้นอาจ จงูใจหรือก่อใหเ้กิดการละเมิดลิขสิทธิ์หรือสิทธิ ของนักแสดง ให้ถือว่าเป็นการละเมิดมาตรการ ทางเทคโนโลยี
การกระท าตามมาตรา ๕๓/๔ ในกรณีดังต่อไปนี้ มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดมาตรการทางเทคโนโลย
ผู้มีสัญชาติไทยซึ่งประสงค์จะขออนุญาตใช้ ลิขสิทธิ์ในงานท่ีมีการเผยแพรต่ ่อสาธารณชนใน รูปของสิ่งพิมพ์หรืออย่างอื่นที่คล้ายคลึงกันตาม พระราชบัญญัตินี้เพื่อประโยชน์ในการเรียนการ สอน หรือค้นคว้า ที่มิได้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาก าไร อาจยื่นค าขอต่ออธิบดีโดยแสดงหลักฐานว่าผู้ขอ ไดข้ออนญุ าตใชล้ิขสิทธิ์ในการจดัทา คา แปลเป็น ภาษาไทย หรือท าซ ้าส าเนางานที่ได้เคยจัดพิมพ์ งานแปลเป็นภาษาไทยดังกล่าวจากเจ้าของ ลิขสิทธิ์แต่ได้รับการปฏิเสธหรือเมื่อได้ใช้เวลาอัน สมควรแล้วแต่ตกลงกันไม่ได้ถ้าปรากฏว่าใน ขณะที่ยื่นค าขอดังกล่าว
การขออนุญาตตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขดังต่อไปนี้
(ก) ผู้รับที่อยู่ต่างประเทศเป็นบุคคลสัญชาติ ไทย (ข) สิ่งพิมพ์ดังกล่าวใช้เพื่อวัตถุประสงค์ในการ เรียน การสอน หรือค้นคว้า (ค) การส่งสิ่งพิมพ์ดังกล่าวจะต้องไม่เป็นไป เพื่อการค้าและ (ง) ประเทศที่สิ่งพิมพ์ถูกส่งไปดังกล่าวจะต้อง อนุญาตให้ประเทศไทยส่งหรือแจกจ่าย สิ่งพิมพ์ดังกล่าวในประเทศนั้น
เมื่อได้รับค าขอตามมาตรา ๕๔ ให้อธิบดี ด าเนินการให้มีการตกลงกันระหว่างคู่กรณีในเรื่อง ค่าตอบแทนและเง่ือนไขการใชล้ิขสิทธิ์ในกรณีที่ ตกลงกันไม่ได้ให้อธิบดีเป็นผู้พิจารณามีค าสั่ง ก าหนดค่าตอบแทนที่เป็นธรรม โดยให้ค านึงถึง อัตราค่าตอบแทนปกติในธุรกิจประเภทนั้น และ อาจกา หนดเง่ือนไขการใชล้ิขสิทธิ์ตามที่ เห็นสมควร เมื่อได้มีการก าหนดค่าตอบแทนและเงื่อนไขการ ใชล้ิขสิทธิ์แลว้ ให้อธิบดีออกหนังสืออนุญาตให้แก่ ผขู้อใชล้ิขสิทธิ์ ค าสั่งของอธิบดีตามวรรคหนึ่ง คู่กรณีอาจอุทธรณ์ ต่อคณะกรรมการได้ภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่ ได้รับหนังสือแจ้งค าสั่งของอธิบดีค าวินิจฉัยของ คณะกรรมการให้เป็นที่สุด
ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการลิขสิทธิ์” ประกอบด้วย ปลัดกระทรวงพาณิชย์เป็นประธานกรรมการ และ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งอีก ไม่เกินสิบสองคน ในจ านวนนี้จะต้องแต่งตั้งจาก ผแู้ทนของสมาคมเจา้ของลิขสิทธิ์หรือสิทธิของ นกัแสดงและผแู้ทนของสมาคมผใู้ชง้านลิขสิทธิ์ หรือสิทธิของนักแสดงเป็นจ านวนไม่น้อยกว่าหก คนเป็นกรรมการ คณะกรรมการจะแต่งตั้งบุคคลใดเป็นเลขานุการ และผู้ช่วยเลขานุการก็ได้
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระอยู่ในต าแหน่งคราว ละสองปีกรรมการซึ่งพ้นจากต าแหน่งอาจได้รับ แต่งตั้งอีกได ในกรณีที่กรรมการพ้นจากต าแหน่งก่อนวาระ หรือ ในกรณีที่คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งกรรมการเพิ่มขึ้นใน ระหว่างที่กรรมการซึ่งแต่งตั้งไว้แล้วยังมีวาระอยู่ ในต าแหน่งให้ผู้ได้รับแต่งตั้งให้ด ารงต าแหน่งแทน หรือเป็นกรรมการเพิ่มขึ้นอยู่ในต าแหน่งเท่ากับ วาระที่เหลืออยู่ของกรรมการซึ่งได้แต่งตั้งไว้แล้ว
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากต าแหน่งก่อนวาระ เมื่อ
การประชุมของคณะกรรมการต้องมีกรรมการมา ประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ านวนกรรมการ ทั้งหมดจึงเป็นองค์ประชุม ถ้าประธานกรรมการไม่ มาประชุมหรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้ กรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็น ประธานในที่ประชุม การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในที่ประชุมออก เสียงเพิ่มขึ้นได้อีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด
คณะกรรมการมีอ านาจหน้าที่ดังนี้
คณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการ อย่างหนึ่งอย่างใดตามที่คณะกรรมการมอบหมาย ก็ได้และให้น ามาตรา ๕๙ มาใช้บังคับแก่การ ประชุมของคณะอนุกรรมการโดยอนุโลม ในการปฏิบัติหน้าที่ ให้คณะกรรมการหรือ คณะอนุกรรมการมีอ านาจออกค าสั่งเป็นหนังสือ เรียกบุคคลใดมาให้ถ้อยค าหรือให้ส่งเอกสารหรือ วัตถุใด ๆ มาเพื่อประกอบการพิจารณาได้ตาม ความจ าเป็น
งานอนั มีลิขสิทธิ์ของผสู้รา้งสรรคแ์ละสิทธิของ นักแสดงของประเทศที่เป็นภาคีแห่งอนุสัญญาว่า ดว้ยการคมุ้ ครองลิขสิทธิ์หรืออนสุ ญั ญาว่าดว้ย การคุ้มครองสิทธิของนักแสดงซึ่งประเทศไทยเป็น ภาคีอยู่ด้วย หรืองานอนั มีลิขสิทธิ์ขององคก์าร ระหว่างประเทศ ซึ่งประเทศไทยร่วมเป็นสมาชิก อยู่ด้วยย่อมได้รับความคุ้มครองตาม พระราชบัญญัตินี้ ให้รัฐมนตรีมีอ านาจประกาศรายชื่อประเทศภาคี แห่งอนสุ ญั ญาว่าดว้ยการคมุ้ ครองลิขสิทธิ์หรือ อนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิของนักแสดง ในราชกิจจานุเบกษา
คดีเกี่ยวกบั ลิขสิทธิ์หรือสิทธิของนกัแสดงตาม พระราชบัญญัตินี้ไม่ว่าจะเป็นคดีแพ่งหรือ คดีอาญา ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่างานที่มีการ ฟ้องร้องในคดีนั้น เป็นงานอนั มีลิขสิทธิ์หรือสิทธิ ของนักแสดงตามพระราชบัญญัตินี้และโจทก์เป็น เจา้ของลิขสิทธิ์หรือสิทธิของนักแสดงในงาน ดังกล่าว เว้นแต่จ าเลยจะโต้แย้งว่าไม่มีผู้ใดเป็น เจา้ของลิขสิทธิ์หรือสิทธิของนักแสดง หรือโต้แย้ง สิทธิของโจทก์ งานใดมีชื่อหรือสิ่งที่ใช้แทนชื่อของบุคคลใดที่อ้าง ว่าตนเป็นเจา้ของลิขสิทธิ์หรือสิทธิของนกัแสดง แสดงไว้ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าบุคคลซึ่งเป็น เจ้าของชื่อหรือสิ่งที่ใช้แทนชื่อนั้นเป็นผู้สร้างสรรค์ หรือนักแสดง งานใดไม่มีชื่อหรือสิ่งที่ใช้แทนชื่อแสดงไว้หรือมี ชื่อหรือสิ่งที่ใช้แทนชื่อแสดงไว้แต่มิได้อ้างว่าเป็น เจา้ของลิขสิทธิ์หรือสิทธิของนกัแสดงและมีชื่อ หรือสิ่งใดที่ใช้แทนชื่อของบุคคลอื่นซึ่งอ้างว่าเป็นผู้ พิมพ์ผู้โฆษณา หรือผู้พิมพ์และผู้โฆษณาแสดงไว้ ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าบุคคลซึ่งเป็นผู้พิมพ์ผู้ โฆษณา หรือผู้พิมพ์และผู้โฆษณานั้นเป็นเจ้าของ ลิขสิทธิ์หรือสิทธิของนกัแสดงในงานนนั้
หา้มมิใหฟ้ ้องคดีละเมิดลิขสิทธิ์หรือสิทธิของ นักแสดงเมื่อพ้นก าหนดสามปีนับแต่วันที่เจ้าของ ลิขสิทธิ์หรือสิทธิของนกัแสดงรูถ้ึงการละเมิดและ รู้ตัวผู้กระท าละเมิด แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกินสิบปีนับ แต่วนั ท่ีมีการละเมิดลิขสิทธิ์หรือสิทธิของนกัแสดง
ในกรณีท่ีมีการละเมิดลิขสิทธิ์หรือสิทธิของ นักแสดง ศาลมีอ านาจสั่งให้ผู้ละเมิดชดใช้ ค่าเสียหายแก่เจา้ของลิขสิทธิ์หรือสิทธิของ นักแสดงตามจ านวนที่ศาลเห็นสมควร โดย ค านึงถึงความร้ายแรงของความเสียหาย รวมทั้ง การสูญเสียประโยชน์และค่าใช้จ่ายอันจ าเป็นใน การบังคับตามสิทธิของเจา้ของลิขสิทธิ์หรือสิทธิ ของนักแสดงด้วย ในกรณีที่ปรากฏหลักฐานชัดแจ้งว่าการละเมิด ลิขสิทธิ์หรือสิทธิของนกัแสดงเป็นการกระทา โดย จงใจ หรือมีเจตนาเป็นเหตใุ หง้านอนั มีลิขสิทธิ์หรือ สิทธิของนักแสดงสามารถเข้าถึงโดยสาธารณชน ได้อย่างแพร่หลาย ให้ศาลมีอ านาจสั่งให้ผู้ละเมิด จ่ายค่าเสียหายเพิ่มขึ้นไม่เกินสองเท่าของ ค่าเสียหายตามวรรคหนึ่ง
ในกรณีที่มีหลักฐานโดยชัดแจ้งว่าบุคคลใดกระท า การหรือก าลังจะกระท าการอย่างใดอย่างหนึ่งอัน เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์หรือสิทธิของนกัแสดง เจา้ของลิขสิทธิ์หรือสิทธิของนกัแสดงอาจขอให้ ศาลมีค าสั่งให้บุคคลดังกล่าวระงับหรือละเว้นการ กระท าดังกล่าวนั้นได้ ค าสั่งของศาลตามวรรคหนึ่งไม่ตัดสิทธิของ เจา้ของลิขสิทธิ์หรือสิทธิของนกัแสดงในการ เรียกร้องค่าเสียหายตามมาตรา ๖๔
ให้น ามาตรา ๖๓ มาตรา ๖๔ และมาตรา ๖๕ มา ใช้บังคับแก่การฟ้องคดีเกี่ยวกับข้อมูลการบริหาร สิทธิและมาตรการทางเทคโนโลยีโดยอนุโลม
ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้เป็นความผิดอัน ยอมความได้
เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติการให้เป็นไปตาม พระราชบัญญัตินี้ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้า พนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา และให้ พนักงานเจ้าหน้าที่มีอ านาจและหน้าที่ ดังต่อไปนี้
ในการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ ให้ผู้ซึ่ง เกี่ยวข้องอ านวยความสะดวกตามสมควร
ในการปฏิบัติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดง บัตรประจ าตัวแก่บุคคลซึ่งเกี่ยวข้อง บัตรประจ าตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ให้เป็นไปตาม แบบที่รัฐมนตรีก าหนด
ผใู้ดกระทา การละเมิดลิขสิทธิ์หรือสิทธิของ นักแสดงตามมาตรา ๒๗ มาตรา ๒๘ มาตรา ๒๙ มาตรา ๓๐ หรือมาตรา ๕๒ ต้องระวางโทษ ปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท ถ้าการกระท าความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นการ กระท าเพื่อการค้า ผู้กระท าต้องระวางโทษจ าคุก ตั้งแต่หกเดือนถึงสี่ปีหรือปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาท ถึงแปดแสนบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ
ผใู้ดกระทา การละเมิดลิขสิทธิ์ตามมาตรา ๒๘/๑ ต้องระวางโทษจ าคุกตั้งแต่หกเดือนถึงสี่ปีหรือ ปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงแปดแสนบาท หรือทั้ง จ าทั้งปรับ
ผใู้ดกระทา การละเมิดลิขสิทธิ์ตามมาตรา ๓๑ ต้องระวางโทษปรับตั้งแต่หนึ่งหมื่นบาทถึงหนึ่ง แสนบาท ถ้าการกระท าความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นการ กระท าเพื่อการค้า ผู้กระท าต้องระวางโทษจ าคุก ตั้งแต่สามเดือนถึงสองปีหรือปรับตั้งแต่ห้าหมื่น บาทถึงสี่แสนบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ
ผู้ใดกระท าการละเมิดข้อมูลการบริหารสิทธิตาม มาตรา ๕๓/๑ หรือมาตรา ๕๓/๒ หรือละเมิด มาตรการทางเทคโนโลยีตามมาตรา ๕๓/๔ ต้อง ระวางโทษปรับตั้งแต่หนึ่งหมื่นบาทถึงหนึ่งแสน บาท ถ้าการกระท าความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นการ กระท าเพื่อการค้า ผู้กระท าต้องระวางโทษจ าคุก ตั้งแต่สามเดือนถึงสองปีหรือปรับตั้งแต่ห้าหมื่น บาทถึงสี่แสนบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ
ผู้ใดไม่มาให้ถ้อยค าหรือไม่ส่งเอกสารหรือวัตถุใด ๆ ตามที่คณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการสั่ง ตามมาตรา ๖๐ วรรคสาม ต้องระวางโทษจ าคุก ไม่เกินสามเดือน หรือปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือ ทั้งจ าทั้งปรับ
ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อ านวยความสะดวกแก พนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา ๖๗ หรือฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามค าสั่งของพนักงาน เจ้าหน้าที่ซึ่งสั่งตามมาตรา ๖๗ ต้องระวางโทษ จ าคุกไม่เกินสามเดือน หรือปรับไม่เกินห้าหมื่น บาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ
ผู้ใดกระท าความผิดต้องระวางโทษตาม พระราชบัญญัตินี้เมื่อพ้นโทษแล้วยังไม่ครบ ก าหนดห้าปีกระท าความผิดต่อพระราชบัญญัตินี้ อีก ต้องระวางโทษเป็นสองเท่าของโทษที่ก าหนด ไว้ส าหรับความผิดนั้น
ในกรณีที่ผู้กระท าความผิดเป็นนิติบุคคล ถ้าการ กระท าความผิดของนิติบุคคลนั้นเกิดจากการสั่ง การหรือการกระท าของกรรมการ หรือผู้จัดการ หรือบุคคลใดซึ่งรับผิดชอบในการด าเนินงานของ นิติบุคคลนั้น หรือในกรณีที่บุคคลดังกล่าวมีหน้าที่ ต้องสั่งการหรือกระท าการและละเว้นไม่สั่งการ หรือไม่กระท าการจนเป็นเหตุให้นิติบุคคลนั้น กระท าความผิด ผู้นั้นต้องรับโทษตามที่บัญญัติไว้ ส าหรับความผิดนั้น ๆ ด้วย
บรรดาสิ่งที่ได้ท าขึ้นหรือน าเข้ามาใน ราชอาณาจกัรอนัเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์หรือสิทธิ ของนักแสดงและสิ่งที่ได้ใช้ในการกระท าความผิด ตามพระราชบัญญัตินี้ให้ริบเสียทั้งสิ้น หรือใน กรณีที่ศาลเห็นสมควร ศาลอาจสั่งให้ท าให้สิ่งนั้น ใช้ไม่ได้หรือจะสั่งท าลายสิ่งนั้นก็ได้โดยให้ ผู้กระท าละเมิดเสียค่าใช้จ่ายในการนั้น
ค่าปรับที่ได้ช าระตามค าพิพากษา ให้จ่ายแก่ เจา้ของลิขสิทธิ์หรือสิทธิของนกัแสดงเป็นจา นวน ึ่งหนึ่งแต่ทั้งนี้ไม่เป็นการกระทบกระเทือนถึงสิทธิ ของเจา้ของลิขสิทธิ์หรือสิทธิของนกัแสดงท่ีจะฟ้อง เรียกค่าเสียหายในทางแพ่งส าหรับส่วนที่เกิน จา นวนเงินค่าปรบั ท่ีเจา้ของลิขสิทธิ์หรือสิทธิของ นักแสดงได้รับแล้วนั้น
ความผิดตามมาตรา ๖๙ วรรคหนึ่ง มาตรา ๗๐ วรรคหนึ่งและมาตรา ๗๐/๑ วรรคหนึ่ง ให้อธิบดีมี อ านาจเปรียบเทียบได้
งานอนั มีลิขสิทธิ์อย่แู ลว้ตามพระราชบญั ญัติ คุ้มครองวรรณกรรมและศิลปกรรม พุทธศักราช ๒๔๗๔ หรือพระราชบญั ญัติลิขสิทธิ์พ.ศ. ๒๕๒๑ ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับให้ได้รับความ คมุ้ ครองลิขสิทธิ์ตามพระราชบญั ญัตินี้ งานที่ได้จัดท าขึ้นก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้ บังคับ และไม่มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบญั ญัติ คุ้มครองวรรณกรรมและศิลปกรรม พุทธศักราช ๒๔๗๔ หรือพระราชบญั ญัติลิขสิทธิ์พ.ศ. ๒๕๒๑ แต่เป็นงานท่ีไดร้บั ความคมุ้ ครองลิขสิทธิ์ตาม พระราชบัญญัตินี้ใหไ้ดร้บั ความคมุ้ ครองลิขสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัตินี้
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี 부서 추언 릭파이 총리
「1994 년 저작권법」
국 가 ‧ 지 역: 태국 제 정 일: 1994년 12월 9일 개 정 일: 2018년 11월 8일(일부개정「2018년 저작권법(제4권)」)
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ เป็นปีที่ ๔๙ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย เดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯให้ประกาศ ว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วย ลิขสิทธิ์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยค าแนะน าและยินยอม ของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서 현 왕조 49년째 해인 1994년(불기 2537년) 12월 9일에 하사하셨다. 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서는 다음과 같이 공포하도록 하셨다. 저작권에 관한 법률을 개정하는 것 이 타당하므로, 의회의 조언과 동의를 통하여 다음 과 같이 법에 날인한다.
이 법은 “1994년 저작권법”이라 고 칭한다.
이 법은 관보에 게재한 날부터 90일의 기한이 지난 날에 시행한 다.
「1978년 저작권법」은 폐지한다.
이 법에서 사용하는 용어의 뜻은 다음과 같다. “창작자”란 이 법에 의거하여 저 작권이 발생하는 어떠한 일을 하 거나 발생시키는 사람을 뜻한다. “저작권”이란 창작자가 창작한 작품과 관련하여 이 법에 의거한 어떠한 행위를 하는 독점권을 뜻 한다. “저작물”이란 서적, 소책자, 저 술, 인쇄물, 강연문, 설교문, 연설 문, 담화문과 컴퓨터 프로그램을 포함한 모든 종류의 저작물을 뜻 한다. “컴퓨터 프로그램”이란 컴퓨터를 작동하게 하기 위해서나 어떠한 결과를 얻기 위하여 사용하는 명 령어 또는 명령어 집합이나 기타 의 것을 뜻한다. 이와 관련하여, 어떠한 형태의 컴퓨터 언어라도 무방하다. “극”이란 이야기로 만들어진 안 무, 춤, 동작 또는 연기와 무언극 을 포함한 관련 작품을 뜻한다. “미술 작품”이란 다음 각 항 중 한 가지 또는 여러가지 형태를 가지는 작품을 뜻한다.
이와 관련하여 제(1)항부터 제(7) 항에 해당하는 작품의 예술적 가 치 여부는 상관이 없으며, 해당 작품의 사진 및 설계도를 포함하 여 뜻하도록 한다. “음악 작품”이란 선율과 가사의 유무 또는 단음에 관계없이 연주 또는 가창을 위하여 지은 곡과 관련한 작품을 뜻하며, 악보 또는 구분 및 편곡한 음표를 포함하여 뜻하도록 한다. “시청각물”이란 영화처럼 연속적 으로 상영할 수 있거나 영화처럼 연속적으로 상영하기 위하여 다 른 매체에 기록될 수 있는 영상 단계의 시청각물을 뜻하며, 만약 있다면 해당 영상을 구성하는 음 향도 포함하여 뜻하도록 한다. “영화”란 영화의 형태로 연속적 으로 상영하거나, 영화의 형태로 연속적으로 상영하기 위하여 다 른 매체에 기록되는 영상 단계로 구성된 시청각물을 뜻하며. 만약 있다면 그 작품을 구성하고 있는 음향도 포함하여 뜻하도록 한다. “음원”이란 어떠한 형태에 관계 없이, 매체에 기록되는 음악, 공 연 음악 또는 기타 음향의 단계 로 구성되고, 해당 매체에 필요한 도구를 사용하여 반복 재생할 수 있는 작품을 뜻한다. 그러나, 영 화를 구성하는 음향이나 시청각 물을 구성하는 음향은 이에 포함 하지 아니하도록 한다. “공연자”란 배우, 음악가, 가수, 무용가, 안무가 및 대본에 따라 행위, 노래, 이야기, 재녹음, 연기 또는 기타 형태로 표현하는 사람 을 뜻한다. “방송”이란 라디오를 통하여 음 향을 전파하거나 텔레비전 또는 기타 유사한 방식을 통하여 음향 과 영상 또는 음향이나 영상을 전파하는 작품을 뜻한다. “재생산”이란 방법에 상관없이 원본이나 사본 또는 주요 내용이 되는 부분의 공개 발표에 대하여 전체 또는 일부분을 복사, 모방, 복제, 주형, 녹음, 녹화 또는 녹 음과 녹화를 하는 것을 뜻한다. 컴퓨터 프로그램과 관련한 부분 의 재생산에 대해서는 방법에 상 관없이 어떠한 매체에서 새로운 작품 창작의 형태 없이 주요 내용이 되는 부분의 전체 또는 일부를 복사 또는 복제하는 것을 뜻한다. “개작”이란 새로운 작품 창작의 형태가 없이 원작의 주요 내용이 되는 부분을 전체 또는 일부분에 관계없이, 변형이나 수정 또는 모 방하여 재생산하는 것을 뜻한다.
“대중전달”이란 창작한 작품을 공연, 강연, 기원, 연주, 음향과 영상 또는 음향이나 영상으로 나 타내거나 건축, 판매 또는 기타 방법으로 대중에게 시현하는 것 을 뜻한다. “공개 발표”란 어떠한 형태 또는 특징에 관계없이 창작자의 허가 를 받아 제작하는 작품의 모조품 을 작품의 상태에 따라 적당한 수량으로 대중에게 시현하여 판 매하는 것을 뜻한다. 그러나, 극 이나 음악 작품 또는 영화의 공 연이나 시현, 문학 작품의 해설 또는 강연, 어떠한 작품과 관련한 음향과 영상의 전파, 미술 작품 전시 및 건축 작품의 건축은 이 에 포함하지 아니하도록 한다. “권한관리정보”란 창작자, 창작 품, 공연자, 공연, 저작권 소유주 또는 저작권이 있는 작품을 사용 하는 기간과 조건부터, 저작권이 있는 작품 또는 공연 기록물에 부착이나 표시되는 정보를 대신 하는 번호나 부호를 아울러 뜻한 다. “기술적 보호조치”란 재생산을 방지하거나 저작권이 있는 작품 또는 공연 기록물에 접근하는 것 을 통제하기 위하여 설계된 기술 을 뜻하며, 이와 같은 기술은 저 작권이 있는 작품 또는 공연 기 록물에 효율적으로 사용된다. “기술적 보호조치의 무력화”란 기술적 보호조치가 효과를 발생 시키지 못하게 하려는 어떠한 사 항으로 행하는 것을 뜻한다. “담당관”이란 이 법에 따라 집행 하도록 장관이 임명한 사람을 뜻 한다. “국장”이란 지적재산국장을 뜻하 며, 지적재산국장이 위임한 사람 을 포함하여 뜻하도록 한다. “위원회”란 저작권위원회를 뜻한 다. “장관”이란 이 법에 따른 대리자 인 장관을 뜻한다.
상무부장관이 이 법을 대행하도 록 하며, 이 법을 집행하도록 담 당관을 임명하고, 부령을 제정, 공고하는 권한을 갖도록 한다. 해당 부령과 공고는 관보에 게시 하였을 때 시행할 수 있다.
이 법에 따라 저작권이 있는 작 품이란 저작물, 극, 미술 작품, 음악 작품, 시청각물, 영화, 음원, 방송 또는 표현 방법 또는 양식 에 관계없이 문학이나 과학 또는 미술 분야의 기타 작품 종류의 창작물을 말한다. 저작권 보호에는 아이디어나 절 차, 공정이나 시스템, 사용 방법 이나 작동 방법 또는 과학이나 수학적 개념, 원리, 발견 또는 이 론은 포함하지 아니한다.
다음 각 항에 해당하는 것은 이 법에 따라 저작권이 발생하는 작 품이라고 간주되지 아니한다.
다음 각 항에 해당되는 조건 하 에서, 창작자가 자신이 창작한 작 품에 대한 저작권자가 되도록 한 다.
창작자가 직원 또는 피고용인의 자격으로 창작한 작품은 만약 다 르게 합의하여 문서로 작성하지 아니하였다면, 해당 작품의 저작 권은 창작자의 소유가 되나, 해당 작품을 대중에게 공개한 권리는 해당 고용이 목적에 따라 고용자 에게 속한다.
창작자가 다른 이에게 고용되어 창작한 작품은 창작자와 고용자 가 다르게 합의한 것을 제외하고 고용자가 해당 작품의 저작권자 가 되도록 한다.
어떠한 작품의 형태가 이 법에 따라 저작권이 있는 작품을 저작 권자의 허가를 받아 개작한 것이 라면, 해당 개작자가 이 법에 따 라 개작한 작품의 저작권을 갖도 록 하나, 이와 관련하여 개작 대 상이 된 기존 창작자의 작품에 대한 저작권자의 권리에는 영향 을 미치지 아니한다.
어떠한 작품이, 이 법에 따라 저 작권이 있는 작품을 저작권자의 허가를 받아 편집 또는 조합하거 나, 읽기 또는 기기나 기타 기구 를 통해 중계가 가능한 자료 또 는 기타의 것을 편집 또는 조합 한 형태를 가지고 있는 경우, 만 약 편집 또는 조합한 사람이 다 른 사람의 작품을 도용하지 아니 하는 형태에서 해당 작품을 편집 또는 조합하였다면, 편집 또는 조 합한 사람이 이 법에 따라 편집 또는 조합한 작품에 대한 저작권 을 갖도록 한다. 그러나, 이와 관 련하여, 편집 또는 조합된 원 창 작자의 작품이나 자료 또는 기타 의 것에 있는 저작권자의권리에 는 영향을 미치지 아니한다.
제8조와 제9조 및 제10조를 제 11조 또는 제12조에 따른 저작권 소유에 준용한다.
부, 청, 국이나 정부 또는 지방의 기타 기관은 고용에 의하거나 명 령 또는 자신의 감독에 따르는 작품에 대한 저작권을 갖는다. 다 만, 서면으로 다르게 합의해 둔 것은 예외로 한다.
제9조와 제10조 및 제14조의 적 용 하에서 저작권자는 다음 각 항에 해당하는 권리를 단독으로 갖는다.
제(5)항 첫 번째 단락에 따른 조 건이 공정하지 아니하게 경쟁을 제한하는 지의 여부를 검토하는 것은 부령에서 정한 원칙과 방법 및 조건을 따른다.
이 법에 따른 저작권자가 제15조 제(5)항에 따라 다른 사람이 권리 를 사용하도록 허가한 경우, 금지 항목으로 명기한 허가서를 제외 하고, 다른 사람에게 해당 권리를 사용하도록 허가한 저작권자의 권리를 박탈하는 것은 불가하다.
저작권은 양도가 가능하다. 저작권자는 자진의 저작권 전체 또는 일부분을 다른 사람에게 양 도할 수 있으며 기간을 정하거나 저작권 보호 유효 전 기간 동안 양도할 수도 있다. 유산이 아닌 두 번째 단락에 다 른 저작권 양도는 양도자와 양수 자가 서명한 문서로 작성하여야 한다. 만약 양도 계약에서 기간을 정하지 아니하였다면, 10년 기한 의 양도로 간주하도록 한다.
이 법에 따라 저작권이 있는 작 품의 창작자는 자신이 해당 작품 의 창작자라는 것을 표시할 권리 가 있으며, 저작권을 양도받은 사 람 또는 다른 사람이 창작자의 명성이나 명예를 실추시킬 정도 로 작품을 왜곡, 삭제, 개작 또는 기타 사항을 행하는 것을 금지할 권리가 있다. 또한 창작자가 사망 하였을 때에는 창작자의 상속인 이 저작권 보호 유효기간 동안 해당 권리에 따라 집행하도록 법 적 조치를 취할 권리가 있다. 이 와 관련하여 서면으로 다르게 합 의한 것은 예외로 한다.
제21조 및 제22조의 적용 하에서 이 법에 따른 저작권은 창작자의 평생 및 사망일부터 50년 동안 유효기간을 정한다. 공동 창작자가 있는 경우 해당 작품의 저작권은 공동 창작자의 평생 및 마지막 창작자의 사망일 부터 50년의 유효기간을 정한다. 만약 창작자 또는 공동 창작자 전원이 해당 작품을 공개 발표하 기 전에 사망하였다면, 최초 공개 발표일부터 50년 동안을 해당 작 품의 저작권 유효기간으로 정한 다. 창작자가 법인인 경우, 창작자가 창작한 날부터 50년 동안을 유효 기간을 정하도록 하나, 만약 해당 기간 동안 작품이 공개 발표되었 다면, 최초 공개 발표일부터 50 년 동안을 저작권의 유효기간으 로 정하도록 한다.
창작자가 필명을 사용하거나 창 작자의 성명이 드러나지 아니하 는, 이 법에 따라 저작권이 있는 작품은 해당 작품을 창작한 날부 터 50년 동안을 저작권의 유효기 간으로 설정하도록 하나, 만약 해 당 기간 동안 작품이 공개 발표 되었다면 최초 공개 발표일부터 50년 동안을 저작권의 유효기간 으로 정하도록 한다. 창작자에 대해 알고 있는 경우에 는 제19조를 준용하도록 한다.
사진, 시청각물, 영화, 음원 또는 음향과 영상을 전파하는 작품의 저작권에 대해서는 해당 작품을 창작한 날부터 50년 동안을 유효 기간으로 정하도록 하나, 만약 해 당 기간 동안 작품이 공개 발표 되었다면, 최초 공개 발표일부터 50년 동안을 저작권의 유효기간 으로 정하도록 한다.
응용 예술 작품에 저작권에 대해 서는 해당 작품을 창작한 날부터 25년 동안을 유효기간으로 정하 도록 하나, 만약 해당 기간 동안 작품이 공개 발표되었다면 최초 공개 발표일부터 25년 동안을 저 작권의 유효기간으로 정하도록 한다.
제14조에 의거하여 고용이나 명 령 또는 감독에 따라 창작된 작 품의 저작권에 대해서는 해당 작 품을 창작한 날부터 50년 동안을 유효기간으로 정하도록 하나, 만 약 해당 기간 동안 작품이 공개 발표되었다면, 최초 공개 발표일 터 50년 동안을 저작권의 유효기 간으로 정하도록 한다.
제19조, 제20조, 제21조, 제22조 또는 제23조에 따라 저작권 유효 기간을 산정하는 작품 공개 발표 는 저작권자의 승인을 받은 작품 공개 발표를 포함하여 뜻하도록 한다.
저작권 보호 유효 기간이 어떠한 해에 만료되었을 때, 만약 저작권 보호 유효 기간 만료일이 달력에 따른 날짜로 그 해의 마지막 날 과 일치하지 아니하거나 저작권 보호 유효기간을 확실하게 알지 못한다면, 저작권이 달력에 따라 그 해의 마지막까지 유효하도록 한다
저작권이 있는 작품을 저작권의 보호 기간이 만료된 이후에 공개 발표하였다면, 해당 작품에 대한 저작권은 새롭게 발생하지 아니 한다.
이 법에 의거하여 저작권이 있는 작품에 대하여 제15조 제(5)항에 따라 허가를 취득하지 아니하고 만약 다음 각 항에 해당하는 어 느 하나의 행위를 한다면, 저작권 침해로 간주하도록 한다.
이 법에 의거하여 저작권이 있는 시청각물이나 영화 또는 음원에 대하여 제15조 제(5)항에 따라 허 가를 취득하지 아니하고, 음향 또 는 영상 부분에 상관없이, 만약 다음 각 항에 해당하는 어느 하 나의 행위를 한다면, 저작권 침해 로 간주하도록 한다.
영화 및 비디오에 관한 법률에 따른 영화관에서, 제15조 제(5)항 에 따라 허가를 받지 아니하고, 이 법에 의거하여 저작권이 있는 영화 전체 또는 일부분에 상관없 이, 상영중인 영화를 녹음 또는 녹화를 하거나 녹음 및 녹화하여 재생산하는 것은 저작권 침해로 간주하도록 하고 제32조 두번째 단란 제(2)항을 적용하지 아니한 다.
제15조 제(5)항에 따라 허가를 받 지 아니하고 이 법에 의거하여 저작권이 있는 방송에 대하여 만 약 다음 각 항에 해당하는 행위 를 하였다면 저작권 침해로 간주 하도록 한다.
제15조 제(5)항에 따라 허가를 받 지 아니하고 이 법에 의거하여 저작권이 있는 컴퓨터 프로그램 에 대하여 만약 다음 각 항에 해 당하는 행위를 하였다면 저작권 침해로 간주하도록 한다.
어떠한 작품이 타인의 저작권을 침해하였다는 것을 알고 있거나 알아야 하는 사람이 이득을 구하 기 위하여 해당 작품에 만약 다 음 각 항에 해당하는 행위를 하 였다면 저작권 침해로 간주하도 록 한다.
이 법에 의거하여 타인에게 저작 권이 있는 작품에 대하여, 만약 저작권자의 저작권이 있는 작품 에서 발생하는 통상적인 이윤 추 구를 저해하지 아니하였으며, 저 작권자의 합법적인 권리에 부당 하게 영향을 미치지 아니한다면 저작권 침해로 간주하지 아니하 도록 한다. 첫번째 단락의 따른 규정의 적용 하에서 첫번째 단락에 따라 저작 권이 있는 작품에 대하여 다음 각 항에 해당하는 행위를 하는 것은 저작권 침해로 간주하지 아 니하도록 한다.
합법적으로 원본 또는 사본에 대 한 판권을 취득하여 원본 또는 사본을 판매하는 것은 저작권 침 해로 간주하지 아니하도록 한다.
컴퓨터 시스템이나 컴퓨터 시스 템 계통에서 저작권이 있는 작업 전송과정에서 사용하는 장비가 통상적인 작업을 하도록 하기 위 하여 복제 사용 용도로 필수적인 재생산 형태의 컴퓨터 시스템에 서 합법적으로 제작하거나 취득 한 저작권이 있는 작업에 대한 행위는 저작권 침해로 간주하지 아니하도록 한다.
컴퓨터 시스템에서 서비스 제공 자의 저작권 침해로 믿을 수 있 는 증거가 있는 경우, 저작권자는 서비스 제공자의 해당 저작권 침 해를 중지를 명하도록 법원에 청 원할 수 있다. 이 조항에 유용하도록 서비스 제 공자의 정의는 다음 각 항과 같 다.
만약 제32조 첫번째 단락에 따라 이행하였다면, 이 법에 의거하여 저작권이 있는 작품에서 해당 작 품에 대한 저작 인격권을 인지하 고, 합당하게 작품 일부를 언급, 발췌, 모사 또는 인용하는 것은 저작권 침해로 간주하지 아니하 도록 한다.
다음 각 항에 해당하는 경우, 이 법률에 의거하여 저작권이 있는 작품이 도서관의 사서에 의하여 재생산되는 것은, 만일 해당 재생 산이 이윤을 추구하는 목적이 없 고 제32조 첫번째 단락에 따라 이행하였다면 저작권 침해로 간 주하지 아니하도록 한다.
다음 각 항에 해당하는 경우, 만 약 이윤 추구의 목적이 없으며, 제32조 첫번째 단락에 따라 이행 하였다면, 이 법에 의거하여 저작 권이 있는 컴퓨터 프로그램에 대 한 행위는 저작권 침해로 간주하 지 아니하도록 한다.
만약 공공 자선이나 교육, 종교 행위 또는 사회복지 목적이 있는 협회 또는 재단이나 기타 단체에 의한 수행이며, 제32조 첫번째 단락에 의거하여 이행하였다면, 대중 발표로 인한 이윤 추구를 위하여 창작하지 아니하였으며, 타당성에 따라 공연 또는 실행하 였고, 직간접적인 방법으로 관람 료를 징수하지 아니하였으며, 공 연자가 해당 공연에서 보수를 받 지 아니한 극작품 또는 음악작품 은 저작권 침해로 간주하지 아니 하도록 한다.
건축 작품을 제외하고, 대중에게 일상적으로 공개되고 있는 예술 작품을 소묘, 채색, 조소, 조각, 조형, 식각, 인화, 사진 촬영, 영 화 촬영, 방송 또는 이와 흡사한 어떠한 행위는 해당 예술작품에 대한 저작권 침해로 간주하지 아 니하도록 한다.
어떠한 건축 작품에 대한 소묘, 채색, 조소, 조각, 조형, 식각, 인 화, 사진 촬영, 영화 촬영 또는 방송은 해당 건축 작품에 대한 저작권 침해로 간주하지 아니하 도록 한다.
영상 촬영이나 영화 촬영 또는 어떠한 미술 작품이 구성 요소로 포함되어 있는 작업인 영상 공개 는 그러한 미술 작품에 대한 저 작권 침해로 간주하지 아니하도 록 한다.
동일한 창작자가 이후 기존 예술 작품의 일부분을 재생산하거나, 패턴, 스케치, 도면, 모형 또는 원래 예술 작품을 제작하는 데 사용한 교육에서 얻은 자료를 사 용하여, 예술작품의 저작권이 창 작자 이외에 타인에게 있는 경우, 만약 창작자가 원래 예술작품의 주요 내용인 부분을 재생산 또는 모방하지 아니하였다고 밝혀진다 면, 해당 예술 작품에 대한 저작 권 침해로 간주하지 아니하도록 한다.
이 법에 의거하여 저작권이 있는 건축 작품인 특정 건물을 복원하 는 것은 저작권 침해로 간주하지 아니하도록 한다.
어떠한 영화에 대한 저작권 보호 기간이 만료된 경우에는 해당 영 화의 대중 공개가 문학작품이나 극작품, 미술작품, 음악작품, 시 청각물, 음원 또는 해당 영화의 제작에 사용한 작품에 대한 저작 권 침해로 간주하지 아니하도록 한다.
만약 제32조 첫번째 단락에 따라 이행하였다면, 법률에 의거하여 권한이 있는 담당관에 의하거나 해당 담당관의 명령에 따라 공무 수행의 용이함을 위하여 이 법에 따른 저작권이 있으며, 공적 관리 중인 작품을 재생산하는 것은 저 작권 침해로 간주하지 아니하도 록 한다.
공연자는 마땅히 자신의 공연과 관련한 행위에 대하여 다음 각 항에 해당하는 권리를 갖는다.
상업적 목적을 위하여 이미 공개 된 공연 기록물 또는 그 작품의 사본으로 직접 음원을 퍼뜨리거 나 대중에게 공개한 사람은 공연 자에게 공정한 대가를 지급하도 록 한다. 대가를 합의하지 못한 경우, 국장이 대가를 정하는 명령 을 하도록 한다. 이와 관련하여, 해당 사업의 통상 대가 비율을 고려하도록 한다. 첫번째 단락에 따른 국장의 명령 은 당사자가 국장의 명령 통지서 를 수령한 날부터 90일 이내에 위원회에 이의를 제기할 수도 있 다. 위원회의 결정은 최종적인 것 으로 간주하도록 한다.
어떠한 공연 또는 공연 기록의 공연자가 1인 이상인 경우, 해당 공연자들은 본인의 권리와 관련 하여 감독하고 관리할 대리인을 공동으로 임명할 수도 있다.
만약 다음 각 항의 어느 하나에 해당하는 조건에 따라 진행되는 경우에는 공연자에게 제44조에 따른 공연에 대한 권리를 갖도록 한다.
만약 다음 각 항의 어느 하나에 해당하는 조건에 따라 진행되는 경우에는 공연자에게 제45조에 따라 대가를 받을 권리를 갖도록 한다.
제44조에 따른 공연자의 권리는 공연이 있은 해의 역년에 따른 마지막 날부터 50년의 시효를 두 도록 한다. 공연을 기록하는 경우 에는 공연을 기록한 해의 역년에 따른 마지막 날부터 50년의 시효 를 두도록 한다.
제45조에 따른 공연자의 권리는 공연을 녹음한 해의 역년에 따른 마지막 날부터 50년의 시효를 두 도록 한다.
제44조 및 제45조에 따른 공연자 의 권리는 전체 또는 일부에 관 계없이 당연히 양도 가능하며, 기 한을 정하거나 보호 시효 전체 기간으로 양도할 수도 있다. 공연자가 1인 이상인 경우, 공연 자는 자신의 권리 부분에 한하여 양도할 권리가 있다. 유산 이외 기타 방법으로의 양도 는 양도인과 양수자가 서명한 문 서로 작성하여야 한다. 만약 양도 계약서에 기한을 정하지 아니하 였다면, 기한을 3년으로 정하였다 고 간주하도록 한다.
공연자는 당연히, 자신의 공연에 서 자신이 공연자라고 표시할 권 리가 있으며, 공연자의 권리를 양 도받은 사람 또는 다른 어떠한 사람이 공연자의 명성이나 명망 에 피해를 야기할 정도로 공연을 왜곡, 압축, 각색 또는 다른 어떠 한 기타 행위를 하는 것을 금지 할 권리가 있고, 공연자가 사망하 였을 때에는 공연자의 상속인이 공연자의 권리 보호 시효 기간 동안 해당 권리에 따라 제소할 수 있다. 다만, 서면으로 다르게 합의한 것은 제외한다.
어떠한 사람이 공연자에게 허가 를 받지 아니하거나, 제44조에 따른 어떠한 행위를 하거나, 제 45조에 따른 대가를 지불하지 아 니한다면, 해당자가 공연자의 권 리를 침해한 것으로 간주하도록 한다.
제32조, 제32조의2, 제32조의3, 제33조, 제34조, 제36조, 제42조 및 제43조를 공연자의 권리에 준 용한다.
해당 행위가 저작권 또는 공연자 의 권리에 대한 침해를 유도, 야 기 또는 용이하도록 하거나 은폐 라는 인지하고 권리 관리 정보를 삭제하거나 변경하는 것은 권리 관리 정보를 침해하는 것으로 간 주하도록 한다.
만약 어떠한 사람이 저작권이 있 는 작품 또는 작품의 사본이 권 리 관리 정보의 삭제 또는 변경 이 있었다는 것을 인지하고, 해당 작품에 다음 각 항에 해당하는 어떠한 행위를 하였다면, 해당자 는 권리 관리 정보 침해를 하였 다고 간주하도록 한다.
다음 각 항에 해당하는 행위는 권리 관리 정보 침해로 간주하지 아니하도록 한다.
해당 행위가 저작권 또는 공연자 의 권리에 대한 침해를 유도하거 나 야기한다는 것을 인지하였으 며, 기술적 조치에 대한 회피 또 는 기술적 조치에 대한 회피를 야기하기 위하여 서비스를 제공 하는 것은 기술적 조치에 대한 침해로 간주하도록 한다.
다음 각 항에 해당하는 경우에는 제53조의4에 따른 행위를 기술적 조치에 대한 침해로 간주하지 아 니하도록 한다.
만약 신청서를 제출하는 때에 다 음 각 항의 어느 하나에 해당하 는 경우라고 밝혀진다면, 영리 추 구가 목적이 아닌 교육 또는 연 구의 용도로 인쇄물의 형태 또는 이 법에 따른 유사한 기타 형태 로 대중에게 공개하는 업무에서 저작권 사용을 요청하고자 희망 하는 태국 국적자는, 저작권자에 게 태국어로 번역하거나 태국어 로 번역된 적이 있는 작품 사본 을 재생산하는 데 저작권을 사용 을 요청하였으나 거절당했거나, 합당한 시간이 걸렸지만 합의하 지 못하였다는 증거를 밝혀 국장 에게 신청서를 제출할 수도 있다.
첫번째 단락에 따른 허가 신청은 다음 각 항의 원칙과 방법 및 조 건을 따르도록 한다.
(ㄱ) 외국에 있는 수령자가 태 국 국적자이다. (ㄴ) 해당 인쇄물이 학습이나 교육 또는 연구 목적을 위하여 사용된다. (ㄷ) 해당 인쇄물 송출이 상업 적 목적이 아니어야 하며, (ㄹ) 해당 인쇄물이 송출되는 국가가 태국이 해당 국가에 인 쇄물을 송출하거나 배포하도록 허가하여야 한다.
제54조에 따른 신청서를 접수한 때에는, 국장이 당사자 간에 저작 권 사용의 대가 및 조건을 합의 하도록 조치하도록 한다. 상호 합 의하지 못하는 경우, 국장이 해당 유형의 사업에서 통상적인 대가 의 비율에 대하여 고려하여 공정 한 보수를 정하는 명령을 검토하 도록 하며, 타당한 바에 따라 저 작권 사용 조건을 규정할 수도 있다. 저작권 사용 대가 및 조건을 규 정하였을 때에는, 국장이 저작권 사용 신청자에게 허가서를 발부 하도록 한다. 첫번째 단락에 의거한 국장의 명 령에 대하여, 국장의 명령 통지서 를 수령한 날부터 90일 이내에, 당사자가 위원회에 이의를 제기 할 수 있다. 위원회의 결정은 판 단은 최종적인 결정이 되도록 한 다.
상무부차관을 위원장으로 하고, 저작권자 저작권자 또는 공연권 협회 대표 및 저작권 사용 또는 공연권 사용자 협회 대표 6인 이 상이 포함된 12인 이하로 내각이 임명한 권위자 위원으로 구성된 “저작권위원회”라는 명칭의 위원 회 한 곳을 두도록 한다. 위원회는 간사 및 간사보를 임명 할 수도 있다.
권위자 위원의 임기는 1회 2년이 다. 퇴임한 위원은 재임명될 수도 있다. 위원이 임기 만료 전에 퇴임하거 나 이미 임명된 위원의 재임 중 내각이 위원을 추가 임명하는 경 우 대신 재임하도록 임명되거나 추가된 위원은 이미 임명된 위원 의 잔여 임기와 동일하게 재임한 다.
권위자 위원은 다음 각 항에 해 당하는 때에 퇴임한다.
위원회의 회의는 위원의 과반수 이상이 참석해야 의사정족수가 된다. 만약 위원장이 회의에 불참하거 나 회의에 부재하였다면 회의에 서 위원 1인을 회의의 의장으로 선출하도록 한다. 회의의 의사결정은 다수결에 따 르도록 한다. 위원 1인은 1개의 표결권을 갖도록 한다. 만약 찬반 동수라면 의장이 추가로 1개의 표결권을 갖도록 한다.
위원회는 다음 각 항의 권한이 있다.
위원회는 위원회가 위임한 바에 따른 어떠한 한가지를 검토 또는 이행하기 위한 소위원회를 임명 할 권한을 가질 수도 있도록 하 고 제59조를 소위원회의 회의에 준용한다. 직무를 수행함에 있어서 참조하 기 위하여 필요에 따라 위원회 또는 소위원회는 문서로 어떠한 소환하여 진술하거나 서류 또는 어떠한 물품을 송부하도록 명할 권한을 갖도록 한다.
태국이 가입하고 있는 저작권보 호에 관한 협약 또는 공연권에 관한 협약 가입국의 창작자의 저 작권 및 공연권이 있는 작품 또 는 태국이 회원으로 참여하고 있 는 국제기구의 저작권이 있는 작 품은 당연히 이 법에 따라 보호 를 받는다. 장관에게 저작권보호에 관한 협 약 또는 공연권에 관한 협약의 가입국 명단을 공고하는 권한을 부여한다.
민사소송이나 형사소송에 관계없 이, 이 법률에 따른 저작권 또는 공연권에 관련한 소송은 이 법률 에 해당 소송에서 고소가 있는 작품이 저작권 또는 공연권이 있 는 작품이며 해당 작품에서 원고 가 저작권자 또는 공연권자라고 우선 추정하도록 한다. 다만, 피 고가 저작권자 또는 공연권자가 존재하지 아니하였다고 반론을 제기하거나 원고의 권리를 반박 하는 것은 제외한다. 어떠한 사람이 자신이 저작권자 또는 공연권자라고 표시해 둔 이 름 또는 이름 대신 사용하는 것 이 있는 작품은 이름 또는 이름 대신 사용하는 것의 소유주인 사 람을 창작자 또는 공연자라고 우 선 추정하도록 한다. 어떠한 사람이 자신이 저작권자 또는 공연권자라고 표시해 둔 이 름 또는 이름 대신 사용하는 것 이 있으나 저작권자 또는 공연권 자라고 주장하지 아니하였으며, 출판인이나 발행인 또는 출판인 겸 발행인이라고 주장해 둔 다른 사람의 이름 또는 이름 대신 사 용하는 것이 있는 작품은 출판인 이나 발행인 또는 출판인 겸 발 행인인 사람을 해당 작품에서 저 작권자 또는 공연권자라고 우선 추정하도록 한다.
저작권자 또는 공연권자가 침해 및 침해한 사람에 대하여 안 날 부터 3년의 기한이 만료한 때에 는 저작권 또는 공연권 침해 소 송을 제기하지 아니하도록 한다. 그러나 이와 관련하여 저작권 또 는 공연권 침해가 있는 날부터 10년을 초과하지 아니하여야 한 다.
저작권 또는 공연권에 대한 침해 가 있는 경우, 법원은 저작권자 또는 공연권자의 권리에 따른 손 실 및 강제에 필요한 비용을 포 함한 손해의 정도를 참작하여 법 원이 타당하다고 판단하는 액수 에 따라 보상금을 지불하도록 명 할 권한이 있다. 저작권 또는 공연권에 대한 침해 가 대중에 의하여 저작권 또는 공연권 널리 감상하도록 하는 원 인이 되는 고의 또는 동기에 의 한 행위라고 명백하게 밝혀지는 경우, 법원은 침해자가 첫번째 단 락에 따른 피해액의 2배를 초과 하지 아니하는 추가 손해액을 지 급하도록 명할 권한을 갖도록 한 다.
어떠한 사람이 저작권 또는 공연 권을 침해하는 어떠한 행위를 하 거나 행위를 하려고 한다는 명확 한 증거가 있는 경우, 저작권자 또는 공연권자는 법원이 침해자 에게 침해를 저지 또는 금하는 명령을 내리도록 요청할 수 있다. 첫번째 단락에 따른 법원의 명령 은 제64조에 의거한 피해액을 청 구하는 저작권자 또는 공연권자 의 권리를 차단하지 아니한다.
제63조와 제64조 및 제65조를 권리 관리 정보 및 기술적 조치 와 관련한 소송에 준용하도록 한 다.
이 법률에 따른 위법행위는 화해 될 수 있다.
이 법률의 집행에 유용하도록 담 당관은 형법전에 따른 공무원이 되도록 하며, 담당관에게 다음 각 항에 따른 권한과 직무를 부여한 다.
담당관의 직무를 수행함에 있어 서 관련자는 적절한 편의를 제공 하도록 한다.
직무를 수행함에 있어서 담당관 은 관련자에게 신분증을 제시하 여야 한다. 담당관의 신분증은 장관이 정한 양식에 따르도록 한다.
제27조, 제28조, 제29조, 제30조 또는 제52조에 따라 저작권 또는 공연권을 침해한 사람은 2만 바 트 이상 20만 바트 이하의 벌금 형에 처한다. 만약 첫번째 단락에 따른 위법행 위가 영업을 위한 행위라면, 행위 자는 6개월 이상 4년 이하의 징 역형이나 또는 10만 바트 이상 80만 바트 이하의 벌금형에 처하 거나, 징역형과 벌금형을 병과한 다.
제28조의1에 따라 저작권을 침해 한 사람은 6개월 이상 4년 이하 의 징역형 또는 10만 바트 이상 80만 바트 이하의 벌금형에 처하 거나, 징역형과 벌금형을 병과한 다.
제31조에 따른 저작권 침해를 한 사람은 1만 바트 이상 10만 바트 이하의 벌금형에 처한다. 만약 첫번째 단락에 따른 위법행 위가 영업을 위한 행위라면, 행위 자는 3개월 이상 2년 이하의 징 역형 또는 5만 바트 이상 40만 바트 이하의 벌금형에 처하거나, 징역형과 벌금형을 병과한다.
제53조의1 또는 제53조의2에 따 른 저작권 침해 또는 제53조의4 에 따른 기술적 조치 침해를 한 사람은 1만 바트 이상 10만 바트 이하의 벌금형에 처한다. 만약 첫번째 단락에 따른 행위가 영업을 위한 행위라면, 행위자는 3개월 이상 2년 이하의 징역형 또는 5만 바트 이상 40만 바트 이하의 벌금형에 처하거나, 징역 형과 벌금형을 병과한다.
제60조 세번째 단락에 따른 위원 회 또는 소위원회의 명에 따라 진술하지 아니하거나 서류 또는 물품을 송부하지 아니하는 사람 은 3개월 이하의 징역형 또는 5 만 바트 이하의 벌금형에 처하거 나, 징역형과 벌금형을 병과한다.
제67조에 따른 직무를 수행하는 담당관을 방해 또는 편의를 제공 하지 아니하거나 제67조에 따른 명령인 담당관의 명령을 위반하 거나 이행하지 아니하는 사람은 3개월 이하의 징역형 또는 5만 바트 이하의 벌금형에 처하거나, 징역형과 벌금형을 병과한다.
이 법률에 따라 처벌되는 행위를 하고, 그 형이 종료되거나 집행을 받지 아니하기로 확정된 후 5년 이내에 이 법률에 대하여 재범한 사람은 해당 위법행위에 대하여 규정한 처벌의 2배에 해당하는 처벌을 받는다.
위법행위를 한 사람이 법인인 경 우, 만약 해당 법인의 위법 행위 가 이사나 전무 또는 해당 법인 의 업무 수행 책임자의 통솔이나 행위에서 기인하거나 해당자가 통솔하거나 이행하여야 하는 책 임이 있고, 통솔 또는 행위를 하 지 아니함으로써 해당 법인이 위 법행위를 하도록 하는 사유가 되 는 경우, 해당자는 해당 위법행위 에 대하여 규정해 둔 바에 따른 처벌을 받아야 한다.
이 법률에 따라 저작권 또는 공 연권을 침해로 제작하거나 국내 에 도입하는 모든 것들과 이 법 률에 따른 위법 행위에 사용되는 것은 전부 몰수하도록 하거나 법 원이 타당하다고 판단하는 경우, 법원은 침해자가 비용을 지불하 도록 하여 그 물품들을 사용하지 못하도록 만들거나 파괴하도록 명할 수도 있다.
판결에 따라 납부하는 벌금은 그 액수의 절반을 저작권자 또는 공 연권자에게 지불하도록 한다. 그 러나 이것이 저작권자 또는 공연 권자가 수령한 벌금액수를 초과 하는 부분에 대하여 민사로 피해 액을 청구하는 저작권자 또는 공 연권자의 권리에 영향을 미치는 것은 아니다.
제69조 첫번째 단락과 제70조 첫 번째 단락 및 제70조의1 첫번째 단락에 따른 위법행위는 국장에 게 벌금을 부과할 수 있는 권한 을 부여한다.
「1931년 문학작품 및 예술작품 보호법」 또는 「1978년 저작권법」 따라 저작권이 있는 작품은 이 법률의 시행일에 이 법률에 따라 저작권을 보호받도록 한다. 이 법률의 시행 전에 제작되었으 며, 「1931년 문학작품 및 예술작 품 보호법」 또는 「1978년 저작권 법」 따른 저작권이 없는 작품이 지만 이 법률에 따라 저작권이 보호되는 작품은, 이 법률에 따라 저작권을 보호받도록 한다.
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี 부서 추언 릭파이 총리