พระราชกำหนด ว่าด้วยการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๖๓ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ไว้ ณ วันที่ ๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๓ เป็นปีที่ ๕ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชโองการโปรดเกล้า ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๗๒ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ให้ตราพระราชกำหนดนี้ไว้ ดังต่อไปนี้
"หน่วยงาน" หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม องค์การมหาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานของรัฐที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมาย หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ และให้หมายความรวมถึงคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือคณะบุคคลที่หน่วยงานดังกล่าวแต่งตั้งขึ้นด้วย
(ก) การประชุมของสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐสภา (ข) การประชุมเพื่อจัดทําหรือทําคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาล (ค) การประชุมเพื่อดําเนินการตามกระบวนการหรือจัดทําข้อสั่งของส่วนราชการ ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ องค์กรตามกฎหมาย และหน่วยงานอื่นของรัฐ (ง) การประชุมอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
จะดําเนินการตามวิธีการที่บัญญัติไว้ในกฎหมายเฉพาะแต่ละฉบับแล้ว ผู้ทําหน้าที่ประธานในที่ประชุม จะกําหนดให้การประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ก็ได้ และให้ถือเป็นการประชุมตามวิธีการ ที่บัญญัติไว้ในกฎหมาย ห้ามมิให้ประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในเรื่องความลับที่กําหนดในกฎกระทรวง
ความมั่นคงปลอดภัยของการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ก็ได้ ในกรณีที่หนังสือเชิญประชุมและเอกสารประกอบการประชุม ส่งโดยจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ไม่เป็นหลักฐาน โดยต้องเก็บในรูปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
จัดให้ผู้ร่วมประชุมแสดงตนเพื่อร่วมประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ก่อนร่วม การประชุม
จัดให้ผู้ร่วมประชุมสามารถลงคะแนนได้ ทั้งการลงคะแนนโดยเปิดเผย และการลงคะแนนลับ
จัดทํารายงานการประชุมเป็นหนังสือ
จัดให้การบันทึกเสียงหรือทั้งเสียงและภาพ แล้วแต่กรณี ผู้ร่วมประชุมทุกคน ตลอดระยะเวลาที่มีการประชุม เว้นแต่การประชุมลับ
จัดเก็บข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์กรณีการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไว้เป็นหลักฐาน
หรือดําเนินงานของการประชุมไม่สามารถกระทําได้ ให้ถือว่าการประชุมสิ้นสุดลง และให้ผู้ทําหน้าที่ จัดการประชุมดําเนินการตามหน้าที่ต่อไปเมื่อเหตุสุดวิสัยที่ทําให้การประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ สิ้นสุดลง
เป็นการประชุมโดยชอบด้วยกฎหมาย และสามารถใช้เป็นหลักฐานในกระบวนการพิจารณา ของศาลหรือองค์กรของรัฐได้ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กำหนดนี้เป็นพยานหลักฐานในกระบวนการพิจารณาคดีตามกฎหมายทั้งในคดีแพ่ง คดีอาญา หรือคดีอื่นใด เพียงเพราะเหตุว่าเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกำหนดฉบับนี้ คือ โดยที่ปัจจุบันได้เกิดสถานการณ์ การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในหลายประเทศทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย มีจำนวนผู้ ติดเชื้อที่ต้องได้รับการรักษาพยาบาลและเสียชีวิตจากโรคดังกล่าวเป็นจำนวนมากและยังคงติดเชื้อ ได้ง่าย จึงการควบคุมมิให้เกิดการแพร่ระบาดในวงกว้างและขณะนี้ยังไม่มี แนวทางการรักษาที่ชัดเจน ทำให้รัฐบาลต้องใช้มาตรการที่เข้มงวดเพื่อควบคุมการระบาดของโรค ตามคำแนะนำขององค์การอนามัยโลก โดยต้องอาศัยวิธี การเว้นระยะห่างทางสังคม (social distancing) ทำให้การปฏิบัติงานของหน่วยงานของรัฐและเอกชนไม่สามารถดำเนินการได้ตามปกติ ทุกภาคส่วนซึ่งต้องมีการประชุมเพื่อปรึกษาหารือเป็นปกติจึงจำเป็นต้องมีการจัดประชุมผ่าน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ แม้ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 74/2557 เรื่อง การประชุมผ่าน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ลงวันที่ 27 มิถุนายน พุทธศักราช 2557 จะได้กำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการประชุม ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไว้แล้ว แต่ยังมีข้อจำกัดบางประการที่ทำให้การประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไม่อาจดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพและไม่อาจนำผลการประชุมมาใช้ในกระบวนการพิจารณา คดีได้อย่างสมบูรณ์ จึงจำเป็นต้องปรับปรุงหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ให้ เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบันและให้สามารถนำผลการประชุมมาใช้ในกระบวนการพิจารณาคดี ได้อย่างสมบูรณ์ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการบริหารราชการแผ่นดินและการประกอบกิจการของภาค เอกชน รวมทั้งการอำนวยความยุติธรรมให้แก่ประชาชน สมควรตราพระราชกำหนดนี้ รายการแผ่นดิน ตลอดจนการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจของสภาคนอาจารย์นุสรณ์ ทั้งจะเห็นได้จากการที่บริษัทต่าง ๆ หันมาลงประชุมใหญ่กับผู้ถือหุ้นของไปโดยไม่สะดวก ในขณะที่จำเป็นอย่างยิ่งที่สภาคนอาจารย์นุสรณ์จะปรับเปลี่ยนอย่างรวดเร็วและรับฟังเพื่อตอบสนองต่อสภาพการณ์ทางเศรษฐกิจที่ชะลอตัวลงอย่างหนักในพื้นที่นั้น สถานการณ์ดังกล่าวจึงมีผลกระทบต่อความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศอย่างรุนแรง เป็นกรณีคุณลักษณะที่มีความจำเป็นเร่งด่วนอย่างยิ่งจะต้องสะสางให้ได้มาอันที่จะรักษาความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ จึงจำเป็นต้องตราพระราชกำหนดนี้ ``` พัชราภรณ์/จัดทำ ๒๐ เมษายน ๒๕๖๓ ภานุรุจ/ตรวจ ๒๐ เมษายน ๒๕๖๓ ```