로고

「2008년 국가관광정책법」

• 국 가 ‧ 지 역: 태국 • 제 정 일: 1994년 12월 9일 • 개 정 일: 2018년 11월 8일(일부개정「2018년 저작권법(제4권)」)

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑ เป็นปีที่ ๖๓ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย เดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยนโยบาย การท่องเที่ยวแห่งชาติ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยค าแนะน าและยินยอม ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้

มาตรา ๑

พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติ นโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๑”

มาตรา ๒

พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวัน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

มาตรา ๓

ในพระราชบัญญัตินี้ “การบริหารและพัฒนาการท่องเที่ยว” หมายความ ว่า การจัดสร้างและพัฒนาปรับปรุงแหล่ง ท่องเที่ยว การบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยว การ รักษาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยว การจัดกิจกรรมการ ท่องเที่ยว การพัฒนาบริการท่องเที่ยว การพัฒนา บุคลากรการท่องเที่ยว การสร้างและเผยแพร่องค์ ความรู้ทางการท่องเที่ยว การสร้างสินค้าทางการ ท่องเที่ยว การรักษาความปลอดภัยทางการ ท่องเที่ยว หรือการอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับแหล่ง ท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวหรืออุตสาหกรรมท่องเที่ยว ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมอันเป็นการ สนับสนุนให้เกิดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน “อุตสาหกรรมท่องเที่ยว” หมายความว่า อุตสาหกรรมท่องเที่ยวตามกฎหมายว่าด้วยการ ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย “ผู้ประกอบอุตสาหกรรมท่องเที่ยว” หมายความว่า ผู้ประกอบอุตสาหกรรมท่องเที่ยวตามกฎหมายว่า ด้วยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย “แหล่งท่องเที่ยว” หมายความรวมถึง แหล่ง ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ แหล่งท่องเที่ยวทาง ศิลปวัฒนธรรม แหล่งท่องเที่ยวทางโบราณสถาน และแหล่งท่องเที่ยวที่ได้มีการจัดสร้างขึ้น “หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น และมีฐานะเป็นกรม จังหวัด องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน หรือ หน่วยงานอื่นของรัฐที่มีการด าเนินงานเกี่ยวข้อง กับการบริหารและพัฒนาการท่องเที่ยว “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” หมายความว่า องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การ บริหารส่วนต าบล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมาย จัดตั้ง “จังหวัด” หมายความรวมถึง กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา “ผู้ว่าราชการจังหวัด” หมายความรวมถึง ผู้ว่า ราชการกรุงเทพมหานครและนายกเมืองพัทยา ส าหรับในเขตเมืองพัทยา “กองทุน” หมายความว่า กองทุนเพื่อส่งเสริมการ ท่องเที่ยวไทย “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ “คณะกรรมการบริหารกองทุน” หมายความว่า คณะกรรมการบริหารกองทุนเพื่อส่งเสริมการ ท่องเที่ยวไทย “ส านักงาน” หมายความว่า ส านักงาน ปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการ ตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๔

ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้และให้มีอ านาจ ออกกฎกระทรวงและปฏิบัติการตามที่บัญญัติไว้ ในพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจา นุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้

หมวด ๑ คณะกรรมการนโยบายการท่องเทยี่ ว แห่งชาติ

มาตรา ๕

ให้มีคณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ เรียกโดยย่อว่า “ท.ท.ช.” ประกอบด้วย นายกรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เป็นรองประธานกรรมการ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงคมนาคม รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ปลัดกระทรวง กลาโหม ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ปลัดกระทรวงพาณิชย์ ปลัดกระทรวงแรงงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวง สาธารณสุข เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ผู้อ านวยการส านัก งบประมาณ ผู้บัญชาการต ารวจแห่งชาติ นายก สมาคมองค์การบริหารส่วนจังหวัดแห่งประเทศ ไทย นายกสมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศ ไทย นายกสมาคมองค์การบริหารส่วนต าบลแห่ง ประเทศไทย ประธานสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว แห่งประเทศไทย และผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่ง นายกรัฐมนตรีแต่งตั้งไม่เกินเก้าคน เป็นกรรมการ ให้ปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาเป็น กรรมการและเลขานุการ และผู้อ านวยการ ส านักงานพัฒนาการท่องเที่ยว และผู้ว่าการการ ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยเป็นกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งนายกรัฐมนตรีแต่งตั้ง ตามวรรคหนึ่ง ให้แต่งตั้งจากผู้ซึ่งมีความ เชี่ยวชาญหรือประสบการณ์ด้านการท่องเที่ยว และอุตสาหกรรมท่องเที่ยว การตลาด การโรงแรม การบริหารธุรกิจ ศิลปวัฒนธรรม หรือการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยต้อง แต่งตั้งจากรายชื่อของผู้ซึ่งสภาอุตสาหกรรม ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยเสนอไม่น้อยกว่าสอง คนแต่ไม่เกินสี่คน

มาตรา ๖

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งนายกรัฐมนตรีแต่งตั้ง ต้องมีสัญชาติไทยและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้

(๑) เป็นบุคคลล้มละลาย

(๒) เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ ความสามารถ

(๓) เคยได้รับโทษจ าคุกโดยค าพิพากษาถึงที่สุด ให้จ าคุก เว้นแต่เป็นโทษส าหรับความผิดที่ได้ กระท าโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ

(๔) เป็นข้าราชการการเมือง ผู้ด ารงต าแหน่งทาง การเมือง กรรมการหรือผู้ด ารงต าแหน่งที่ รับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมือง ที่ปรึกษา พรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าที่พรรคการเมือง

(๕) เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจาก ราชการ องค์การหรือหน่วยงานของรัฐหรือเอกชน ฐานทุจริตต่อหน้าที่

มาตรา ๗

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งมี วาระการด ารงต าแหน่งคราวละสองปี ในกรณีที่กรรมการพ้นจากต าแหน่งตามวาระ แต่ ยังมิได้แต่งตั้งกรรมการใหม่ให้กรรมการนั้นปฏิบัติ หน้าที่ไปพลางก่อนจนกว่าจะได้แต่งตั้งกรรมการ ใหม่ กรรมการซึ่งพ้นจากต าแหน่งตามวาระอาจได้รับ แต่งตั้งอีกได้ แต่จะด ารงต าแหน่งติดต่อกันเกิน สองวาระไม่ได้

มาตรา ๘

นอกจากการพ้นจากต าแหน่งตามวาระ กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งพ้นจาก ต าแหน่ง เมื่อ

(๑) ตาย

(๒) ลาออก

(๓) นายกรัฐมนตรีให้ออก เพราะบกพร่องต่อ หน้าที่ มีความประพฤติเสื่อมเสีย หรือหย่อน ความสามารถ

(๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตาม มาตรา ๖

มาตรา ๙

ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งนายกรัฐมนตรี แต่งตั้งพ้นจากต าแหน่งก่อนวาระให้ นายกรัฐมนตรีแต่งตั้งผู้อื่นเป็นกรรมการแทนได้ และให้ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งให้ด ารงต าแหน่งแทนอยู่ใน ต าแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของผู้ซึ่งตนแทน ในกรณีที่มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ เพิ่มขึ้นในระหว่างที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่ง แต่งตั้งไว้แล้วยังมีวาระอยู่ในต าแหน่ง ให้ผู้ซึ่ง ได้รับแต่งตั้งให้เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพิ่ม ขึ้นอยู่ในต าแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับแต่งตั้งไว้แล้ว

มาตรา ๑๐

ให้คณะกรรมการมีอ านาจและหน้าที่ ดังต่อไปนี้

(๑) จัดท าและเสนอนโยบาย ยุทธศาสตร์ หรือ มาตรการเพื่อส่งเสริมการบริหารและพัฒนาการ ท่องเที่ยวต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติ

(๒) จัดท าแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติเสนอ ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติ

(๓) เสนอนโยบายและแนวทางการจัดท าความ ร่วมมือระหว่างประเทศเกี่ยวกับการท่องเที่ยวต่อ คณะรัฐมนตรี

(๔) ด าเนินการเพื่อให้มีการก าหนดเขตพัฒนาการ ท่องเที่ยว

(๕) พิจารณาให้ความเห็นชอบและก ากับดูแลการ ด าเนินการตามแผนปฏิบัติการพัฒนาการ ท่องเที่ยวภายในเขตพัฒนาการท่องเที่ยว

(๖) ก าหนดและจัดให้มีการรับรองมาตรฐาน เกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวหรืออุตสาหกรรม ท่องเที่ยว

(๗) อ านวยการ ติดตาม ประเมินผล และ ตรวจสอบการด าเนินงานของหน่วยงานของรัฐให้ เป็นไปตามแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ และ นโยบายหรือมาตรการเพื่อการส่งเสริมการบริหาร และพัฒนาการท่องเที่ยว

(๘) ก ากับการจัดการและบริหารกองทุน

(๙) ปฏิบัติการอื่นตามที่กฎหมายก าหนดให้เป็น อ านาจหน้าที่ของคณะกรรมการ หรือตามที่ คณะรัฐมนตรีมอบหมาย

มาตรา ๑๑

ให้มีการประชุมคณะกรรมการอย่างน้อยปีละสี่ ครั้ง เพื่อปรึกษาพิจารณาและด าเนินการตาม อ านาจหน้าที่ตามที่ก าหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้ การประชุมของคณะกรรมการต้องมีกรรมการมา ประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ านวนกรรมการ ทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม ในการประชุมคณะกรรมการ ถ้าประธานกรรมการ ไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้รอง ประธานกรรมการเป็นประธานในที่ประชุม ถ้า ประธานกรรมการหรือรองประธานกรรมการไม่มา ประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้กรรมการซึ่ง มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ ประชุม การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในที่ประชุมออก เสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด

มาตรา ๑๒

ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ คณะกรรมการมีอ านาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ เพื่อพิจารณาหรือด าเนินการตามที่คณะกรรมการ มอบหมายได้ ให้น าความในมาตรา ๑๑ มาใช้บังคับแก่การ ประชุมของคณะอนุกรรมการโดยอนุโลม

มาตรา ๑๓

ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ คณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการอาจเชิญ บุคคลใดมาให้ข้อเท็จจริง ความเห็น หรือ ค าแนะน าทางวิชาการได้เมื่อเห็นสมควร และอาจ ขอความร่วมมือจากบุคคลใดเพื่อให้ได้มาซึ่ง ข้อเท็จจริง หรือเพื่อส ารวจกิจกรรมใด ๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวได้

มาตรา ๑๔

ให้ส านักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ท าหน้าที่เป็นส านักงานเลขานุการของ คณะกรรมการ รับผิดชอบงานธุรการ งานประชุม การศึกษาข้อมูลและกิจการต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับงาน ของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ ดังต่อไปนี้

(๑) จัดท าและพัฒนานโยบายและแผนพัฒนาการ ท่องเที่ยวแห่งชาติรวมทั้งศึกษาปัญหาและ ประเมินผลกระทบที่จะเกิดเสนอต่อ คณะกรรมการ

(๒) เป็นศูนย์กลางประสานงานและสนับสนุนการ ปฏิบัติงานตามนโยบายและแผนพัฒนาการ ท่องเที่ยวแห่งชาติในทุกภาคส่วน

(๓) วิเคราะห์และเสนอแนะมาตรการเพื่อการ ผลักดันและสนับสนุนการน านโยบายและ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการพิจารณาเสนอแนะแนวทางและ วิธีการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคที่มีต่อการ ด าเนินงานตามนโยบายและแผนพัฒนาการ ท่องเที่ยวแห่งชาติต่อคณะกรรมการ

(๔) ศึกษา วิเคราะห์และพิจารณากลั่นกรอง แผนปฏิบัติการพัฒนาการท่องเที่ยวเสนอต่อ คณะกรรมการ

(๕) ส ารวจเก็บรวบรวมข้อมูล ติดตามความ เคลื่อนไหวของสถานการณ์ด้านการท่องเที่ยว วิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจการท่องเที่ยว แนวโน้ม การท่องเที่ยว รวมทั้งจัดท าและเผยแพร่สถิติการ ท่องเที่ยวของประเทศ

(๖) จัดหรือสนับสนุนให้มีการศึกษาวิจัยและ พัฒนาด้านการท่องเที่ยว

(๗) รายงานผลการติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติงานตามนโยบาย แผน และมาตรการที่ เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวเสนอต่อคณะกรรมการ

(๘) จัดท ารายงานสถานการณ์เกี่ยวกับการ ท่องเที่ยวและผลการด าเนินงานของ คณะกรรมการเสนอต่อคณะรัฐมนตรีอย่างน้อยปี ละหนึ่งครั้ง

(๙) เสนอแนะแนวทางการจัดสรรทรัพยากรเพื่อ สนับสนุนการบริหารและพัฒนาการท่องเที่ยวใน ทุกภาคส่วนให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพต่อ คณะกรรมการ

(๑๐) จัดท าและพัฒนากลไกและระบบการ ประสานงานด้านการท่องเที่ยว เพื่อเสริมสร้าง ประสิทธิภาพการบริหารจัดการการท่องเที่ยวของ ประเทศ ตลอดจนร่วมมือและประสานงานกับ หน่วยงานของรัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารและพัฒนาการท่องเที่ยวในการปฏิบัติงาน ตามพระราชบัญญัตินี้และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

(๑๑) พัฒนาให้ความรู้และทักษะด้านการ ท่องเที่ยวแก่บุคลากรในหน่วยงานของรัฐและผู้ที่ เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว

(๑๒) ปฏิบัติการอื่นตามที่คณะกรรมการ มอบหมาย

หมวด ๒ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ

มาตรา ๑๕

ให้คณะกรรมการด าเนินการจัดท าแผนพัฒนาการ ท่องเที่ยวแห่งชาติเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อ พิจารณาอนุมัติและประกาศในราชกิจจานุเบกษา แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติตามวรรคหนึ่ง ต้องก าหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการบริหารและ พัฒนาการท่องเที่ยว วิธีปฏิบัติและความร่วมมือ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งระยะเวลาในการ ด าเนินการให้ชัดเจน ในกรณีที่สภาวการณ์เปลี่ยนแปลงไปในระหว่างที่ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติใช้บังคับ คณะกรรมการอาจด าเนินการปรับปรุงให้ เหมาะสมกับสภาวการณ์นั้นได้โดยให้น าความใน วรรคหนึ่งมาใช้บังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๑๖

เมื่อได้มีการประกาศแผนพัฒนาการท่องเที่ยว แห่งชาติในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้หน่วยงาน ของรัฐมีหน้าที่ด าเนินการตามอ านาจหน้าที่เพื่อ ปฏิบัติการให้เป็นไปตามแผนพัฒนาการท่องเที่ยว แห่งชาติและเพื่อให้การด าเนินการเป็นไปโดย บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ก าหนด ให้ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬามีหน้าที่ให้ ค าแนะน าแก่หน่วยงานของรัฐเพื่อจัดท าแผนงาน หรือด าเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งตามแผนพัฒนา การท่องเที่ยวแห่งชาติ

หมวด ๓ แผนปฏิบัติการพัฒนาการท่องเทยี่ ว

มาตรา ๑๗

เพื่อประโยชน์ในการรักษา ฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยว หรือการบริหารและพัฒนาการท่องเที่ยวให้ สอดคล้องกับแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ คณะกรรมการอาจก าหนดให้เขตพื้นที่ใดเป็นเขต พัฒนาการท่องเที่ยวได้โดยพิจารณาร่วมกับ หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องและผู้ว่าราชการ จังหวัดในเขตพื้นที่ ทั้งนี้ให้มีการรับฟังความ คิดเห็นและความต้องการของชุมชนในพื้นที่เพื่อ ประกอบการพิจารณาด้วย เขตพัฒนาการท่องเที่ยวตามวรรคหนึ่งจะก าหนด เป็นกลุ่มจังหวัด จังหวัด หรือพื้นที่เฉพาะก็ได้โดย ให้ออกเป็นกฎกระทรวงระบุชื่อของเขตพัฒนาการ ท่องเที่ยวและในกรณีจ าเป็น ให้มีแผนที่สังเขป แสดงแนวเขตแนบท้ายกฎกระทรวงด้วย การเปลี่ยนแปลงแนวเขตหรือการเพิกถอนเขต พัฒนาการท่องเที่ยวให้ออกเป็นกฎกระทรวง

มาตรา ๑๘

เมื่อมีการออกกฎกระทรวงก าหนดเขตพัฒนาการ ท่องเที่ยวใดให้รัฐมนตรีแต่งตั้งคณะกรรมการ ประจ าเขตดังกล่าวขึ้นคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการพัฒนาการท่องเที่ยว” ประกอบด้วยผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้แทนหน่วยงาน ของรัฐที่เกี่ยวข้อง ผู้แทนองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ประธานหอการค้าจังหวัด ผู้แทนสภา อุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการท่องเที่ยวจ านวนไม่เกิน สามสิบคนในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกันเป็นกรรมการ โดยมีผู้แทนกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาเป็น กรรมการและเลขานุการ การแต่งตั้งและการประชุมคณะกรรมการ พัฒนาการท่องเที่ยวให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และ วิธีการที่คณะกรรมการประกาศก าหนด

มาตรา ๑๙

ให้คณะกรรมการพัฒนาการท่องเที่ยวด าเนินการ จัดท าแผนปฏิบัติการพัฒนาการท่องเที่ยวภายใน เขตพัฒนาการท่องเที่ยวของตน เสนอ คณะกรรมการเพื่อพิจารณาอนุมัติและประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา แผนปฏิบัติการพัฒนาการท่องเที่ยวตามวรรคหนึ่ง ต้องจัดท าให้สอดคล้องกับกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ ภายในเขตและแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ และอย่างน้อยต้องก าหนดรายละเอียดเกี่ยวกับ แผนงานในการบริหารและพัฒนาการท่องเที่ยว ภายในเขตของตน หน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบ รวมทั้งระยะเวลาในการด าเนินการ ทั้งนี้ตาม หลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการประกาศ ก าหนด

มาตรา ๒๐

เมื่อได้ประกาศแผนปฏิบัติการพัฒนาการ ท่องเที่ยวภายในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวใดใน ราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้หน่วยงานของรัฐที่อยู่ ภายในเขตด าเนินการบริหารและพัฒนาการ ท่องเที่ยวที่อยู่ในความรับผิดชอบของตนให้ สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการพัฒนาการท่องเที่ยว โดยกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาอาจพิจารณา ให้การสนับสนุนตามที่เห็นสมควรและให้ คณะกรรมการพัฒนาการท่องเที่ยวติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการด าเนินการดังกล่าว

มาตรา ๒๑

การใช้บังคับกฎหมายภายในเขตพัฒนาการ ท่องเที่ยวต้องสอดคล้องกับแผนปฏิบัติการ พัฒนาการท่องเที่ยว โดยให้คณะกรรมการ พัฒนาการท่องเที่ยวด าเนินการประสานงานให้ สอดคล้องกัน

หมวด ๔ กองทุนเพื่อส่งเสริมการท่องเทยี่ วไทย

มาตรา ๒๒

ให้จัดตั้งกองทุนขึ้นในส านักงานเรียกว่า “กองทุน เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวไทย” มีวัตถุประสงค์เพื่อ ใช้เป็นทุนหมุนเวียนในการพัฒนาการท่องเที่ยว การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันให้ อุตสาหกรรมท่องเที่ยว การพัฒนาทักษะด้านการ บริหาร การตลาด หรือการอนุรักษ์ทรัพยากร ท่องเที่ยวในชุมชน รวมถึงการดูแลรักษาคุณภาพ แหล่งท่องเที่ยว และการส่งเสริมสินค้าทางการ ท่องเที่ยวใหม่ๆในท้องถิ่น

มาตรา ๒๓

กองทุนประกอบด้วยเงินและทรัพย์สิน ดังต่อไปนี้

(๑) เงินและทรัพย์สินที่โอนมาจากกองทุนเพื่อ ส่งเสริมการท่องเที่ยวไทยตามมาตรา ๓๑

(๒) เงินอุดหนุนที่รัฐบาลจัดสรรให้

(๓) เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้มอบให้

(๔) ดอกผลหรือรายได้จากเงินหรือทรัพย์สินของ กองทุน

(๕) เงินและทรัพย์สินอื่นที่ตกเป็นของกองทุน เงินและทรัพย์สินตามวรรคหนึ่งให้ตกเป็นของ ส านักงานเพื่อใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ของ กองทุน โดยไม่ต้องน าส่งคลังเพื่อเป็นรายได้ของ แผ่นดิน

มาตรา ๒๔

เงินกองทุนให้ใช้จ่ายเพื่อกิจการ ดังต่อไปนี้

(๑) เป็นเงินอุดหนุนหรือเงินให้กู้ยืมแก่หน่วยงาน ของรัฐเพื่อน าไปใช้ด าเนินงานตามนโยบายหรือ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติรวมทั้ง แผนปฏิบัติการพัฒนาการท่องเที่ยว

(๒) เป็นค่าใช้จ่ายในการช่วยเหลือหรือสนับสนุน การท่องเที่ยว รวมทั้งเพื่อสนับสนุนการศึกษา การ ค้นคว้า การวิจัย การฝึกอบรม การประชุม การ ประชาสัมพันธ์และการเผยแพร่ข้อมูล

(๓) เป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารกองทุน

มาตรา ๒๕

ให้มีคณะกรรมการบริหารกองทุนคณะหนึ่ง ประกอบด้วย ปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและ กีฬาเป็นประธานกรรมการอธิบดีกรมบัญชีกลาง ผู้อ านวยการส านักงานพัฒนาการท่องเที่ยว อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ผู้ว่าการ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประธานสภา อุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และ ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งจ านวนไม่เกินเจ็ด คน เป็นกรรมการ ให้ปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาแต่งตั้ง ข้าราชการของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เป็นเลขานุการและผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งตาม วรรคหนึ่ง ให้แต่งตั้งจากผู้ซึ่งมีความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ด้านกฎหมาย เศรษฐกิจ การเงิน การคลัง หรืออุตสาหกรรมการท่องเที่ยว

มาตรา ๒๖ คณะกรรมการบริหารกองทุนมีอ านาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้

(๑) บริหารและควบคุมการปฏิบัติงานกองทุนให้ เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้

(๒) วางระเบียบก าหนดหลักเกณฑ์วิธีการ เงื่อนไขและล าดับความส าคัญในการใช้จ่าย เงินกองทุน ทั้งนี้โดยความเห็นชอบของ กระทรวงการคลัง

(๓) วางระเบียบเกี่ยวกับการบริหารงานกองทุน

(๔) พิจารณาจัดสรรเงินกองทุนเพื่อใช้จ่ายตาม กิจการที่ก าหนดไว้ในมาตรา ๒๔

(๕) ควบคุม ติดตามผล และประเมินผลการใช้ จ่ายเงินกองทุน

(๖) ปฏิบัติการอื่นตามที่รัฐมนตรีหรือ คณะกรรมการมอบหมาย

มาตรา ๒๗

ให้น าบทบัญญัติในมาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๑ และมาตรา ๑๒ มาใช้บังคับ แก่คณะกรรมการบริหารกองทุนโดยอนุโลม

มาตรา ๒๘

ให้กองทุนวางและถือไว้ซึ่งระบบการบัญชีตาม หลักสากล โดยให้มีการตรวจสอบบัญชีภายใน เป็นประจ า

มาตรา ๒๙

ให้ส านักงานการตรวจเงินแผ่นดินหรือผู้สอบบัญชี ที่ส านักงานการตรวจเงินแผ่นดินให้ความเห็นชอบ เป็นผู้สอบบัญชีของกองทุน ผู้สอบบัญชีต้องท ารายงานผลการสอบบัญชีเสนอ คณะกรรมการบริหารกองทุนภายในหนึ่งร้อยห้า สิบวันนับแต่วันสิ้นปีบัญชีและให้ส่งส าเนา รายงานดังกล่าวเสนอต่อคณะกรรมการและ รัฐมนตรีเพื่อทราบ

บทเฉพาะกาล

มาตรา ๓๐

ให้นายกรัฐมนตรีแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ของคณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ ภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้ บังคับ ในระหว่างที่ยังไม่มีการแต่งตั้งกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิตามวรรคหนึ่ง ให้คณะกรรมการ ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เป็นรองประธานกรรมการ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงคมนาคม รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ปลัดกระทรวง กลาโหม ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ปลัดกระทรวงพาณิชย์ปลัดกระทรวงแรงงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวง สาธารณสุขเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติผู้อ านวยการส านัก งบประมาณ ผู้บัญชาการต ารวจแห่งชาตินายก สมาคมองค์การบริหารส่วนจังหวัดแห่งประเทศ ไทย นายกสมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศ ไทย นายกสมาคมองค์การบริหารส่วนต าบลแห่ง ประเทศไทย และประธานสภาอุตสาหกรรม ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย เพื่อท าหน้าที่ตามที่ พระราชบัญญัตินี้บัญญัติให้เป็นอ านาจหน้าที่ของ คณะกรรมการไปพลางก่อน โดยให้ปลัดกระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬาเป็นกรรมการและ เลขานุการและผู้อ านวยการส านักงานพัฒนาการ ท่องเที่ยวและผู้ว่าการการท่องเที่ยวแห่งประเทศ ไทยเป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

มาตรา ๓๑

ภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้ บังคับ ให้โอนเงิน ทรัพย์สินและหนี้สินของกองทุน เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวไทยตามระเบียบกองทุน เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวไทยว่าด้วยการจัดการ เงินกองทุนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวไทย พ.ศ. ๒๕๔๘ มาเป็นเงินของกองทุนเพื่อส่งเสริมการ ท่องเที่ยวไทยตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๓๒

ให้รัฐมนตรีแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของคณะ กรรมการบริหารกองทุนภายในเก้าสิบวันนับแต่ วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ในระหว่างที่ยังไม่มีการแต่งตั้งกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิตามวรรคหนึ่ง ให้คณะกรรมการ บริหารกองทุนประกอบด้วยปลัดกระทรวงการ ท่องเที่ยวและกีฬาเป็นประธานกรรมการอธิบดี กรมบัญชีกลาง ผู้อ านวยการส านักงานพัฒนาการ ท่องเที่ยวอธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ผู้ว่าการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และ ประธานสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศ ไทย เพื่อท าหน้าที่ตามที่พระราชบัญญัตินี้บัญญัติ ให้เป็นอ านาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร กองทุนไปพลางก่อน ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรี

「2008년 국가관광정책법」

• 국 가 ‧ 지 역: 태국 • 제 정 일: 1994년 12월 9일 • 개 정 일: 2018년 11월 8일(일부개정「2018년 저작권법(제4권)」)

현 왕조의 63번째 해인 2008년(불기2551년) 1월 31일에 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서 하 사하시었다. 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서는 다음과 같이 공고하도록 하셨다. 국가관광정책에 관한 법률을 제정 하는 것이 타당하므로, 의회 자격으로 입법 의회의 자문 과 동의를 통하여 다음과 같이 이 법률을 제정한다.

제1조

이 법은 “2008년 국가관광정책 법”이라고 칭한다.

제2조

이 법은 관보에 게재한 이튿날부 터 시행한다.

제3조

이 법에서 사용하는 용어의 뜻은 다음과 같다. “관광 행정 및 개발”이란 관광지 조성 및 개발‧개선, 관광지 운영, 관광지 품질 유지, 관광 활동 마 련, 관광 서비스 개발, 관광 인력 개발, 관광 지식 구축 및 보급, 관광 상품 구성, 관광 안전 유지 또는 관광지, 관광객 또는 직접적 인 방법 또는 간접적인 방법에 상관없이, 영구적으로 관광 발생 을 지원하는 관광산업과 관련한 기타 업무를 뜻한다. “관광산업이란 태국의 관광에 관 한 법률에 의거한 관광산업을 뜻 한다. “관광산업사업자”란 태국의 관광 에 관한 법률에 의거한 관광사업 자를 뜻한다. “관광지”란 자연관광지를 포함한 예술문화관광지, 유적관광지 및 조성관광지를 뜻한다. “정부기관”이란 관광 행정 및 개 발과 관련한 업무를 수행하는 부 (部), 청(廳), 국(局) 또는 기타 명 칭으로 불리며, 행정관청 및 국, 도(道), 지방통치기관, 국영기업, 공공단체로서의 자격을 갖추었거 나, 정부의 기타 기관을 뜻한다. “지방자치기관”이란 도(짱왓)행정 기관, 시자치정부, 구(땀본)행정기 관, 방콕시, 팟타야시 및 설립법 이 있는 기타 지방자치기관을 뜻 한다. “도(짱왓)”라고 함은 방콕시와 팟 타야시를 포함하여 뜻한다. “도지사”란 방콕시장과 팟타야 지역의 팟타야시장을 포함하여 뜻한다. “기금”이란 태국 관광 지원을 위 한 기금을 뜻한다. “위원회”란 국가관광정책위원회 를 뜻한다. “기금관리위원회”란 태국 관광 지원을 위한 기금 관리위원회를 뜻한다. “사무처”란 관광체육부차관사무 처를 뜻한다. “장관”이란 이 법에 의거한 대리 권자인 장관을 뜻한다.

제4조

관광체육부장관이 이 법의 시행 을 주관하도록 하고, 부령을 제정 하고, 이 법의 규정에 따라 시행 할 권한을 갖도록 한다. 부령은 관보에 공고하였을 때 시 행하도록 한다.

제1장 국가관광정책위원회

제5조

총리를 위원장으로 하고, 관광체 육부장관을 부위원장으로 하며, 교통부장관, 천연자원환경부장관, 내무부장관, 문화부장관, 국방부 차관, 외무부차관, 상무부차관, 노동부차관, 교육부차관, 보건부 차관, 국가경제사회개발위원회 사 무총장, 예산국장, 경찰청장, 태 국도(짱왓)행정기관협회장, 태국 시자치정부연맹장, 태국구(땀본) 행정기관협회장, 태국관광산업위 원회장 및 총리가 임명한 9인 이 하의 권위자를 위원으로 구성하 는, “터터처1”라는 약칭으로 불리 는 국가관광정책위원회를 둔다. 관광체육부차관을 위원 및 간사 로 하고, 관광개발사무국장과 태 국관광청장을 위원 및 간사보로 한다. 첫번째 단락에 따른 총리가 임명 하는 권위자 위원은, 태국관광산 업위원회가 추천한 명단에서 2인 이상 4인 이하를 임명하여, 관광 및 관광산업, 마케팅, 호텔업, 경 영, 문화예술 또는 천연자원 및 환경 보호 분야의 전문가 또는 경력자 중에서 임명한다.

1 위원회의 태국어 명칭인 “카나깜마깐나요바이깐텅티여우행찻” 중 국가관광을 의미하는 텅티여우 행찻에서 첫 자음만 따온 발음이다.

제6조

총리가 임명한 권위자 위원은 태 국 국적자이어야 하며, 다음 각 항의 금지 유형에 해당하지 않아 야 한다.

(1) 파산자

(2) 금치산자 또는 한정치산자

(3) 과실에 의한 것 또는 경범죄 를 제외하고 징역형을 선고한 최 종심에 의해 수감된 사람

(4) 정무직 공무원, 정치적 지위 에 있는 사람, 정당 운영에 책임 을 지는 위원 또는 지위에 있는 사람, 정당 고문 또는 정당 관계 자

(5) 공직이나 정부 또는 민간 기 구 또는 기관에서 직무에 대한 부정 사유로 파면, 해임, 해직한 적이 있는 사람

제7조

총리가 임명한 권위자 위원의 임 기는 2년이다. 위원이 임기에 따라 면직하였으 나 아직 새로운 위원을 임명하지 않은 경우에는, 새로운 위원을 임 명할 때까지 해당 위원이 우선 직무를 수행하도록 한다. 임기에 따라 면직한 위원은 재임 명을 받을 수도 있다. 다만, 2회 를 초과하여 연임할 수 없다.

제8조

총리가 임명한 권위자 위원은, 임 기에 따른 면직 이외에 다음 각 항에 해당하는 때에 면직된다.

(1) 사망한 때

(2) 사직한 때

(3) 직무에 대한 과오나 비위를 저지르거나 능력이 결여된 때

(4) 자격 부족 또는 제6조의 금지 속성이 있는 때

제9조

총리가 임명한 권위자 위원이 임 기 만료 전 면직하는 경우, 총리 는 다른 사람을 위원으로 대신 임명할 수도 있으며, 대신 임명을 받은 사람은 대신하는 사람의 잔 여 임기 동안 재임하도록 한다. 기존에 임명된 권위자 위원의 임 기 동안 권위자 위원의 추가 임 명이 있는 경우 추가로 임명된 권위자 위원의 임기는 기존에 임 명된 권위자 위원의 잔여 임기와 같은 기간 동안 재임하도록 한다.

제10조

위원회에 다음 각 항의 권한과 임무를 부여한다.

(1) 관광 행정 및 개발 지원을 위 한 정책, 전략 또는 방법을 마련 하여 내각의 검토와 승인을 위하 여 제안한다.

(2) 국가관광개발 계획을 마련하 여 내각의 검토와 승인을 위하여 제안한다.

(3) 관광과 관련한 국제 협력 마 련 정책 및 노선을 내각에 제안 한다.

(4) 관광개발구역을 지정하도록 조치를 취한다.

(5) 관광개발구역 내 관광개발 실 행을 승인하고 관리하도록 검토 한다.

(6) 관광지 또는 관광산업과 관련 한 표준을 정하고 인증하도록 준 비한다.

(7) 정부기관의 업무 수행에 편의 를 제공하고, 모니터하고, 평가하 고, 심사하여 국가관광개발 계획 및 정책 또는 관광 행정 및 개발 지원을 위한 방법에 따르도록 한 다.

(8) 기금 마련 및 운영을 관리한 다.

(9) 위원회의 권한 및 임무로 정 한 법률 또는 내각이 위임한 기 타 업무를 수행한다.

제11조

이 법에 정한 권한과 임무에 따 른 검토 및 이행을 위하여 연간 최소 2회 이상 위원회 회의를 열 도록 한다. 위원회의 회의에 만약 위원장이 불참하거나 직무를 수행할 수 없 다면, 부위원장이 회의에서 의장 이 되도록 한다. 만약 위원장 또 는 부위원장이 회의에 불참하거 나 직무를 수행할 수 없다면, 회 의에 참석한 위원이 위원 1인을 회의의 의장으로 선출하도록 한 다. 다수결의 원칙에 따라 의결하도 록 한다. 위원 1인은 1개의 표결 권을 갖도록 한다. 만약 찬반이 동률이라면, 1개의 표결권을 추가 로 갖도록 한다.

제12조

이 법에 따른 직무를 수행하는데 있어서 위원회는 위원회가 위임 한 바에 따른 검토 및 이행을 위 하여 소위원회를 임명할 수 있다. 제11조를 소위원회의 회의에 준 용하도록 한다.

제13조

이 법에 따라 집행하는데 있어서 위원회 또는 소위원회는 타당하 다고 판단하는 때에는 어떤 사람 에게 진술, 의견, 학술적인 잡문 을 청할 수도 있으며, 또한, 관광 과 관련한 업무에 대한 진술 또 는 조사를 위하여 어떠한 사람의 협조를 구할 수도 있다.

제14조

관광체육부차관사무처가 위원회 사무국으로서 행정 사무, 회의 업 무, 자료 연구 및 위원회 및 소위 원회와 관련한 다음 각 항에 해 당하는 직무를 수행하도록 한다.

(1) 발생할 문제 연구와 영향 평 가를 포함하는 국가 관광 개발 정책 및 계획을 수립하고 개발하 여 위원회에 제출한다.

(2) 전 부문에서 국가 관광 개발 정책 및 계획에 의거한 업무를 조정하고 수행하는 중심 역할을 한다.

(3) 국가 관광 개발 정책 및 계획 에 따른 업무를 수행하는 데 발 생하는 문제 및 장애를 해결하는 노선 및 방법을 검토하여 제안하 는 것에 이르기까지, 국가 관광 개발 정책 및 계획을 선도하여 시행에 이르도록 추진하고 지원 하기 위한 방법을 분석하여 위원 회에 조언한다.

(4) 관광 개발 실행 계획을 연구, 분석 및 심사하여 위원회에 제출 한다.

(5) 나라의 관광 통계 구축 및 보 급을 포함한 자료를 조사, 수집하 고, 관광 분야의 추이를 모니터링 하며, 관광 경제 상황 및 관광 경 향을 분석한다.

(6) 관광 분야의 연구, 분석 및 개발을 마련하고 지원한다.

(7) 관광 관련 정책과 계획 및 방 법에 따른 업무 수행 평가에 따 른 모니터링 결과 보고서를 위원 회에 제출한다.

(8) 관광 관련 상황 및 위원회의 업무 수행 결과 보고서를 준비하 여 연간 최소 1회 이상 내각에 제출한다.

(9) 모든 부문에서의 관광 운영 및 개발을 효율적으로 지원하기 위한 자원 배분 방향을 위원회에 제안한다.

(10) 이 법 및 기타 관련 법률에 따라 업무를 수행하는 데 있어서, 운영 및 개발 관련 정부 기관과 민간의 협력 및 업무 조율에 이 르기까지, 나라의 관광 운영 효율 성을 강화하기 위하여 관광 부문 의 업무 조정 전략 및 시스템을 구축하고 개발한다.

(11) 정부기관 담당자와 관광산업 관련자의 관광 부문 지식 및 기 술을 개발한다.

(12) 위원회가 위임한 기타 업무 를 수행한다.

제2장 국가 관광 개발 계획

제15조

위원회가 국가 관광 개발 계획 수립을 추진하여, 내각이 검토, 승인하고 관보에 공고하도록 제 출한다. 첫번째 단락에 따른 국가 관광 개발 계획은, 시행 기간을 포함하 여, 관광 운영 및 개발, 시행 방 법 및 관련기관의 협력에 관한 상세 사항을 명확히 규정하여야 한다. 국가 관광 계획이 시행되고 있 는 동안 상황이 바뀌는 경우, 위 원회는 첫번째 단락의 내용을 준 용하여, 해당 상황에 적합하도록 조정하는 조치를 취할 수도 있다.

제16조

관보에 국가 관광 개발 계획 공 고를 완료하였을 때에는, 정부기 관은 국가 관광 개발 계획에 따 라 조치를 취하고, 설정한 목적과 목표에 따른 조치를 취하기 위하 여 권한에 따라 시행할 의무가 있으며, 관광체육부는 관광 개발 계획에 따른 프로젝트 구축 또는 어떠한 시행을 위하여 정부기관 에 조언할 의무가 있다.

제3장 관광 개발 시행 계획

제17조

위원회는, 관광지 보호, 회복 또 는 관광 운영 및 개발이 국가 관 광 개발 계획과 부합하도록 하는 데 유용하도록, 관련 정부 기관 및 해당 구역이 속한 도지사와 함께 검토하여, 어떠한 구역을 관 광 개발 구역으로 지정할 수도 있다. 이와 관련하여 지역사회의 의견 및 요구를 수렴하여 함께 검토하도록 한다. 첫번째 단락에 따른 관광개발구 역은, 관광 개발 구역의 이름을 명시한 부령을 제정하여 도(道)그 룹(짱왓그룹 )이나 도(짱왓) 또는 특정 구역을 지정할 수도 있으며, 필요한 경우에는 경계선을 표시 하는 약도를 부령의 마지막 부분 에 첨부하도록 한다. 경계선의 변경 또는 관광개발구 역의 취소는 부령으로 제정하도 록 한다.

제18조

관광 개발 구역을 지정하는 부령 을 제정한 때에는, 장관이, 관광 체육부 대리인을 위원 및 간사로 하여, 도(짱왓)지사, 관련 정부기 관 대리인, 도(짱왓)상공회의소 회장, 태국관광산업위원회 대리인 및 권위자를, 각각 비슷한 비율로 30인 이내의 위원으로 하여 구성 된 “관광개발위원회”를 임명하도 록 한다. 관광개발위원회의 임명 및 회의 는 부령에서 정한 원칙과 방법을 따르도록 한다.

제19조

관광개발위원회는 자신의 관광 개발 구역 내의 관광 개발 시행 계획을 작성하여 위원회가 승인 을 검토하고 관보에 공고하도록 제출한다. 첫번째 단락에 따른 관광 개발 이행 계획은 지역 내에서 적용되 는 법률 및 국가관광개발계획에 부합하도록 작성하고, 실행 기간 을 포함하여, 최소한 자신의 지역 내 관광 운영 및 개발 프로젝트 관련 상세 사항, 책임 기관을 규 정하여야 한다. 이와 관련하여 위 원회가 공고한 원칙과 방법을 따 른다.

제20조

관광 개발 구역 내의 관광개발 실행 계획을 관보에 공고한 때에 는, 관광체육부가 타당하다고 판 단하는 바에 따라 지원 제공을 검토하도록 하여, 지역 내에 있는 정부 기관이, 관광 개발 계획에 부합하도록, 자신의 책임하에 있 는 관광 운영 및 개발을 수행하 도록 하고, 관광개발위원회가 해 당 수행을 모니터링과 조사 및 평가하도록 한다.

제21조

관광개발위원회가 업무 조정이 부합되도록 조치하여 관광 개발 구역 내에서의 법률 적용이 관광 개발 계획에 부합하게 한다.

제4장 태국 관광 진흥을 위한 기금

제22조

사무처에, 관광지의 품질 보호와 지방의 새로운 관광 상품 지원을 포함하는 관광 개발, 관광산업의 경쟁력 구축, 운영 기술 개발, 시 장 또는 공동체의 관광 자원 보 호에 유동 자금으로 사용하기 위 한 목적을 가진 “태국관광지원을 위한 기금”이라는 명칭의 기금을 설치한다.

제23조

기금은 다음 각 항의 자금과 자 산으로 구성된다.

(1) 제31조에 의거하여 태국관광 지원을 위한 기금에서 양도된 자 금 및 자산

(2) 정부가 배분한 보조금

(3) 증여 받은 자금 또는 자산

(4) 기금의 자금 또는 자산에서 발생한 이윤과 소득

(5) 기금이 된 기타 자금 및 자산 첫번째 단락에 따른 자금 및 자 산은 국가의 수입이 되도록 국고 에 인도할 필요 없이, 기금의 목 적에 따른 이익이 되도록 사용하 기 위하여 사무처의 소유가 되도 록 한다.

제24조

기금은 다음 각 항에 해당하는 업무에 사용하도록 한다.

(1) 관광 개발 시행 계획을 포함 한, 국가 관광 개발 정책 또는 계 획에 따른 업무 실행에 사용하기 위하여 정부 기관에 보조하거나 대출하는 자금

(2) 교육, 조사, 연구, 훈련, 회의, 홍보활동 및 자료 보급을 지원하 기 위한 것을 포함한 관광 원조 또는 지원에 사용되는 비용

(3) 기금을 운영하는 데 사용되는 비용

제25조

관광체육부 차관을 위원장으로 하고, 중앙 회계국장, 관광개발사 무국장, 지방자치지원국장, 태국 관광청장, 태국관광산업위원회장 및 장관이 임명한 7인이하의 권 위자를 위원으로 구성하는 하나 의 기금운영위원회를 둔다. 관광체육부 차관이 관광체육부 공무원을 간사 및 간사보로 임명 하도록 한다. 첫번째 단락에 따라 장관이 임명 하는 권위자 위원은 법률, 경제, 재정 또는 관광산업 분야의 전문 가 또는 경력자 중에서 임명하도 록 한다.

제26조

기금운영위원회는 다음 각 항의 권한과 임무가 있다.

(1) 이 법에 따라 기금 업무 수행 을 운영하고 관리한다.

(2) 기금을 사용하는 원칙과 방법 및 중요도를 정하는 규칙을 제정 한다.

(3) 기금 업무 운영에 관한 규칙 을 제정한다.

(4) 제24조에 정한 업무에 의거하 여 사용하기 위한 기금 배분을 검토한다.

(5) 기금 사용 결과를 관리, 모니 터링하고 평가한다.

(6) 장관 또는 위원회가 위임한 기타 임무를 수행한다.

제27조

제6조, 제7조, 제8조, 제9조, 제 11조 및 제 12조의 규정을 기금 운영위원회에 준용한다.

제28조

정기적으로 기금에 대한 내부 회 계 감사가 있도록 하여, 보편적 원리에 따른 회계 업무 제도를 설정하고 고수한다.

제29조

국고감사사무처 또는 국고감사사 무처의 회계감사역이 기금의 회 계감사역으로서 승인하도록 한다. 회계감사역은 회계감사 결과 보 고서를 작성하여 회계연도가 끝 나는 날부터 150일 이내에 기금 운영운영위원회에 제출하고, 해당 보고서의 사본을 위원회 및 장관 이 인지하도록 제출한다.

경과규정

제30조

이 법률이 시행되는 날부터 90일 이내에, 총리가 국가관광정책위원 회의 권위자 위원을 임명하도록 한다. 첫번째 단락에 의거한 권위자 위 원 임명 전 기간 동안에는, 이 법 에서 위원회의 권한과 임무로 규 정한 임무를 우선 수행하기 위하 여, 총리를 위원장으로 하고, 체 육관광부장관을 부위원장으로 하 며, 교통부장관, 천연자원환경부 장관, 내무부장관, 문화부장관, 국방부차관, 외무부차관, 상무부 차관, 노동부차관, 교육부차관, 보건부차관, 국가경제사회개발위 원회 사무총장, 예산국장, 경찰청 장, 태국도(짱왓)행정기관협회장, 태국시자치정부연맹장, 태국구(땀 본)행정기관협회장, 태국관광산업 위원회장으로 구성된 위원회가, 관광체육부차관을 위원 및 간사 로 하고, 관광개발사무국장과 태 국관광청장을 위원 및 간사보로 하여 위원회를 구성하도록 한다.

제31조

이 법이 시행된 날부터 90일 이 내에, 2005년 태국 관광 지원을 위한 기금 처리에 관한 태국 관 광 지원을 위한 기금 규칙에 따 른 태국 관광 지원을 위한 기금 의 자금과 자산 및 부채를 이양 하도록 한다.

제32조

이 법이 시행되는 날부터 90일 이내에, 장관이 기금 운영 위원회 의 권위자 위원을 임명하도록 한 다. 첫번째 단락에 의거한 위원 임명 전의 기간 동안에는, 이 법에서 위원회의 권한과 임무로 규정한 임무를 우선 수행하기 위하여, 체 육관광부장관을 위원장으로 하고, 중앙 회계국장, 관광개발사무국 장, 지방자치지원국장, 태국관광 청장, 태국관광산업위원회장 구성 된 위원회를 구성하도록 한다. 부서 대장 쑤라윳 쭐라논 총리