로고

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. เป็นปีที่ ๖๐ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ให้ประกาศว่า

ให้ไว้ ณ วันที่ ๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๘

โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน

มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน

พ.ศ. ๒๕๔๘”

มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา

นุเบกษาเป็นต้นไป

มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้

“วิสาหกิจชุมชน” หมายความว่า กิจการของชุมชนเกี่ยวกับการผลิตสินค้า การให้บริการ หรือการอื่น ๆ ที่ดำเนินการโดยคนหรือบุคคลที่มีความผูกพัน มีส่วนร่วมและรวมตัวกันประกอบ กิจการดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นนิติบุคคลในรูปแบบใดหรือไม่เป็นนิติบุคคล เพื่อสร้างรายได้และแก้การ พึ่งพาตนเองของครอบครัว ชุมชนและประเทศชุมชน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการประกาศ กำหนด “เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน” หมายความว่า คณะบุคคลที่รวมตัวกันโดยมี วัตถุประสงค์ในการจัดทำกิจกรรมของชุมชนอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อประโยชน์ในการดำเนินงานของวิสาหกิจ ชุมชนในเครือข่ายนั้น “กิจการวิสาหกิจชุมชน” หมายความว่า กิจการของวิสาหกิจชุมชนหรือเครือข่าย วิสาหกิจชุมชน “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน “กรรมการ” หมายความว่า กรรมการในคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน * ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๒/ตอนที่ ๖ ก/หน้า ๙/๖ มกราคม ๒๕๔๘ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา “คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจังหวัด” หมายความว่า คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนกรุงเทพมหานครหรือคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจังหวัด แล้วแต่กรณี “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

หมวด ๑ วิสาหกิจชุมชน

มาตรา ๕ วิสาหกิจชุมชนใดที่ประสงค์จะขอรับการส่งเสริมตามพระราชบัญญัตินี้ต้องยื่นคำขอต่อทะเบียนต่อกรมส่งเสริมการเกษตรตามระเบียบที่คณะกรรมการประกาศกำหนด

มาตรา ๖ เมื่อกรมส่งเสริมการเกษตรได้รับคำขอต่อทะเบียนและเห็นว่าวิสาหกิจชุมชนนั้นมีลักษณะเข้าข่ายเป็นวิสาหกิจชุมชนและจัดรูประเบียบกิจการตามที่คณะกรรมการประกาศกำหนด ให้กรมส่งเสริมการเกษตรรับจดทะเบียนและออกใบสำคัญแสดงการจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชนนั้น

มาตรา ๗ การจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชนต้องมีรายการ ดังต่อไปนี้ (๑) ชื่อและที่อยู่ของวิสาหกิจชุมชน (๒) ชื่อและที่อยู่ของสมาชิกวิสาหกิจชุมชน (๓) กิจการที่วิสาหกิจชุมชนมีความประสงค์จะดำเนินการ

มาตรา ๘ ภายในสามสิบวันนับแต่วันสิ้นปีปฏิทินให้วิสาหกิจชุมชนที่ได้จดทะเบียนต่อกรมส่งเสริมการเกษตรมีหนังสือแจ้งประสงค์ดำเนินการต่อไปยังให้กรมส่งเสริมการเกษตรทราบ ตามวิธีการที่คณะกรรมการกำหนด

วิสาหกิจชุมชนใดไม่แจ้งความประสงค์ดำเนินการภายในเวลาสามสิบวันดังกล่าว ให้กรมส่งเสริมการเกษตรมีหนังสือแจ้งเตือนให้วิสาหกิจชุมชนนั้นแจ้งความประสงค์ดำเนินการภายในเวลาสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือเตือนดังกล่าว ถ้าไม่แจ้งความประสงค์ดำเนินการดังกล่าว ให้กรมส่งเสริมการเกษตรมีชื่อออกจากทะเบียน วิสาหกิจชุมชนใดประสงค์จะเลิกดำเนินการ ให้แจ้งต่อกรมส่งเสริมการเกษตรทราบภายในสามสิบวันนับแต่วันที่เลิกกิจการ ตามวิธีการที่คณะกรรมการกำหนด

หมวด ๒ เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน

มาตรา 9 ให้บาบบัญญัติในหมวด 1 มาใช้บังคับแก่การจดทะเบียนจัดตั้ง การแจ้งดำเนินกิจการ และการเลือกกรรมการเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนโดยอนุโลม ให้เครือข่ายวิสาหกิจชุมชนที่จดทะเบียนต่อกรมส่งเสริมการเกษตรแล้วมีสิทธิ์ขอรับการส่งเสริมตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา 10 การบริหารกิจการของเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนให้เป็นไปตามข้อบังคับของเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนนั้น ข้อบังคับตามวรรคหนึ่งอย่างน้อยจะต้องกำหนดให้การดำเนินการของเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนเป็นไปตามความสมัครใจโดยจะเป็นนิติบุคคลหรือไม่เป็นนิติบุคคลก็ได้

มาตรา 11 เครือข่ายวิสาหกิจชุมชนอาจดำเนินการดังต่อไปนี้ได้ (1) ให้คำนะแนะและช่วยเหลือกิจการภายในของวิสาหกิจชุมชนในเครือข่าย ดังต่อไปนี้ (ก) ให้ความช่วยเหลือในการจัดตั้งหรือการศึกษาวิธีเกี่ยวกับการจัดวัตถุดิบ หรือการ หรือภูมิปัญญาของชุมชนมาใช้เพิ่มมูลค่าสินค้าของวิสาหกิจชุมชนและการพึ่งพาตนเอง (ข) ให้ความรู้ การฝึกอบรม หรือความช่วยเหลือในการปรับปรุงหรือพัฒนาการผลิต การให้บริการ การบริหาร การจัดการ การตลาด อื่นที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินงานของวิสาหกิจชุมชนในเครือข่าย (ค) ให้คำแนะนำและช่วยเหลือทางวิชาการใด ๆ เพื่อให้เกิดความก้าวหน้าของวิสาหกิจชุมชนในเครือข่ายในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และระดับระหว่างประเทศ (2) เป็นศูนย์กลางในการติดต่อกับส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรมหาชน หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ รวมทั้งองค์กรภาคเอกชน เพื่อขอรับความช่วยเหลือและการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนในเครือข่าย (3) ประสานงานกับเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนหรือวิสาหกิจชุมชนอื่นเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้หรือดำเนินกิจกรรมอื่นอันเป็นประโยชน์ร่วมกันเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานของวิสาหกิจชุมชนในเครือข่าย (4) เป็นศูนย์กลางในการส่งเสริมความสามัคคีและการช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน และความร่วมมือทางวิชาการ เพื่อให้วิสาหกิจชุมชนมีความเข้มแข็งและมีประสิทธิภาพในการดำเนินงานเป็นไปตามคุณภาพมาตรฐานที่เหมาะสม การบริหารจัดการ และการพึ่งพาตนเอง (5) เสนอความเห็นต่อคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนเกี่ยวกับการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนต่อส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรมหาชน หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ

หมวด 3 คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน

มาตรา 12 ให้มีคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนประกอบด้วย

(ก)

นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็นประธานกรรมการ

(ข)

กรรมการจากส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับวิสาหกิจชุมชน ได้แก่ รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร อธิบดีกรมพัฒนาชุมชน อธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการค้า อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม อธิบดีกรมการปกครอง ผู้อำนวยการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ ผู้อำนวยการสำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ และผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

(ค)

กรรมการผู้แทนวิสาหกิจชุมชน จำนวนสิบคน ซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจากบุคคลที่ได้รับการสรรหาจากผู้ดำเนินกิจการวิสาหกิจชุมชนและเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน

(ง)

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวนห้าคน ซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจากบุคคลซึ่งมีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ในด้านการบริหารธุรกิจการค้า ด้านการเงินการบัญชี และด้านการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร

(จ)

ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนเป็นกรรมการและเลขานุการ และผู้แทนสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน และผู้แทนสำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ

มาตรา 13 คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้

(ก)

เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบาย มาตรการและแผนการพัฒนาและส่งเสริมกิจการวิสาหกิจชุมชน

(ข)

ประสานงานกับหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และกองทุนที่เกี่ยวข้องกับกิจการวิสาหกิจชุมชน เพื่อให้การส่งเสริมกิจการวิสาหกิจชุมชนเป็นไปอย่างมีเอกภาพและมีประสิทธิภาพ

(ค)

ให้ความช่วยเหลือ การสนับสนุน หรือให้คำแนะนำแก่วิสาหกิจชุมชนและเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนในการดำเนินงานให้ประสบผลสำเร็จ

(ง)

ให้การส่งเสริมสนับสนุนการขอจดทะเบียนลิขสิทธิ์ เครื่องหมายการค้า หรือทรัพย์สินทางปัญญาอื่น หรือการใด ๆ เพื่อประโยชน์ของกิจการวิสาหกิจชุมชน

(จ)

สนับสนุนการศึกษาวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการดำเนินงานกิจการวิสาหกิจชุมชน *มาตรา 12 (2) แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 *มาตรา 13 วรรคสอง แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 *มาตรา 13 (2) แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - 5 - (8) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่พระราชบัญญัติหรือกฎหมายอื่นบัญญัติให้เป็นอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ หรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย

มาตรา 14 กรรมการตามมาตรา 12 (3) และ (4) ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้

(1) มีสัญชาติไทย (2) ไม่เป็นข้าราชการการเมืองที่มีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำ (3) ไม่เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์การมหาชน

ส่วนท้องถิ่น

(4) ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออกหรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ เพราะทุจริตต่อหน้าที่ หรือถือว่ากระทำการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ (5) ไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น กรรมการ ที่ปรึกษา หรือผู้ดำรงตำแหน่งอื่นในกรรมการบริหารพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าที่ของพรรคการเมือง เว้นแต่กรณีสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น ไม่ถือว่าเป็นลักษณะต้องห้ามเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา 12 (4) (6) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย (7) ไม่เคยต้องคำพิพากษาให้จำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกโดยมิใช่ความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (8) ถูกถอดถอนจากตำแหน่งตามมาตรา 14

มาตรา 15 กรรมการตามมาตรา 12 (3) และ (4) มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 4 ปี ในกรณีที่กรรมการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ แต่ยังมิได้แต่งตั้งกรรมการใหม่ ให้กรรมการนั้นปฏิบัติหน้าที่ไปพลางก่อนจนกว่าจะได้แต่งตั้งกรรมการใหม่ กรรมการซึ่งพ้นจากตำแหน่งตามวาระ อาจได้รับแต่งตั้งอีกได้

มาตรา 16 ความเป็นกรรมการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ กรรมการตามมาตรา 12 (3) และ (4) พ้นจากตำแหน่ง เมื่อ

(1) ตาย (2) ลาออก (3) คณะรัฐมนตรีให้ออก เพราะบกพร่องต่อหน้าที่ มีความประพฤติเสื่อมเสีย หรือหย่อนความสามารถ (4) ต้องคำพิพากษาให้จำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกโดยมิใช่ความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ เช่น แต่ในความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (5) ถูกถอดถอนจากตำแหน่งตามมาตรา 14

มาตรา 17 ในกรณีที่กรรมการตามมาตรา 12 (3) และ (4) พ้นจากตำแหน่งก่อนวาระ ให้คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งผู้ซึ่งมีคุณสมบัติตามตำแหน่ง และให้ได้รับแต่งตั้งอยู่ในตำแหน่งเท่ากับวาระ

ที่เหลืออยู่ของผู้ซึ่งขาดแทน เว้นแต่กรณีของกรรมการที่เหลืออยู่ไม่ถึงกึ่งหนึ่งกลับจะไม่ดำเนินการเพื่อให้มีการแต่งตั้งกรรมการแทนก็ได้

มาตรา ๑๔ การประชุมของคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม

ให้ประธานกรรมการเป็นประธานในที่ประชุม ในกรณีที่ประธานกรรมการไม่อยู่ในที่ประชุม หรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้กรรมการที่ที่ประชุมเลือกจากกรรมการที่มาประชุมเป็นประธานในที่ประชุมแทน การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งมีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียงเป็นเสียงชี้ขาด

มาตรา ๑๕ คณะกรรมการจะแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดแทนคณะกรรมการหรือตามที่คณะกรรมการมอบหมายได้ และให้มาตรา ๑๔ มาใช้บังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๑๖ ให้คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจังหวัดทุกจังหวัด ดังต่อไปนี้

(ก)

ในกรุงเทพมหานคร ให้แต่งตั้งคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครหรือผู้ซึ่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมอบหมายเป็นประธานกรรมการ ปลัดกรุงเทพมหานครหรือรองปลัดกรุงเทพมหานครที่ได้รับมอบหมาย ผู้อำนวยการเขตที่ได้รับมอบหมายจากผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม หรือผู้แทน ผู้แทนส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในกรุงเทพมหานครตามระเบียบที่รัฐมนตรีกำหนด และผู้ทรงคุณวุฒิจำนวนสมาสมาชิกผู้ประกอบการกรุงเทพมหานครแต่งตั้งจากบุคคลซึ่งมีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ในด้านการบริหารธุรกิจหนึ่งคน ด้านการเงินหนึ่งคน และด้านการพัฒนาชุมชนหนึ่งคน ในกรุงเทพมหานครเป็นกรรมการ และแต่งตั้งกรุงเทพมหานคร เป็นกรรมการและเลขานุการ

(ข)

ในจังหวัดอื่น ให้แต่งตั้งคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนระดับจังหวัด ประกอบด้วยผู้ว่าราชการจังหวัดหรือรองผู้ว่าราชการจังหวัดที่ผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมายเป็นประธานกรรมการ ปลัดจังหวัดหรือรองปลัดจังหวัดที่ได้รับมอบหมาย อุตสาหกรรมจังหวัด ผู้แทนธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรที่ตั้งอยู่ในจังหวัดนั้นหนึ่งคน ผู้แทนธนาคารออมสินที่มีสาขาตั้งอยู่ในจังหวัดนั้นหนึ่งคน ผู้แทนส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในจังหวัดนั้นตามระเบียบที่รัฐมนตรีกำหนด และผู้ทรงคุณวุฒิจำนวนสมาสมาชิกผู้ประกอบการจังหวัดแต่งตั้งจากบุคคลซึ่งมีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ในด้านการบริหารธุรกิจหนึ่งคน ด้านการเงินหนึ่งคน และด้านการพัฒนาชุมชนหนึ่งคน ในจังหวัดนั้นเป็นกรรมการ และแต่งตั้งพัฒนาการจังหวัดเป็นกรรมการและเลขานุการ

มาตรา ๒๐ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ประสบการณ์ในด้านการบริหารธุรกิจด้านหนึ่งคน ด้านการเงินด้านหนึ่งคน และด้านการค้าและอุตสาหกรรมหนึ่งคน ในจังหวัดนั้น เป็นกรรมการและเลขานุการจังหวัด เป็นกรรมการและเลขานุการ

มาตรา 23 คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจังหวัดมีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้

(1) เสนอความเห็นต่อคณะกรรมการเกี่ยวกับนโยบาย มาตรการ และแผนการพัฒนาและส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนในจังหวัด (2) ประสานงานกับหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนในจังหวัดเพื่อให้การส่งเสริมกิจการวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดตามแผนการหรือเป้าหมายดังกล่าวข้างต้นมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล (3) ให้การส่งเสริมและช่วยเหลือในการจดทะเบียนสิทธิชุมชน เครื่องหมายการค้า หรือทรัพย์สินทางปัญญาอื่น หรือการใด ๆ เพื่อประโยชน์ของกิจการวิสาหกิจชุมชนในกรุงเทพมหานครหรือในจังหวัด แล้วแต่กรณี (4) พิจารณาเสนอแนะต่อคณะกรรมการเกี่ยวกับการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 4 (5) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นบัญญัติให้เป็นอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจังหวัด หรือคณะกรรมการมอบหมาย การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตาม (1) (2) (3) (4) หรือ (5) ของคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจังหวัดต้องไม่ขัดหรือแย้งกับนโยบาย มาตรการ หรือแผนการพัฒนาและส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนที่คณะกรรมการกำหนดหรือคณะรัฐมนตรีอนุมัติ

มาตรา 24 ให้มีกรรมการผู้แทนองค์กรวิสาหกิจชุมชนในคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจังหวัดซึ่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครหรือผู้ว่าราชการจังหวัด แล้วแต่กรณี แต่งตั้งโดยอยู่ในสัดส่วนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของกรรมการทั้งหมดตามมาตรา 16 (3) ให้พ้นจากตำแหน่งเมื่อผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครหรือผู้ว่าราชการจังหวัด แล้วแต่กรณี ให้ออก ให้พ้นจากตำแหน่งในมาตรา 9 และมาตรา 9/1 ใช้บังคับแก่กรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจังหวัดโดยอนุโลม

มาตรา 25 ให้กรรมการ อนุกรรมการ กรรมการตามมาตรา 20 และกรรมการตามมาตรา 24 ได้รับเบี้ยประชุม ค่าเดินทาง ค่าที่พัก และค่าใช้จ่ายอย่างอื่นในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนด

มาตรา 26 ให้กรมส่งเสริมการเกษตรทำหน้าที่เป็นสำนักงานเลขาธิการของคณะกรรมการ โดยมีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้

(1) รับผิดชอบงานธุรการ งานประชุม และกิจการต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับงานของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ

มาตรา 26/1 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - 8 -

(ข)

จัดทำแผนการพัฒนาและส่งเสริมกิจการวิสาหกิจชุมชนเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการ

(ค)

ประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และกองทุนที่เกี่ยวข้องกับกิจการวิสาหกิจชุมชน เพื่อให้การส่งเสริมกิจการวิสาหกิจชุมชนเป็นไปอย่างมีเอกภาพและมีประสิทธิภาพ

(ง)

จัดให้มีการอบรมและให้ความรู้แก่สมาชิกชุมชนเกี่ยวกับการประกอบการ การนำจัดการทรัพยากร หรือภูมิปัญญาของชุมชนมาใช้ให้เหมาะสมกับการดำเนินชุมชนอื่น ๆ รวมทั้งให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการผลิตและการบริหารจัดการธุรกิจทุกด้านซึ่งในวิสาหกิจชุมชน ไม่ว่าจะเป็นการงานบุคคล การบัญชี การลงทุน หรือการตลาด

(จ)

ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการมอบหมาย ให้สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนทำหน้าที่เป็นเลขานุการของกรรมการที่เกี่ยวกับงานของคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจังหวัด

หมวด 4

การส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน

มาตรา 25 วิสาหกิจชุมชนหรือเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนที่ขอรับการส่งเสริมการเกษตรแล้วสามารถขอรับการส่งเสริมหรือสนับสนุนจากคณะกรรมการได้ ตามวิธีการที่คณะกรรมการกำหนด

มาตรา 26 ให้คณะกรรมการจัดให้มีมาตรการในการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนากิจการวิสาหกิจชุมชนรวมถึงผู้มีส่วนในการประกอบกิจการวิสาหกิจชุมชน รวมถึงการให้ความรู้และการสนับสนุนในกรณีดังนี้ การรวมมือซึ่งกันและกัน การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการจัดตั้งหรือทรัพยากร หรือภูมิปัญญาของชุมชนมาใช้ให้เหมาะสมกับการดำเนินวิสาหกิจชุมชนนั้น ๆ หรือการพัฒนาที่เกี่ยวกับการผลิตและกระบวนการจัดการธุรกิจทุกด้านไม่ว่าจะเป็นการบริหารงานบุคคล การบัญชี การลงทุน หรือการตลาด ทั้งนี้ เพื่อให้กิจการวิสาหกิจชุมชนมีประโยชน์ในระดับปฐมภูมิถึงความเข้มแข็งและพึ่งพาตนเองได้

มาตรา 26/1 เพื่อประโยชน์ในการอำนวยความสะดวกและลดขั้นตอนของวิสาหกิจชุมชนในการติดต่อกับส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐ ให้กรมส่งเสริมการเกษตรหรือสำนักงานเกษตรจังหวัด แต่งตั้งคนที่ทำหน้าที่เป็นศูนย์บริการเรื่อง ประสานงาน ตัดความล่าช้าด้านการให้ความวิสาหกิจชุมชนหรือเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนในรูปแบบต่าง ๆ ที่มิใช่เป็นการดำเนินการในเชิงพาณิชย์

มาตรา 26/2 เพิ่มโดยพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2566

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ตัดสิทธิวิสาหกิจชุมชนที่ประสงค์จะดำเนินการติดต่อกับส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องด้วยตนเอง เมื่อได้รับคำขอจากวิสาหกิจชุมชนตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้ส่งคำขอไปยังส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินการต่อไป กรณีส่งเสริมการเกษตรของวิสาหกิจชุมชนที่มีข้อผูกพันต่อส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐ ให้ส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐรับข้อผูกพันดังกล่าวไว้เพื่อประโยชน์ของวิสาหกิจชุมชน ทั้งนี้ ภายใต้กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

มาตรา 26/8 เพื่อเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนให้วิสาหกิจชุมชนจัดตั้งเป็นนิติบุคคล ให้การจดทะเบียนองค์กรทรัพย์สินให้แก่วิสาหกิจชุมชนที่ได้จัดตั้งขึ้นเป็นนิติบุคคลได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมตามระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ เฉพาะกรณีการจดทะเบียนองค์กรทรัพย์สินเพื่อใช้ประโยชน์ในกิจการของวิสาหกิจชุมชนและยังคงเป็นองค์กรทรัพย์สินของนิติบุคคล ระหว่างสมาชิกวิสาหกิจชุมชนกับนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นเป็นนิติบุคคลนั้น โดยผ่านเงื่อนไขรองจากกรมส่งเสริมการเกษตรตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กรมส่งเสริมการเกษตรกำหนด

มาตรา 27 ให้คณะกรรมการจัดให้มีมาตรการในการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจชุมชนเพื่อให้มีคุณภาพมาตรฐานที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจชุมชนในด้านต่าง ๆ เช่น การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การบรรจุภัณฑ์ การสร้างเครื่องหมายการค้า หรือการจัดการตลาด เพื่อสร้างความพร้อมให้แก่วิสาหกิจชุมชนในระดับที่สูงขึ้น

มาตรา 28 ในกรณีที่วิสาหกิจชุมชนในประสงค์ร่วมดำเนินกิจการจัดตั้งเป็นเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนหรือดำเนินการจัดตั้งเป็นสหกรณ์หรือกลุ่มใด ๆ ให้คณะกรรมการให้ความช่วยเหลือในการจัดตั้ง การประกอบการ การตลาด รวมทั้งให้ส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือระหว่างเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนหรือกลุ่มหรือสหกรณ์การอื่น เพื่อมุ่งยกระดับสร้างความมั่นคงให้แก่วิสาหกิจชุมชน

มาตรา 29 ให้คณะกรรมการส่งเสริมการดำเนินการวิสาหกิจชุมชนเกี่ยวกับการรักษาคุณภาพผลิตภัณฑ์และการรับรองสินค้าเกษตรในด้านต่าง ๆ ส่วนประกอบ วิธีการผลิต คุณภาพ หรือคุณลักษณะอื่นใดของสินค้า หรือการบริการของวิสาหกิจชุมชน เพื่อให้สินค้า หรือบริการของกิจการวิสาหกิจชุมชนเป็นที่เชื่อถือ รวมทั้งปลอดภัยต่อผู้บริโภคหรือผู้ใช้บริการ

ในการส่งเสริมมาตรฐานสินค้า ให้คณะกรรมการพิจารณาให้คำปรึกษาหรือให้ความช่วยเหลือแก่วิสาหกิจชุมชนในการขอจดทะเบียนเครื่องหมายรับรองจากกฎหมายว่าด้วยมาตรฐานสินค้า

มาตรา 26/8 เพิ่มโดยพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2565

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เครื่องหมายการค้า หรือให้คำปรึกษาหารือให้ความช่วยเหลืออื่นใดเพื่อให้ความคุ้มครองแก่สินค้า หรือบริการของกิจการวิสาหกิจชุมชนนั้นตามที่เห็นสมควร

มาตรา 30 ในการส่งเสริมและสนับสนุนกิจการวิสาหกิจชุมชน ให้คณะกรรมการจัดการตามดำเนินการในเรื่องต่อไปนี้

(1) ประสานงานกับหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การส่งเสริมและสนับสนุนกิจการวิสาหกิจชุมชนตามที่ได้รับมอบหมายตามมาตรา 22 และมาตรา 24 และการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนตามมาตรา 25 และมาตรา 29 (2) ให้การส่งเสริมและสนับสนุน หรือประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้การสนับสนุนกิจการวิสาหกิจชุมชนที่มีปัญหาเกี่ยวกับเงินทุนในการประกอบการ (3) จัดให้มีการฝึกอบรมหรือการถ่ายทอดความรู้ที่เป็นประโยชน์และเป็นไปตามความต้องการของกิจการวิสาหกิจชุมชน เช่น การฝึกอบรมด้านการจัดการ การบัญชี การขาย หรือการถ่ายทอดความรู้หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมหรือจำเป็น (4) เสนอแนะให้หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องพิจารณา ยกเว้น หรือชะลอภาษีใด ๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินงานหรือการส่งเสริมกิจการวิสาหกิจชุมชน (5) ดำเนินการในเรื่องอื่นใดที่คณะกรรมการเห็นว่าเป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมกิจการวิสาหกิจชุมชน

มาตรา 31 (ยกเลิก)

มาตรา 32 ในกรณีที่คณะกรรมการเห็นสมควรของการดำเนินการของกิจการวิสาหกิจชุมชนต้องดำเนินการโดยเป็นการที่ไม่เหมาะสมหรือเป็นอันตราย คณะกรรมการอาจเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาดำเนินการให้มีการสลายการจดตั้งกิจการวิสาหกิจชุมชนนั้นตามที่เห็นสมควร

มาตรา 33 ในกรณีที่คณะกรรมการประสานงานกับส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชนหรือหน่วยงานอื่นของรัฐที่เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินการตามมาตรา 30 แล้วไม่บรรลุผล ให้คณะกรรมการเสนอเรื่องดังกล่าวต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาดำเนินการต่อไป

บทเฉพาะกาล

มาตรา 34 ในวาระเริ่มแรกให้บรรดารัฐบาลจัดดำเนินการเพื่อให้มีการแต่งตั้งกรรมการตามมาตรา 12 (3) และ (4) กรรมการผู้แทนวิสาหกิจชุมชนและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจังหวัดตามมาตรา 20 ให้แล้วเสร็จภายในกำหนดหนึ่งปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ

มาตรา 31 ยกเลิกโดยพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562

ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พันตำรวจโท พงศ์ธร จินดารัตน์ นายกรัฐมนตรี สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - 12 - หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เศรษฐกิจชุมชนเป็นพื้นฐานของการพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียง และโดยที่เศรษฐกิจชุมชนในปัจจุบันจำเป็นต้องยกระดับที่มีพร้อมจะเข้ามามีส่วนทำการค้ากับประเทศในประเทศและระหว่างประเทศ สมควรให้มีการส่งเสริมความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น การสร้างรายได้ การสร้างเสถียรภาพด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาศักยภาพในการดำรงชีพ และการพัฒนารูปแบบของวิสาหกิจชุมชน อันจะยังประโยชน์แก่การพัฒนาประเทศโดยรวม สมควรปรับปรุงบทบัญญัติของพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. 2548 เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ พระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2566

มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

มาตรา 3 ให้กรรมการผู้แทนวิสาหกิจชุมชนและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจังหวัด ซึ่งดำรงตำแหน่งอยู่ในวันก่อนที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ คงอยู่ในตำแหน่งต่อไปจนครบวาระ

มาตรา 4 ให้ยกเลิกข้อความในมาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. 2548 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน

“มาตรา 20 ให้มีคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจังหวัด คณะหนึ่ง ประกอบด้วย (1) ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธานกรรมการ (2) กรรมการโดยตำแหน่ง ได้แก่ เกษตรจังหวัด พัฒนาการจังหวัด อุตสาหกรรมจังหวัด พาณิชย์จังหวัด ประมงจังหวัด ปศุสัตว์จังหวัด และสหกรณ์จังหวัด (3) กรรมการผู้แทนวิสาหกิจชุมชน จำนวนไม่เกินห้าคน ซึ่งคัดเลือกจากสมาชิกวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดนั้นตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการกำหนด (4) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวนไม่เกินห้าคน ซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้งจากผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ หรือประสบการณ์ด้านการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนหรือด้านอื่นที่เป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน (5) เกษตรและสหกรณ์จังหวัด เป็นกรรมการและเลขานุการ”

มาตรา 5 ให้ยกเลิกความในมาตรา 21 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. 2548 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน

“มาตรา 21 คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจังหวัด มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ (1) เสนอแผนปฏิบัติการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนของจังหวัดต่อคณะกรรมการเพื่อพิจารณา (2) ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดตั้งวิสาหกิจชุมชนและเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน (3) ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนและเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน (4) ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานของวิสาหกิจชุมชนและเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน (5) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการมอบหมาย” ให้แก่ราษฎรทั้งชุมชนเพื่อประโยชน์ในการดำเนินกิจการของวิสาหกิจชุมชนที่ตั้งขึ้นเป็นนิติบุคคลนั้นด้วย จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา วิรวรรธน์/เพิ่มเติม ๒๒ เมษายน ๒๕๖๒ วิฑูรย์/ตรวจ ๒๔ เมษายน ๒๕๖๒