로고

「1987년 관세율긴급칙령」

• 국가‧지 역: 태국 • 제 정 일: 1987년 12월 23일 • 개 정 일: 2021년 12월 4일(일부개정)

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๐ เป็นปีที่ ๔๒ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มี พระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยพิกัด อัตราศุลกากร อาศัยอ านาจตามความในมาตรา ๑๕๗ ของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จึงทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชก าหนดขึ ้นไว้ ดังต่อไปนี ้ 푸미폰 아둔야뎃 폐하께서 재위 42번째 해인 1987년(불기 2530년)에 하사하셨다. 푸미폰 아둔야뎃 폐하께서는 다음과 같 이 공포하게 하셨다. 관세율에 관한 법률을 개정하는 것이 합 당하다. 이에 「태국헌법」 제157조의 내용에 따라 폐하께서 다음과 같이 긴급칙령을 제정하게 하셨다.

มาตรา ๑

พระราชก าหนดนี ้เรียกว่า “พระราชก าหนดพิกัดอัตรา ศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐”

มาตรา ๒

พระราชก าหนดนี ้ให้ใช้บังคับตั ้งแต่วันถัดจากวัน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

มาตรา ๓

ให้ยกเลิก

(๑) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. ๒๕๐๓

(๒) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๐๔

(๓) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๐๔

(๔) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๐๔

(๕) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๐๕

(๖) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๐๕

(๗) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๐๕

(๘) พระราชบัญญัติพิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. ๒๕๐๖

(๙) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๐๖

(๑๐) พระราชบัญญัติพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๐๖

(๑๑) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๐๖

(๑๒) พระราชบัญญัติพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๐๗

(๑๓) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๐๗

(๑๔) พระราชบัญญัติพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๐๘

(๑๕) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๐๘

(๑๖) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๐๙

(๑๗) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๐๙

(๑๘) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๑๔) พ.ศ. ๒๕๑๐

(๑๙) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๑๕) พ.ศ. ๒๕๑๐

(๒๐) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๑๖) พ.ศ. ๒๕๑๐

(๒๑) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๑๗) พ.ศ. ๒๕๑๑

(๒๒) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๑๘) พ.ศ. ๒๕๑๑

(๒๓) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๑๑

(๒๔) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๒๐) พ.ศ. ๒๕๑๑

(๒๕) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๒๑) พ.ศ. ๒๕๑๑

(๒๖) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๒๒) พ.ศ. ๒๕๑๒

(๒๗) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๒๓) พ.ศ. ๒๕๑๓

(๒๘) ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๕๗ ลงวันที่ ๒๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๕

(๒๙) ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๐๔ ลงวันที่ ๒๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๕

(๓๐) ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๗๒ ลงวันที่ ๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๕

(๓๑) ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๗๘ ลงวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕

(๓๒) ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๓๖๓ ลงวันที่ ๑๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๕

(๓๓) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๒๔) พ.ศ. ๒๕๑๖

(๓๔) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๒๕) พ.ศ. ๒๕๑๖

(๓๕) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๑๗

(๓๖) พระราชบัญญัติพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๑๗

(๓๗) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๒๗) พ.ศ. ๒๕๑๘

(๓๘) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๒๘) พ.ศ. ๒๕๑๙

(๓๙) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๒๙) พ.ศ. ๒๕๒๐

(๔๐) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๓๐) พ.ศ. ๒๕๒๐

(๔๑) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๓๑) พ.ศ. ๒๕๒๐

(๔๒) พระราชบัญญัติพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๒๐

(๔๓) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๓๒) พ.ศ. ๒๕๒๐

(๔๔) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๓๓) พ.ศ. ๒๕๒๑

(๔๕) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๓๔) พ.ศ. ๒๕๒๑

(๔๖) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๓๕) พ.ศ. ๒๕๒๑

(๔๗) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๓๖) พ.ศ. ๒๕๒๑

(๔๘) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๓๗) พ.ศ. ๒๕๒๒

(๔๙) พระราชบัญญัติพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๒๒

(๕๐) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๓๘) พ.ศ. ๒๕๒๒

(๕๑) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๓๙) พ.ศ. ๒๕๒๒

(๕๒) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๔๐) พ.ศ. ๒๕๒๓

(๕๓) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๔๑) พ.ศ. ๒๕๒๔

(๕๔) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๔๒) พ.ศ. ๒๕๒๕

(๕๕) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๔๓) พ.ศ. ๒๕๒๖

(๕๖) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๔๔) พ.ศ. ๒๕๒๗

(๕๗) พระราชก าหนดพิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ ๔๕) พ.ศ. ๒๕๒๘

มาตรา ๔

ของที่น าเข้ามาหรือพาเข้ามาในหรือส่งหรือพาออกไป นอกราชอาณาจักรนั ้น ให้เรียกเก็บและเสียอากรตามที่ ก าหนดไว้ในพิกัดอัตราศุลกากรท้ายพระราชก าหนดนี ้ หรือตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังประกาศ ก าหนดโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีตามที่ บัญญัติไว้ในพระราชก าหนดนี ้ ในการค านวณเงินอากรที่ต้องเสียหรือจ่ายคืนแต่ละ รายการ เศษของหนึ่งบาทให้ปัดทิ ้ง

มาตรา ๔/๑

ของที่น าเข้ามาในหรือส่งออกไปจากพื ้นที่พัฒนาร่วม ตามกฎหมายว่าด้วยองค์กรร่วมไทย – มาเลเซีย ให้ เรียกเก็บและเสียอากรตามที่ก าหนดไว้ในพิกัดอัตรา ศุลกากรท้ายพระราชก าหนดนี ้ ทั ้งนี ้ ให้ลดอัตราอากรที่ น ามาใช้ในการเรียกเก็บแก่ของดังกล่าวลงร้อยละห้าสิบ ในการค านวณเงินอากรที่ต้องเสียหรือจ่ายคืนแต่ละ รายการ เศษของหนึ่งบาทให้ปัดทิ ้ง ของที่น าเข้ามาในพื ้นที่พัฒนาร่วมตามวรรคหนึ่ง หาก เป็นของที่ได้รับความเห็นชอบทางศุลกากร เครื่องมือ เครื่องใช้ หรือวัสดุสิ่งของส าหรับใช้ในพื ้นที่พัฒนาร่วม ดังกล่าว และน าเข้าโดยองค์กรร่วมไทย – มาเลเซียตาม กฎหมายว่าด้วยองค์กรร่วมไทย – มาเลเซีย หรือบุคคล ใด ๆ ที่ได้รับอ านาจจากองค์กรร่วมนั ้น ให้ได้รับยกเว้น อากร ให้เรียกเก็บอากรจากของตามวรรคสามได้ เมื่อได้มีการ หารือระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาล แห่งมาเลเซียแล้ว

มาตรา ๕

ของใดที่ระบุอัตราอากรทั ้งตามราคาและตามสภาพ ให้ เสียอากรในอัตราที่คิดเป็นเงินสูงกว่า

มาตรา ๖

ถ้าอธิบดีกรมศุลกากรเห็นว่ามีการหลีกเลี่ยงอากรที่พึง เก็บแก่สิ่งที่สมบูรณ์แล้ว โดยวิธีน าสิ่งนั ้นเข้ามาเป็นส่วน ๆ ต่างหากจากกัน จะเป็นในวาระเดียวกันหรือต่างวาระ กันก็ดี ก็ให้เรียกเก็บอากรแก่ส่วนนั ้น ๆ รวมกันในอัตรา ที่ถือเสมือนว่าเป็นสิ่งที่ได้ประกอบมาสมบูรณ์แล้ว

มาตรา ๗

การส าแดงรายการในใบขนสินค้าขาเข้าและใบขน สินค้าขาออกนั ้นมิให้ถือว่าบริบูรณ์ นอกจากจะส าแดง ประเภทของและเกณฑ์ปริมาณที่ต้องใช้ในการเก็บ อากรให้ถูกต้องครบถ้วนตามที่จ าแนกและก าหนดไว้ใน พิกัดอัตราอากรท้ายพระราชก าหนดนี ้

มาตรา ๘

ของที่ต้องเสียอากรตามสภาพนั ้น

(๑) ถ้าเป็นของประเภทอาหารที่บรรจุภาชนะโดยมี ของเหลวหล่อเลี ้ยงด้วยเพื่อประโยชน์ในการถนอม อาหาร น ้าหนักที่ใช้เป็นเกณฑ์ค านวณอากรให้ ถือเอาน ้าหนักแห่งของรวมทั ้งของเหลวที่บรรจุใน ภาชนะนั ้น

(๒) ถ้าบรรจุในหีบห่อหรือภาชนะใด ๆ เพื่อจ าหน่าย ทั ้งหีบห่อหรือภาชนะ และมีเครื่องหมายหรือป้าย แสดงปริมาณแห่งของติดไว้ที่หีบห่อหรือภาชนะนั ้น เพื่อประโยชน์ในการค านวณอากร อธิบดีกรม ศุลกากรจะถือว่าหีบห่อหรือภาชนะนั ้น ๆ บรรจุของ ตามปริมาณดังที่แสดงไว้ก็ได้

มาตรา ๙

ของที่ต้องเสียอากรตามราคานั ้น อธิบดีกรมศุลกากรจะ ประกาศเป็นครั ้งคราวก็ได้ว่า ราคาศุลกากรส าหรับของ ประเภทหนึ่งประเภทใด ก าหนดเป็นเงินเท่าใด ให้ถือ ราคาเช่นว่านี ้เป็นเกณฑ์ประเมินเงินอากรในประเภท ของที่ประกาศนั ้นนับตั ้งแต่วันประกาศเป็นต้นไปจนกว่า จะมีประกาศยกเลิกหรือเปลี่ยนแปลง

มาตรา ๑๐

ของใดซึ่งในเวลาน าเข้าได้รับยกเว้นหรือลดหย่อนอากร เพราะเหตุที่น าเข้ามาเพื่อใช้เองโดยบุคคลที่มีสิทธิ เช่นนั ้น หรือเพราะเหตุที่น าเข้ามาเพื่อใช้ประโยชน์อย่าง ใดที่ก าหนดไว้โดยเฉพาะ ถ้าหากของนั ้นได้โอนไปเป็น ของบุคคลที่ไม่มีสิทธิได้รับยกเว้นหรือลดหย่อนอากร หรือได้น าไปใช้ในการอื่นนอกจากที่ก าหนดไว้ หรือสิทธิ ที่ได้รับยกเว้นหรือลดหย่อนอากรสิ ้นสุดลง ของนั ้น จะต้องเสียอากรโดยถือสภาพของของ ราคา และอัตรา อากรที่เป็นอยู ่ในวันโอนหรือน าไปใช้ในการอื่น หรือ วันที่สิทธิได้รับยกเว้นหรือลดหย่อนอากรสิ ้นสุดลงเป็น เกณฑ์ในการค านวณอากร ส าหรับกรณีที่ได้รับ ลดหย่อนอากร ให้เสียอากรเพิ่มจากที่ได้เสียไว้แล้วให้ ครบถ้วนตามจ านวนเงินอากรที่จะพึงต้องเสียทั ้งหมด ในเมื่อได้ค านวณตามเกณฑ์เช่นว่านั ้น ทั ้งนี ้ ให้แจ้งขอ ช าระอากรหรืออากรเพิ่มต่อกรมศุลกากรหรือด่าน ศุลกากรที่ได้น าของนั ้นเข้ามาในราชอาณาจักร ภายใน สามสิบวันนับแต่วันที่ความรับผิดในอันจะต้องช าระ อากรหรืออากรเพิ่มเกิดขึ ้น และต้องช าระ ณ ที่ท าการ ศุลกากรซึ่งกรมศุลกากรก าหนดให้เสร็จสิ ้นภายใน สามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งจ านวนเงินอากรหรือ อากรเพิ่มอันจะพึงต้องช าระ ถ้ามิได้มีการปฏิบัติเช่นว่า นั ้น ให้ถือว่าของนั ้นได้น าเข้ามาในราชอาณาจักร โดย หลีกเลี่ยงการเสียอากร แต่มิให้น ามาตรา ๑๗ แห่ง พระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่ ๙) พุทธศักราช ๒๔๘๒ มาใช้บังคับในกรณีที่ของนั ้นได้โอนไปโดยสุจริต การช าระอากรหรืออากรเพิ่มตามความในวรรคแรก ให้ เป็นความรับผิดของผู ้โอนของนั ้นไปเป็นของบุคคลที่ไม่ มีสิทธิได้รับยกเว้นหรือลดหย่อนอากร หรือผู ้ที่มีสิทธิ ได้รับยกเว้นหรือลดหย่อนอากรได้น าหรือยินยอมให้น า ของนั ้นไปใช้ในการอื่น หรือผู ้ที่ได้รับสิทธิยกเว้นหรือ ลดหย่อนอากรสิ ้นสิทธิลงในขณะเป็นเจ้าของ แล้วแต่ กรณี เว้นแต่ในกรณีที่ผู ้มีสิทธิได้รับยกเว้นหรือลดหย่อน อากรถึงแก่ความตายในขณะเป็นเจ้าของ ให้ผู ้จัดการ มรดกหรือทายาท แล้วแต่กรณี เป็นผู ้รับผิดช าระอากร หรืออากรเพิ่ม โดยให้แจ้งขอช าระอากรหรืออากรเพิ่ม ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่รู ้ว่าของนั ้นผู ้ตายได้รับ ยกเว้นหรือลดหย่อนอากร บทบัญญัติว่าด้วยความรับผิดในอันจะต้องเสียอากร หรืออากรเพิ่มตามมาตรานี ้ มิให้ใช้บังคับในกรณีที่ของ นั ้นน าเข้าโดยกระทรวง ทบวง กรม หรือรัฐวิสาหกิจ ซึ่ง ถ้ามีการจ าหน่ายของนั ้นจะต้องส่งรายรับทั ้งสิ ้นให้แก่รัฐ โดยไม่หักรายจ่าย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง โดยความเห็นชอบ ของคณะรัฐมนตรีมีอ านาจประกาศก าหนดให้ของบาง ประเภทหรือบางชนิดซึ่งบุคคลที่มีสิทธิได้รับยกเว้น หรือ ลดหย่อนอากรน าเข้ามาเพื่อใช้เอง หรือของบาง ประเภทหรือบางชนิดที่น าเข้ามาเพื่อใช้ประโยชน์ที่ ก าหนดไว้โดยเฉพาะ ตามความในวรรคหนึ่ง ได้รับ ยกเว้นจากบทบังคับแห่งมาตรานี ้ โดยจะก าหนด หลักเกณฑ์และเงื่อนไขใด ๆ ไว้ด้วยก็ได้ การประกาศให้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๑๑

ของใดซึ่งในเวลาน าเข้าได้รับยกเว้นอากรโดยมีเงื่อนไข ว่าจะต้องส่งกลับออกไปภายในระยะเวลาที่ก าหนด ถ้า ภายในระยะเวลาที่ก าหนดนั ้นของนั ้นได้โอนไปเป็นของ บุคคลที่มีสิทธิได้รับยกเว้นอากรหากน าของนั ้นเข้ามา เอง หรือได้น าไปใช้ประโยชน์ที่กฎหมายก าหนดให้ได้รับ ยกเว้นอากรในการน าเข้าโดยไม่มีเงื่อนไขว่าจะต้อง ส่งกลับออกไป ให้ของนั ้นหลุดพ้นจากเงื่อนไขดังกล่าว แต่ต้องอยู ่ภายใต้เงื่อนไขที่กฎหมายก าหนดไว้ ส าหรับ ของที่ได้รับยกเว้นอากรเพราะน าเข้าโดยบุคคลที่มีสิทธิ หรือเพราะน าเข้าเพื่อใช้ประโยชน์ที่กฎหมายก าหนด ทั ้งนี ้ ให้ถือว่าของนั ้นได้น าเข้าโดยผู ้รับโอนหรือเพื่อใช้ ประโยชน์ดังกล่าวตั ้งแต่เวลาที่โอนหรือน าไปใช้ ประโยชน์นั ้น

มาตรา ๑๒

เพื่อประโยชน์แก่การเศรษฐกิจของประเทศหรือเพื่อ ความผาสุกของประชาชนหรือเพื่อความมั ่นคงของ ประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังโดยความ เห็นชอบของคณะรัฐมนตรี มีอ านาจประกาศลดอัตรา อากรส าหรับของใด ๆ จากอัตราที่ก าหนดไว้ในพิกัด อัตราศุลกากร หรือยกเว้นอากรส าหรับของใด ๆ หรือ เรียกเก็บอากรพิเศษเพิ่มขึ ้นส าหรับของใด ๆ ไม่เกินร้อย ละห้าสิบของอัตราอากรที่ก าหนดไว้ในพิกัดอัตรา ศุลกากรส าหรับของนั ้น ทั ้งนี ้ โดยจะก าหนดหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขใด ๆ ไว้ด้วยก็ได้ การประกาศ การยกเลิกหรือเปลี่ยนแปลงประกาศใน วรรคหนึ่ง ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๑๓

ในกรณีที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเห็นว่าของใด ที่น าเข้ามา เป็นของที่ได้รับความช่วยเหลือจากประเทศ หรือบุคคลใดโดยวิธีอื่นนอกจากการคืนหรือชดเชยเงิน ค่าภาษีอากรอันก่อหรืออาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ การเกษตรหรือการอุตสาหกรรมในประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของ คณะรัฐมนตรี มีอ านาจประกาศให้เรียกเก็บอากรพิเศษ แก่ของนั ้นในอัตราตามที่เห็นสมควรนอกเหนือไปจาก อากรที่พึงต้องเสียตามปกติ แต่อากรพิเศษที่เรียกเก็บนี ้ จะต้องไม่เกินจ านวนที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เห็นว่าได้มีการช่วยเหลือดังกล่าวข้างต้น การประกาศ การยกเลิกหรือเปลี่ยนแปลงประกาศใน วรรคหนึ่ง ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๑๔

เพื่อปฏิบัติตามข้อผูกพันตามสัญญาหรือความตกลง ระหว่างประเทศที่เป็นประโยชน์แก่การเศรษฐกิจของ ประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังโดยความ เห็นชอบของคณะรัฐมนตรี มีอ านาจประกาศยกเว้น ลด หรือเพิ่มอากรจากอัตราที่ก าหนดไว้ในพิกัดอัตรา ศุลกากรหรือประกาศเรียกเก็บอากรตามอัตราที่ก าหนด ไว้ในพิกัดอัตราศุลกากร หรือประกาศก าหนดอัตรา อากรตามราคาหรือตามสภาพ ส าหรับของที่มีถิ่น ก าเนิดจากประเทศที่ร่วมลงนามหรือลักษณะตามที่ระบุ ไว้ในสัญญาหรือความตกลงดังกล่าว ทั ้งนี ้ จะก าหนด หลักเกณฑ์และเงื่อนไขใด ๆ ไว้ด้วยก็ได้ การประกาศ การยกเลิก หรือการเปลี่ยนแปลงประกาศ ตามวรรคหนึ่ง ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๑๔ ทวิ

เพื่อปฏิบัติตามข้อผูกพันตามอนุสัญญาระบบฮาร์โม ไนซ์ หรือเพื่อปฏิบัติตามข้อผูกพันตามสัญญาหรือ ความตกลงระหว่างประเทศที่เป็นประโยชน์แก่การ เศรษฐกิจของประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี มีอ านาจประกาศ ยกเลิก เพิ่ม หรือแก้ไขเพิ่มเติมความในภาค ๑ หลักเกณฑ์การตีความพิกัดอัตราศุลกากร และภาค ๒ พิกัดอัตราอากรขาเข้าท้ายพระราชก าหนดนี ้ได้ โดยใน การนี ้ให้มีอ านาจประกาศยกเลิก เพิ่ม หรือแก้ไข เพิ่มเติมอัตราอากรในช่องอัตราอากรขาเข้าให้เท่ากับ หรือไม่สูงกว่าอัตราเดิมตามกฎหมายที่ใช้บังคับอยู ่ ขณะที่แก้ไขเพิ่มเติมนั ้นได้ด้วย ประกาศตามวรรคหนึ่งให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๑๔ ตรี

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของ คณะรัฐมนตรี มีอ านาจประกาศยกเว้น ลด หรือเพิ่ม อากรส าหรับของใด ๆ ที่น าเข้ามาในหรือส่งออกไปจาก พื ้นที่พัฒนาร่วมตามกฎหมายว่าด้วยองค์กรร่วมไทย – มาเลเซีย จากอัตราที่ก าหนดไว้ในพิกัดอัตราศุลกากร โดยจะก าหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขใด ๆ ไว้ด้วยก็ได้ การประกาศ การยกเลิก หรือการเปลี่ยนแปลงประกาศ ตามวรรคหนึ่ง ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๑๔ จัตวา

ให้อธิบดีกรมศุลกากรมีอ านาจพิจารณาก าหนดถิ่น ก าเนิดของของที่จะน าเข้ามาในราชอาณาจักรตามกฎ ว่าด้วยถิ่นก าเนิดตามที่ระบุไว้ในสัญญาหรือความตก ลงระหว่างประเทศเป็นการล่วงหน้า การพิจารณาก าหนดถิ่นก าเนิดของของที่จะน าเข้าตาม วรรคหนึ่ง ให้ถือตามกฎว่าด้วยถิ่นก าเนิดตามที่ระบุไว้ ในสัญญาหรือความตกลงระหว่างประเทศที่ประเทศ ไทยเข้าเป็นภาคีของสัญญาหรือความตกลงระหว่าง ประเทศนั ้น และมิให้มีผลย้อนหลัง

มาตรา ๑๕

อธิบดีกรมศุลกากรมีอ านาจตีความในพิกัดอัตรา ศุลกากรท้ายพระราชก าหนดนี ้โดยวิธีออกประกาศแจ้ง พิกัดอัตราศุลกากร การตีความตามวรรคหนึ่ง มิให้มีผลย้อนหลัง การตีความให้ถือตามหลักเกณฑ์การตีความพิกัดอัตรา ศุลกากรในภาค ๑ ท้ายพระราชก าหนดนี ้ ประกอบกับ ค าอธิบายพิกัดศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์ของคณะมนตรี ความร่วมมือทางศุลกากรที่จัดตั ้งขึ ้นตามอนุสัญญาว่า ด้วยการจัดตั ้งคณะมนตรีความร่วมมือทางศุลกากร ซึ่ง ท าเมื่อวันที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ และประเทศ ไทยได้เข้าเป็นภาคีอนุสัญญาดังกล่าวแล้วเมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๕

มาตรา ๑๕/๑

เพื่ออ านวยความสะดวกแก่การประเมินภาษีอากรและ การเสียภาษีอากร ให้อธิบดีกรมศุลกากรมีอ านาจ พิจารณาตีความพิกัดอัตราศุลกากรท้ายพระราช ก าหนดนี ้ เพื่อจ าแนกประเภทของของที่จะน าเข้ามาใน ราชอาณาจักรเป็นการล่วงหน้า ก่อนที่จะมีการน าของ เข้ามาในราชอาณาจักรได้

มาตรา ๑๖

บรรดาบทกฎหมายที่ถูกยกเลิกตามมาตรา ๓ แห่งพระ ราชก าหนดนี ้ ให้ยังคงใช้บังคับต่อไปเฉพาะในการ ปฏิบัติจัดเก็บอากรที่ค้างช าระ หรือที่พึงช าระหรือใน การคืนอากรก่อนวันที่พระราชก าหนดนี ้ใช้บังคับ

มาตรา ๑๗

บรรดาประกาศหรือค าสั ่งที่ออกตามกฎหมายที่ถูก ยกเลิกตามมาตรา ๓ แห่งพระราชก าหนดนี ้ ให้ยังคงใช้ บังคับได้ต่อไปเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับบทบัญญัติแห่ง พระราชก าหนดนี ้ ทั ้งนี ้ จนกว่าจะได้มีประกาศหรือ ค าสั ่งที่ออกตามพระราชก าหนดนี ้ใช้บังคับ

มาตรา ๑๘

ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังรักษาการตามพระ ราชก าหนดนี ้ ผู ้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก ป. ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรี

「1987년 관세율긴급칙령」

• 국가‧지 역: 태국 • 제 정 일: 1987년 12월 23일 • 개 정 일: 2021년 12월 4일(일부개정)

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๐ เป็นปีที่ ๔๒ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มี พระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยพิกัด อัตราศุลกากร อาศัยอ านาจตามความในมาตรา ๑๕๗ ของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จึงทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชก าหนดขึ ้นไว้ ดังต่อไปนี ้ 푸미폰 아둔야뎃 폐하께서 재위 42번째 해인 1987년(불기 2530년)에 하사하셨다. 푸미폰 아둔야뎃 폐하께서는 다음과 같 이 공포하게 하셨다. 관세율에 관한 법률을 개정하는 것이 합 당하다. 이에 「태국헌법」 제157조의 내용에 따라 폐하께서 다음과 같이 긴급칙령을 제정하게 하셨다.

제1조

이 긴급칙령은 “「1987년 관세율긴급칙 령」”이라고 한다.

제2조

이 긴급칙령은 관보에 게재한 다음 날부 터 시행한다.

제3조

다음 각 항의 법령은 폐지한다.

(1) 「1960년 관세율긴급칙령」

(2) 「1961년 관세율긴급칙령 (제2 권)」

(3) 「1961년 관세율긴급칙령 (제3 권)」

(4) 「1961년 관세율긴급칙령 (제4 권)」

(5) 「1962년 관세율긴급칙령 (제5 권)」

(6) 「1962년 관세율긴급칙령 (제6 권)」

(7) 「1962년 관세율긴급칙령 (제7 권)」

(8) 「1963년 관세율법」

(9) 「1963년 관세율긴급칙령 (제8 권)」

(10) 「1963년 관세율법 (제2권)」

(11) 「1963년 관세율긴급칙령 (제9 권)」

(12) 「1964년 관세율법 (제3권)」

(13) 「1964년 관세율법긴급칙령 (제 10권)」

(14) 「1965년 관세율법 (제4권)」

(15) 「1965년 관세율긴급칙령 (제11 권)」

(16) 「1966년 관세율긴급칙령 (제12 권)」

(17) 「1966년 관세율긴급칙령 (제13 권)」

(18) 「1967년 관세율긴급칙령 (제14 권)」

(19) 「1967년 관세율긴급칙령 (제15 권)」

(20) 「1967년 관세율긴급칙령 (제16 권)」

(21) 「1968년 관세율긴급칙령 (제17 권)」

(22) 「1968년 관세율긴급칙령 (제18 권)」

(23) 「1968년 관세율긴급칙령 (제19 권)」

(24) 「1968년 관세율긴급칙령 (제20 권)」

(25) 「1968년 관세율긴급칙령 (제21 권)」

(26) 「1969년 관세율긴급칙령 (제22 권)」

(27) 「1970년 관세율긴급칙령 (제23 권)」

(28) 1972년 1월 26일 자 개혁단고시 제57호

(29) 1972년 3월 23일 자 개혁단고시 제104호

(30) 1972년 7월 7일 자 개혁단고시 제172호

(31) 1972년 5월 23일 자 개혁단고시 제278호

(32) 1972년 12월 13일 자 개혁단고 시 제363호

(33) 「1973년 관세율긴급칙령 (제24 권)」

(34) 「1973년 관세율긴급칙령 (제25 권)」

(35) 「1974년 관세율법긴급칙령 (제 26권)」

(36) 「1974년 관세율법 (제5권)」

(37) 「1975년 관세율긴급칙령 (제27 권)」

(38) 「1976년 관세율긴급칙령 (제28 권)」

(39) 「1977년 관세율긴급칙령 (제29 권)」

(40) 「1977년 관세율긴급칙령 (제30 권)」

(41) 「1977년 관세율긴급칙령 (제31 권)」

(42) 「1987년 관세율법 (제6권)」

(43) 「1977년 관세율긴급칙령 (제32 권)」

(44) 「1978년 관세율긴급칙령 (제33 권)」

(45) 「1978년 관세율긴급칙령 (제34 권)」

(46) 「1978년 관세율긴급칙령 (제35 권)」

(47) 「1978년 관세율긴급칙령 (제36 권)」

(48) 「1979년 관세율긴급칙령 (제37 권)」

(49) 「1979년 관세율법 (제7권)」

(50) 「1979년 관세율긴급칙령 (제38 권)」

(51) 「1979년 관세율긴급칙령 (제39 권)」

(52) 「1980년 관세율긴급칙령 (제40 권)」

(53) 「1981년 관세율긴급칙령 (제41 권)」

(54) 「1982년 관세율긴급칙령 (제42 권)」

(55) 「1983년 관세율긴급칙령 (제43 권)」

(56) 「1984년 관세율긴급칙령 (제44 권)」

(57) 「1985년 관세율긴급칙령 (제45 권)」

제4조

수입 또는 국내로 반입되거나, 수출 또 는 국외로 반출되는 물품에 대해서는 이 긴급칙령 별표의 관세율표나 이 긴급칙 령에서 규정한 바에 따라 재무부장관이 내각의 승인을 받아 고시하는 바에 따라 과세 및 납세가 이행되어야 한다. 납부 또는 환급이 필요한 세액을 계산하 는 때에는 1밧 미만의 단위는 절사한다.

제4조의1

태국-말레이시아 공동기구 관련 법률에 따라 공동개발지역의 역내로 수입되거나 역외로 수출되는 물품은 이 긴급칙령 별 표의 관세율표에서 규정한 바에 따라 과 세 및 납세가 이행되도록 한다. 이러한 경우 해당 물품에 부과되는 세율의 50% 는 감면된다. 납부 또는 환급이 필요한 세액을 계산하 는 때에는 1밧 미만의 단위는 절사한다. 첫 번째 단락에 따라 공동개발지역의 역 내로 수입된 물품이 세관의 승인을 받은 물품이면 해당 공동개발지역의 역내에서 사용하기 위한 물품 및 태국-말레이시 아 공동기구 관련 법령에 따라 태국-말 레이시아 공동기구 또는 해당 공동기구 로부터 권한을 부여받은 자를 통하여 수 입된 장비나 자재에 대해서는 세금이 면 제된다. 태국과 말레이시아 정부 간 협의가 완료 된 때에는 세 번째 단락에 따른 물품에 대하여 과세할 수 있도록 한다.

제5조

가격 및 조건에 따라 세율이 명시된 물 품에 대해서는 더 높은 금액으로 산정된 요율의 세금을 납부하도록 한다.

제6조

동시 또는 시차를 둔 수입인 것을 불문 하고 청장이 물품을 별도의 부분으로 나 누어 수입하는 방법으로 완제품에 부과 되는 세금을 회피하였다고 판단하면 해 당 부분들을 합하여 완전하게 조립된 물 품으로 간주한 요율로 과세한다.

제7조

수입화물운송장 및 수출화물운송장의 항 목 신고에 대해서는 과세를 위하여 적용 되어야 하는 물품의 품목과 수량이 이 긴급칙령 별표의 관세율표에서 분류 및 규정한 바에 따라 정확하고 완벽하게 신 고된 것 이외에는 완전한 것으로 간주하 지 아니한다.

제8조

상태에 따라 납세가 이행되어야 하는 물 품에 대해서는 다음 각 항의 어느 하나 에 따라 조치한다.

(1) 식품 보존의 목적으로 보존액을 첨가한 용기에 포장된 식품류의 경우 용기에 포장된 보존액을 포함한 물품 의 중량을 과세표준으로 적용하여 조 치

(2) 물품의 양을 표시한 표장이나 라 벨을 부착한 상자 또는 용기째 판매하 기 위하여 상자 또는 용기에 포장된 물품의 경우 관세청장은 세금 산정의 목적을 위하여 해당 상자 또는 용기에 는 표시된 양이 포장된 것으로 간주하 여 조치 가능

제9조

가격에 따라 납세가 이행되어야 하는 물 품에 관해서는 관세청장이 특정 범주에 해당하는 물품에 대한 관세평가 관련 규 정을 수시로 고시할 수 있다. 이와 같은 평가는 고시일부터 고시 폐지일 또는 개 정일까지 고시된 물품 범주의 표준으로 간주한다.

제10조

개인적인 용도의 물품에 대한 세금감면 권 보유자가 개인적인 용도로 수입하거 나, 특정 용도로 수입되어 수입 당시 세 금이 감면된 물품이 세금감면권을 보유 하지 아니한 자에게 양도 또는 규정된 용도 외의 목적에 사용되거나, 세금감면 권이 축소 또는 종료된 경우 해당 물품 에 대해서는 물품의 상태·가격 및 양도 일이나 목적 외 사용일 또는 세금감면권 의 종료일을 과세표준으로 적용하여 세 금이 납부되어야 한다. 감세 적용을 받 은 경우 해당 과세표준에 따라 산정한 세액에서 과소 납부된 세액의 차액을 추 가로 납부하도록 한다. 이러한 경우 세 금을 납부하여야 하거나 추가 세금 발생 의 책임이 발생한 날부터 30일 이내에 관세청 또는 해당 물품이 수입 통관된 세관에 세금 또는 추가 세금의 납부 신 청을 하고 납부할 세액 또는 추가 세액 을 통보받은 날부터 30일 이내에 관세 청이 지정한 세관사무소에 세금을 완납 하여야 한다. 그와 같이 조치하지 아니 하면 해당 물품에 대해서는 납세 회피를 통하여 국내에 수입된 것으로 보되, 해 당 물품이 정직하게 양도된 경우에는 「1939년 관세법 (제9권)」 제17조를 적용하지 아니한다. 첫 번째 단락에 따른 세금 또는 추가 세 금의 납부는 경우에 따라 세금감면권이 없는 사람에게 해당 물품을 양도한 사 람, 해당 물품을 수입하거나 다른 용도 로 사용하는 것을 승낙한 세금감면권 보 유자 또는 해당 물품의 소유자가 된 때 에 세금감면권이 종료된 사람의 책임으 로 한다. 다만, 세금감면권을 보유한 사 람이 물품 소유자가 된 당시 사망한 경 우 상황에 따라 유산관리인 또는 상속자 가 세금감면권 보유자의 사망일부터 30 일 이내에 세금 또는 추가 세금의 납부 신청을 하여 해당 세금 또는 추가 세금 의 납부에 대하여 책임진다. 이 조에 따라 세금 또는 추가 세금을 납 부하여야 하는 책임에 관한 규정은 부· 청·국 또는 국영기업에 의하여 해당 물 품이 수입된 경우에는 적용하지 아니하 며, 해당 물품이 판매되면 지출을 차감 하지 아니한 수입의 전부를 국고로 송금 한다. 재무부장관은 내각의 승인을 받아 첫 번 째 단락에 따른 세금감면권 보유자가 개 인적인 용도로 수입한 일부 유형이나 일 부 범주의 물품 또는 특정 용도로 수입 하는 일부 유형이나 일부 범주의 물품에 대한 원칙 및 조건을 설정하여 이 조의 규정에서 제외되도록 고시할 권한을 갖 는다. 고시는 관보에 게재한다.

제11조

정한 기간 내에 재수출하는 조건으로 수 입 시 면세 적용을 받은 물품이 해당 기 간 내에 직접 수입하는 경우에 대한 세 금감면권을 보유한 자에게 양도되거나 법령에서 재수출의 조건 없이 면세 적용 을 받도록 규정한 특정 용도로 사용되면 그 물품은 해당 조건에서 벗어나되, 권 리 보유자에 의한 수입 또는 법령에서 규정한 특정 용도 수입으로 면세 적용을 받는 물품에 관하여 법령에서 규정한 조 건을 따라야 한다. 이와 관련하여 그러 한 물품은 양도 또는 특정 용도로 사용 되는 시점부터 양수자에 의하여 수입되 었거나 특정 용도로 수입되었다고 간주 한다.

제12조

국가 경제의 이익, 국민의 행복 또는 국 가의 안정을 위하여 재무부장관은 내각 의 승인을 받아 특정 물품에 대하여 관 세율표에서 정한 요율에서 세금을 감면 하거나 특정 물품에 대해서는 관세율표 에서 해당 물품용으로 정한 세율의 50% 를 초과하지 아니하는 범위에서 특별 추 가 세금의 부과를 고시할 수 있는 권한 을 가지며, 이와 관련하여 특정 원칙 및 조건을 설정할 수 있다. 첫 번째 단락에 따른 고시, 고시의 폐지 또는 개정에 관해서는 관보에 게재한다.

제13조

재무부장관이 수입된 물품에 대하여 국 내의 농업 또는 공업에 피해를 주거나 피해를 줄 우려가 있는 세금 환급 또는 보상 외의 방법을 통하여 국가 또는 개 인으로부터 원조를 받은 물품이라고 판 단하는 경우에는 내각의 승인을 받아 통 상적으로 부과되어야 하는 세금 이외에 타당하다고 판단하는 요율에서 해당 물 품에 대한 특별세를 부과하는 고시권을 갖되, 이와 같이 부과되는 특별세는 재 무부장관이 판단하는 해당 원조 액수를 초과하지 아니하는 금액이어야 한다. 첫 번째 단락에 따른 고시, 고시의 폐지 또는 개정에 관해서는 관보에 게재한다.

제14조

재무부장관은 국가의 경제에 이익이 되 는 계약 또는 국제 협약에 따른 의무를 준수하기 위하여 내각의 승인을 받아 원 산지가 공동 서명국이거나 해당 계약 또 는 협약에서 명시한 바에 따른 형태의 물품에 대하여 관세율표에서 규정한 세 율 또는 가격이나 형태에 따른 과세율 규정 고시에서 정한 요율에서 세금을 감 면 또는 추가 고시할 수 있는 권한을 가 지며, 이와 관련한 원칙 및 조건을 설정 할 수 있다. 첫 번째 단락에 따른 고시, 고시의 폐지 또는 개정에 관해서는 관보에 게재한다.

제14조의부칙1

국제통일상품분류체계(Harmonazed System) 협약의 준수 또는 국가의 경제 에 이익이 되는 계약이나 국제 협약에 따른 의무사항의 준수를 위하여 재무부 장관은 내각의 승인을 받아 이 긴급칙령 별표 제1부 관세율표 해석 기준 및 제2 부 수입 관세의 내용에 대한 삭제·추가 또는 개정하는 고시를 반포할 수 있는 권한을 가지며, 이와 함께 해당 수정 시 적용 중인 법령에 따라 수입 관세율표의 항목에서의 세율을 기존 요율과 같거나 높게 폐지·추가 또는 개정하는 고시를 반포할 수 있는 권한을 갖는다. 첫 번째 단락에 따른 고시는 관보에 게 재한다.

제14조의부칙2

장관은 내각의 승인을 받아 태국-말레 이시아 공동기구 관련 법률에 따른 공동 개발지역의 역내 수입 및 역외 수출 물 품에 대한 세금의 원칙 및 조건을 설정 하여 관세율표에 규정한 세율에서 감면 하거나 추가하는 고시를 반포할 수 있는 권한을 갖는다. 첫 번째 단락에 따른 고시, 고시의 폐지 또는 개정에 관해서는 관보에 게재한다.

제14조의부칙3

관세청장은 계약 또는 국제 협약에 명시 한 바에 따른 원산지에 관한 규정에 따 라 국내에 수입될 물품의 원산지에 관하 여 사전 검토하여 규정할 권한을 갖는 다. 첫 번째 단락에 따른 수입될 물품의 원 산지 관련 검토 및 규정은 태국이 체결 한 계약 또는 당사국으로 가입한 국제 협약에서 명시한 바에 따른 원산지에 관 한 규정을 근거·기준으로 삼으며, 소급효 가 발생하지 아니한다.

제15조

관세청장은 관세율통지고시를 제정하는 방법을 통하여 이 긴급칙령 별표의 관세 율표에 대하여 해석하는 권한을 갖는다. 첫 번째 단락에 따른 해석은 소급효가 발생하지 아니한다. 해석에는 1950년 12월 15일에 체결된 관세협력이사회 설립에 관한 협약에 따 라 설립되고 태국이 1972년 2월 4일에 해당 협약의 당사국으로 가입한 관세협 력이사회의 국제통일상품분류체계(HS) 관세율에 대한 설명과 아울러 이 긴급칙 령 별표 제1부의 관세율표 해석 원칙을 근거·기준으로 삼는다.

제15조의1

관세평가 및 납세의 편의를 위하여 관세 청장은 국내에 물품이 수입되기 전에 국 내에 수입될 물품의 유형을 사전 분류하 기 위하여 이 긴급칙령 별표의 관세율을 검토·해석할 권한을 갖는다.

제16조

이 긴급칙령 제3조에 따라 폐지되는 모 든 법령은 이 긴급칙령의 시행일 이전에 체납되었거나 납부가 이행되어야 하는 세금에 대한 징수의 집행 또는 세금의 환급에 대해서만 계속 적용한다.

제17조

이 긴급칙령 제3조에 따라 폐지된 법령 에 따라 반포된 모든 고시 또는 명령은 이 긴급칙령의 규정에 어긋나거나 모순 되지 아니하는 한 이 긴급칙령에 따른 고시 또는 명령이 반포될 때까지는 계속 적용할 수 있다.

제18조

재무부장관이 이 긴급칙령에 따른 주무 장관이 된다. 부서 뻐. 띠나쑬라논(쁘렘 띤술라논) 총리