「1992년 증권 및 증권거래소법」 (제1조-제49조)
• 국가·지역: 태국 • 제 정 일: 1992년 3월 12일 • 최종개정일: 2019년 4월 15일
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ณ วันที่ ๑๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ เป็นปีที่ ๔๗ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยค าแนะน าและยินยอม ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติท าหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้ 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서 현 왕조의 47번째 해인 1992년 (불기2535년) 3월 12일에 하사하 셨다. 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서는 다음과 같이 공포하도록 하셨다. 증권 및 증권거래소 관련 법률을 갖추는 것이 마땅하므로, 국왕 폐하께서 의회 직무를 수행 하는 입법부의 조언과 승인을 통 하여 다음과 같이 이 법을 제정 하도록 하셨다.
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์พ.ศ. ๒๕๓๕”
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นหกสิบวัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้น ไป เว้นแต่มาตรา ๔ มาตรา ๗ ถึงมาตรา ๑๖ มาตรา ๑๗ ถึงมาตรา ๓๑ มาตรา ๒๖๒ มาตรา ๒๖๓ มาตรา ๓๑๘ ถึงมาตรา ๓๒๐ และมาตรา ๓๓๒ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ให้ยกเลิก
ในพระราชบัญญัตินี้ “หลักทรัพย์” หมายความว่า
“ตั๋วเงิน” หมายความว่า ตั๋วเงินที่ออกเพื่อจัดหา เงินทุนจากประชาชนเป็นการทั่วไป ตามที่ คณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศก าหนด “หุ้นกู้” หมายความว่า ตราสารแห่งหนี้ไม่ว่าจะ เรียกชื่อใดที่แบ่งเป็นหน่วยแต่ละหน่วยมีมูลค่า เท่ากันและก าหนดประโยชน์ตอบแทนไว้เป็นการ ล่วงหน้าในอัตราเท่ากันทุกหน่วย โดยบริษัทออก ให้แก่ผู้ให้กู้ยืมเงินหรือผู้ซื้อเพื่อแสดงสิทธิที่จะ ได้รับเงินหรือผลประโยชน์อื่นของผู้ถือตราสาร ดังกล่าวแต่ไม่รวมถึงตั๋วเงิน “ผู้จัดจ าหน่ายหลักทรัพย์” หมายความว่า ผู้ท า การจัดจ าหน่ายหลักทรัพย์ให้แก่ประชาชน “หนังสือชี้ชวน” หมายความว่า เอกสารใด ๆ ที่ ออกโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อโฆษณาชี้ชวนให้ บุคคลอื่นจองซื้อหรือซื้อหลักทรัพย์ที่ตนหรือ บุคคลอื่นออกหรือเสนอขาย “บริษัท” หมายความว่า บริษัทจ ากัด บริษัท มหาชนจ ากัด และให้หมายความรวมถึง
“การเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์หมายความ ว่า การเป็นนายหน้าหรือตัวแทนเพื่อซื้อขาย หรือแลกเปลี่ยนหลักทรัพย์ให้แก่บุคคลอื่นเป็น ทางค้าปกติโดยได้รับค่านายหน้า ค่าธรรมเนียม หรือค่าตอบแทนอื่น “การค้าหลักทรัพย์” หมายความว่า การซื้อขาย หรือแลกเปลี่ยนหลักทรัพย์ในนามของตนเองเป็น ทางค้าปกติโดยกระท านอกตลาดหลักทรัพย์หรือ ศูนย์ซื้อขายหลักทรัพย์ “การเป็นที่ปรึกษาการลงทุน” หมายความว่า การให้ค าแนะน าแก่ประชาชนไม่ว่าโดยทางตรง หรือทางอ้อม เกี่ยวกับคุณค่าของหลักทรัพย์หรือ ความเหมาะสมในการลงทุนที่เกี่ยวกับ หลักทรัพย์นั้น หรือที่เกี่ยวกับการซื้อหรือขาย หลักทรัพย์ใด ๆเป็นทางค้าปกติ ทั้งนี้โดยได้รับ ค่าธรรมเนียมหรือค่าตอบแทนอื่น แต่ไม่รวมถึง การให้ค าแนะน าแก่ประชาชนในลักษณะที่ คณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศก าหนด “การจัดจ าหน่ายหลักทรัพย์” หมายความว่า การ รับหลักทรัพย์ทั้งหมดหรือบางส่วนจากบริษัท หรือเจ้าของหลักทรัพย์ไปเสนอขายต่อประชาชน โดยได้รับค่าธรรมเนียมหรือค่าตอบแทนอื่น ทั้งนี้ ไม่ว่าจะมีเงื่อนไขอย่างหนึ่งอย่างใดหรือไม่ก็ตาม “การจัดการกองทุนรวม” หมายความว่า การ จัดการลงทุนตามโครงการจัดการกองทุนรวม โดยการออกหน่วยลงทุนของแต่ละโครงการ จ าหน่ายแก่ประชาชน เพื่อน าเงินที่ได้จากการ จ าหน่ายหน่วยลงทุนนั้นไปลงทุนหรือแสวงหา ประโยชน์จากหลักทรัพย์สัญญาซื้อขายล่วงหน้า ทรัพย์สินอื่น หรือไปหาดอกผลหรือแสวงหา ประโยชน์โดยวิธีอื่น “การจัดการกองทุนส่วนบุคคล” หมายความว่า การจัดการเงินทุนของบุคคลหรือคณะบุคคลที่ได้ มอบหมายให้จัดการลงทุนเพื่อแสวงหา ผลประโยชน์จากหลักทรัพย์ไม่ว่าจะมีการลงทุน ในทรัพย์สินอื่นด้วยหรือไม่ก็ตาม ซึ่งกระท าเป็น ทางค้าปกติโดยได้รับค่าธรรมเนียมหรือ ค่าตอบแทนอื่น แต่ไม่รวมถึงการจัดการลงทุน ตามที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศก าหนด “หลักทรัพย์จดทะเบียน” หมายความว่า หลักทรัพย์ที่ได้รับการจดทะเบียนหรือได้รับการ อนุญาตให้ท าการซื้อขายได้ในตลาดหลักทรัพย์ “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้โดยประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา “ส านักงาน” หมายความว่า ส านักงาน คณะกรรมการก ากับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ “เลขาธิการ” หมายความว่า เลขาธิการส านักงาน คณะกรรมการก ากับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการ ตามพระราชบัญญัตินี้
ให้คณะกรรมการ ก.ล.ต. มีอ านาจประกาศ ก าหนดให้การประกอบกิจการในลักษณะใด ลักษณะหนึ่งไม่เป็นธุรกิจหลักทรัพย์ตาม พระราชบัญญัตินี้
เว้นแต่จะมีบทบัญญัติในพระราชบัญญัตินี้ ก าหนดไว้เป็นอย่างอื่น ในการออกใบอนุญาต และการให้ความเห็นชอบตามพระราชบัญญัตินี้ ให้คณะกรรมการ ก.ล.ต. คณะกรรมการก ากับ ตลาดทุน ส านักงาน คณะกรรมการตลาด หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ประกาศก าหนด ระยะเวลาในการพิจารณาและการสั่งการให้เป็น ที่ทราบโดยทั่วไป และในกรณีที่ไม่อนุญาตหรือ ไม่ให้ความเห็นชอบให้แจ้งเหตุผลให้ผู้ยื่นค าขอ ทราบด้วย
การลงลายมือชื่อของกรรมการหรือนาย ทะเบียนในใบหลักทรัพย์ตามพระราชบัญญัตินี้ จะใช้เครื่องจักรประทับหรือโดยวิธีอื่นใดแทน ตามที่คณะกรรมการก ากับตลาดทุนก าหนดก็ได้ ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการ ก ากับตลาดทุนประกาศก าหนด [ค าว่า “คณะกรรมการก ากับตลาดทุน”แก้ไข เพิ่มเติมโดยมาตรา ๕๖ แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑]
ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังรักษาการ ตามพระราชบัญญัตินี้และให้มีอ านาจออก กฎกระทรวงและแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อ ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจา นุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
ให้มีคณะกรรมการก ากับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์คณะหนึ่งเรียกโดยย่อว่า “คณะกรรมการ ก.ล.ต.” ประกอบด้วย ประธาน กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งโดยค าแนะน า ของรัฐมนตรีปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงพาณิชย์ผู้ว่าการธนาคารแห่ง ประเทศไทย และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่ง รัฐมนตรีแต่งตั้งโดยผ่านการคัดเลือกตามที่ ก าหนดในมาตรา ๓๑/๗ จ านวนไม่น้อยกว่าสี่คน แต่ไม่เกินหกคน เป็นกรรมการ โดยในจ านวนนี้ อย่างน้อยต้องเป็นผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมาย ด้านบัญชีและด้านการเงินด้านละหนึ่งคน และ ให้เลขาธิการเป็นกรรมการและเลขานุการ
ประธานกรรมการ ก.ล.ต. และกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับการแต่งตั้งตามมาตรา ๘ ต้องมีสัญชาติไทยและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้
คณะกรรมการก ากับตลาดทุน หรือส านักงาน ในกรณีที่มีการแต่งตั้งบุคคลตาม (๕) หรือ(๖) ผู้ได้รับการแต่งตั้งจะเริ่มปฏิบัติหน้าที่ได้ต่อเมื่อ ได้ลาออกจากต าแหน่งตาม (๕) หรือ(๖) แล้ว โดยต้องกระท าภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ ได้รับการแต่งตั้ง แต่ถ้าผู้นั้นมิได้ลาออกภายใน ระยะเวลาที่ก าหนด ให้ถือว่าผู้นั้นไม่เคยได้รับ แต่งตั้งให้เป็นประธานกรรมการ ก.ล.ต. หรือ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและให้ด าเนินการแต่งตั้ง ประธานกรรมการ ก.ล.ต. หรือกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิใหม่แทน แล้วแต่กรณี
ประธานกรรมการ ก.ล.ต. และกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับการแต่งตั้งตามมาตรา ๘ มี วาระการด ารงต าแหน่งคราวละสี่ปีและอาจ ได้รับแต่งตั้งอีกได้แต่จะแต่งตั้งให้ด ารงต าแหน่ง ติดต่อกันเกินสองวาระมิได้ เมื่อประธานกรรมการ ก.ล.ต. และกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากต าแหน่งตามวาระให้ ด าเนินการแต่งตั้งใหม่ภายในหกสิบวัน ใน ระหว่างที่ยังมิได้มีการแต่งตั้งขึ้นใหม่ ให้ประธาน กรรมการ ก.ล.ต. และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ แล้วแต่กรณีอยู่ในต าแหน่งเพื่อด าเนินงานต่อไป จนกว่าประธานกรรมการ ก.ล.ต. และกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับการแต่งตั้งใหม่เข้ารับหน้าท
นอกจากการพ้นจากต าแหน่งตามวาระ ประธานกรรมการ ก.ล.ต. และกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับการแต่งตั้งตามมาตรา ๘ พ้นจากต าแหน่งเมื่อ
ในกรณีที่ประธานกรรมการ ก.ล.ต. หรือ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากต าแหน่งก่อนวาระ คณะรัฐมนตรีอาจแต่งตั้งผู้อื่นเป็นประธาน กรรมการ ก.ล.ต. แทน หรือรัฐมนตรีอาจแต่งตั้ง ผู้อื่นเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทน แล้วแต่กรณี และให้ผู้ได้รับการแต่งตั้งให้ด ารงต าแหน่งแทน อยู่ในต าแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของ ประธานกรรมการ ก.ล.ต. หรือกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิที่ตนแทน ในระหว่างที่ยังมิได้แต่งตั้งประธานกรรมการ ก.ล.ต. หรือกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่ ให้ กรรมการ ก.ล.ต. เท่าที่เหลืออยู่ปฏิบัติหน้าที่ ต่อไปได้แต่ต้องไม่น้อยกว่าหกคน
การประชุมของคณะกรรมการ ก.ล.ต. ต้องมี กรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ จ านวนกรรมการ ก.ล.ต. ทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ ประชุม ในการประชุมของคณะกรรมการ ก.ล.ต. ถ้า ประธานกรรมการ ก.ล.ต. ไม่มาประชุมหรือไม่ อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ถ้ามีรองประธานให้รอง ประธานท าหน้าที่ประธานในที่ประชุม ถ้าไม่มี รองประธานหรือมีแต่ไม่มาประชุมหรือไม่อาจ ปฏิบัติหน้าที่ได้ให้กรรมการ ก.ล.ต. ที่มาประชุม เลือกกรรมการ ก.ล.ต. คนหนึ่งเป็นประธานในที่ ประชุม การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้าง มาก กรรมการ ก.ล.ต. คนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งใน การลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธาน ในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็น เสียงชี้ขาด
กรรมการ ก.ล.ต. ผู้ใดมีส่วนได้เสียในเรื่องที่ พิจารณาให้แจ้งการมีส่วนได้เสียนั้นและห้ามมิ ให้เข้าร่วมพิจารณาในเรื่องนั้น แนวทางการพิจารณาส่วนได้เสียตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. ก าหนด
ให้คณะกรรมการ ก.ล.ต. มีอ านาจหน้าที่วาง นโยบายการส่งเสริมและพัฒนาตลอดจนก ากับ ดูแลในเรื่องหลักทรัพย์ธุรกิจหลักทรัพย์ตลาด หลักทรัพย์ศูนย์ซื้อขายหลักทรัพย์และธุรกิจที่ เกี่ยวเนื่ององค์กรที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจ หลักทรัพย์การออกหรือเสนอขายหลักทรัพย์ต่อ ประชาชน การเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบง า กิจการและการป้องกันการกระท าอันไม่เป็นธรรม เกี่ยวกับการซื้อขายหลักทรัพย์อ านาจดังกล่าว ให้รวมถึง
บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ ค าสั่งหรือ ข้อก าหนดใด ๆ ที่ใช้บังคับเป็นการทั่วไป เมื่อได้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
ให้มีคณะกรรมการตรวจสอบที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. แต่งตั้งจ านวนไม่น้อยกว่าสามคนแต่ไม่ เกินห้าคน ในจ านวนนี้ต้องเป็นกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการ ก.ล.ต. อย่างน้อย สองคน ให้คณะกรรมการตรวจสอบแต่งตั้งพนักงาน ของส านักงานคนหนึ่งเป็นเลขานุการ คณะกรรมการตรวจสอบ
ให้คณะกรรมการตรวจสอบมีอ านาจและหน้าที่ ดังต่อไปนี้
ให้คณะกรรมการ ก.ล.ต. มีอ านาจแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่าง ใดตามที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. มอบหมายได้ ให้น าความในมาตรา ๑๒ มาใช้บังคับกับการ ประชุมของคณะอนุกรรมการโดยอนุโลม
ให้ประธานกรรมการ ก.ล.ต. กรรมการ ก.ล.ต. และคณะอนุกรรมการ ได้รับประโยชน์ตอบแทน ตามที่รัฐมนตรีก าหนด และให้ถือว่าเป็น ค่าใช้จ่ายในการด าเนินงานของส านักงาน
ให้มีคณะกรรมการก ากับตลาดทุนคณะหนึ่ง ประกอบด้วย เลขาธิการเป็นประธานกรรมการ รองเลขาธิการซึ่งเลขาธิการมอบหมายหนึ่งคน ผู้อ านวยการส านักงานเศรษฐกิจการคลัง และ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งโดย ผ่านการคัดเลือกตามที่ก าหนดในมาตรา ๓๑/๗ อีกไม่เกินสี่คน เป็นกรรมการ ทั้งนี้ผู้ทรงคุณวุฒิ อย่างน้อยสองคนต้องมีประสบการณ์ในการ บริหารกิจการบริษัทที่มีหลักทรัพย์จดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์หรือบริษัทหลักทรัพย์ ให้เลขาธิการแต่งตั้งพนักงานของส านักงานคน หนึ่งเป็นเลขานุการคณะกรรมการก ากับตลาด ทุน
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งต้องมี สัญชาติไทยและไม่มีลักษณะต้องห้ามตาม มาตรา ๙ และต้องไม่ด ารงต าแหน่งกรรมการ ผู้จัดการ บุคคลผู้มีอ านาจในการจัดการ พนักงาน ลูกจ้าง ที่ปรึกษา หรือต าแหน่งอื่นใดใน ธุรกิจหลักทรัพย์ตลาดหลักทรัพย์ศูนย์ซื้อขาย หลักทรัพย์องค์กรที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจ หลักทรัพย์ธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ศูนย์ซื้อ ขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ส านักหักบัญชี สัญญาซื้อขายล่วงหน้า สมาคมก ากับผู้ประกอบ ธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า หรือบริษัทอื่นใดซึ่ง อยู่ภายใต้การก ากับดูแลของคณะกรรมการ ก.ล.ต. คณะกรรมการก ากับตลาดทุนหรือ ส านักงาน ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ด ารงต าแหน่งกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิผู้ใดที่มีลักษณะต้องห้ามตาม มาตรา ๙ (๕) หรือตามวรรคหนึ่ง ต้องลาออก จากการเป็นบุคคลตามมาตรา ๙ (๕) หรือตาม วรรคหนึ่งแล้วแต่กรณีภายในสามสิบวันนับแต่ วันที่ได้รับการแต่งตั้ง แต่ถ้าผู้นั้นมิได้ลาออก ภายในระยะเวลาที่ก าหนด ให้ถือว่าผู้นั้นไม่เคย ได้รับแต่งตั้งให้เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและ ให้ด าเนินการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิใหม่ แทน
ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้ง ตามมาตรา ๑๖/๑ มีวาระการด ารงต าแหน่ง คราวละสี่ปีและเมื่อพ้นจากต าแหน่งแล้วอาจ ได้รับการแต่งตั้งอีกได้แต่จะแต่งตั้งให้ด ารง ต าแหน่งติดต่อกันเกินสองวาระมิได้โดยในวาระ เริ่มแรกเมื่อครบสองปีให้กรรมการออกจาก ต าแหน่งเป็นจ านวนกึ่งหนึ่งโดยวิธีจับสลาก และ ให้ถือว่าการออกจากต าแหน่งโดยการจับสลาก เป็นการออกตามวาระ เมื่อกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากต าแหน่ง ตามวาระ ให้คณะกรรมการ ก.ล.ต. เสนอรายชื่อ ผู้ทรงคุณวุฒิต่อคณะกรรมการคัดเลือกภายใน หกสิบวันเพื่อด าเนินการตามที่ก าหนดในมาตรา ๓๑/๗ ทั้งนี้ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจาก ต าแหน่งอยู่ในต าแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไป จนกว่ากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับแต่งตั้ง ใหม่เข้ารับหน้าที่ ให้น าความในมาตรา ๑๒ และมาตรา ๑๓ มา ใช้บังคับกับการประชุมของคณะกรรมการก ากับ ตลาดทุน โดยอนุโลม
นอกจากการพ้นจากต าแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๑๖/๑ พ้น จากต าแหน่งเมื่อ
ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจาก ต าแหน่งก่อนวาระ รัฐมนตรีอาจแต่งตั้งผู้อื่นเป็น กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทน และให้ผู้ได้รับการ แต่งตั้งให้ด ารงต าแหน่งแทนอยู่ในต าแหน่ง เท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ตนแทน ในระหว่างที่ยังมิได้แต่งตั้งกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่ ให้กรรมการก ากับตลาดทุน เท่าที่เหลืออยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้แต่ต้องไม่ น้อยกว่าห้าคน
ให้กรรมการก ากับตลาดทุนจัดท ารายงานการ ถือหลักทรัพย์ของตน คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่ บรรลุนิติภาวะ ยื่นต่อคณะกรรมการ ก.ล.ต. ตาม หลักเกณฑ์และระยะเวลาที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. ก าหนด
ให้คณะกรรมการก ากับตลาดทุนมีอ านาจ หน้าที่ในการปฏิบัติการเพื่อให้เป็นไปตาม พระราชบัญญัตินี้และกฎหมายอื่น โดยต้อง รับผิดชอบต่อคณะกรรมการ ก.ล.ต. อ านาจและหน้าที่ของคณะกรรมการก ากับ ตลาดทุนตามวรรคหนึ่ง ให้รวมถึง
ให้คณะกรรมการก ากับตลาดทุนมีอ านาจ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติการอย่าง หนึ่งอย่างใดตามที่คณะกรรมการก ากับตลาดทุน มอบหมายได้ ให้น าความในมาตรา ๑๒ มาใช้บังคับกับการ ประชุมของคณะอนุกรรมการ โดยอนุโลม
ให้กรรมการก ากับตลาดทุนและอนุกรรมการ ได้รับประโยชน์ตอบแทนตามที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. ก าหนด และให้ถือว่าเป็นค่าใช้จ่ายในการ ด าเนินงานของส านักงาน
ให้จัดตั้งส านักงานขึ้นเรียกว่า “ส านักงาน คณะกรรมการก ากับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์” และให้มีฐานะเป็นนิติบุคคล
ให้ส านักงานมีส านักงานแห่งใหญ่ใน กรุงเทพมหานครหรือจังหวัดใกล้เคียง และจะตั้ง สาขาหรือตัวแทนขึ้น ณ ที่อื่นใดก็ได้
ให้ส านักงานมีอ านาจและหน้าที่ ดังต่อไปนี้
ให้คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งเลขาธิการโดย ค าแนะน าของรัฐมนตรีตามข้อเสนอแนะของ คณะกรรมการ ก.ล.ต. และให้เลขาธิการมีวาระ การด ารงต าแหน่งคราวละสี่ปี และอาจได้รับการ แต่งตั้งใหม่อีกได้ แต่จะแต่งตั้งให้ด ารงต าแหน่ง ติดต่อกันเกินสองวาระมิได้
เลขาธิการต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะ ต้องห้าม ดังต่อไปนี้
นอกจากการพ้นจากต าแหน่งตามวาระ เลขาธิการพ้นจากต าแหน่งเมื่อ
ภายในสองปีนับแต่วันพ้นจากต าแหน่ง เลขาธิการจะประกอบธุรกิจหรือท างานให้แก่ ผู้ประกอบการ องค์กร หรือบริษัท หรือด ารง ต าแหน่งที่ก าหนดไว้ตามมาตรา ๑๖/๒ วรรค หนึ่ง มิได้ วรรคสอง (ยกเลิก)
ให้เลขาธิการได้รับเงินเดือนและประโยชน์ตอบ แทนอื่นตามที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. ก าหนดโดย ความเห็นชอบของรัฐมนตรี ทั้งนี้ ในการก าหนด เงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอื่นของ เลขาธิการ ให้ค านึงถึงข้อห้ามมิให้ประกอบ อาชีพตามที่ก าหนดไว้ในมาตรา ๒๒/๑ ด้วย
ให้เลขาธิการเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานและ ลูกจ้าง และรับผิดชอบในการด าเนินกิจการทั้ง ปวงของส านักงาน ในการด าเนินกิจการ เลขาธิการต้องรับผิดชอบ ต่อคณะกรรมการ ก.ล.ต.
ในกิจการของส านักงานที่เกี่ยวกับ บุคคลภายนอก ให้เลขาธิการเป็นผู้แทนของ ส านักงาน และเพื่อการนี้เลขาธิการจะมอบ อ านาจให้ตัวแทนหรือบุคคลใดกระท าการเฉพาะ อย่างแทนก็ได้
เพื่อรักษาประโยชน์ของประชาชนหรือเพื่อ คุ้มครองผู้ลงทุน ให้ส านักงานหรือบุคคลที่ได้รับ มอบหมายเป็นหนังสือจากส านักงานมีอ านาจ เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการออกหรือเสนอขาย หลักทรัพย์ บริษัทที่ออกหรือเสนอขายหลักทรัพย์ บริษัทหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์ ศูนย์ซื้อขาย หลักทรัพย์ องค์กรที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจ หลักทรัพย์ การกระท าความผิดและการลงโทษ บุคคลที่กระท าความผิด หรือข้อมูลอื่นใดที่ได้รับ เนื่องจากการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้
ให้ส านักงานมีทุนประเดิมประกอบด้วยเงินที่ โอนมาตามมาตรา ๓๑๙ และมาตรา ๓๒๐
ให้ส านักงานจัดให้มีเงินส ารองประเภทต่าง ๆ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. ก าหนดด้วยความเห็นชอบของรัฐมนตรี
บรรดาค่าธรรมเนียมตามที่ก าหนดใน กฎกระทรวงและค่าธรรมเนียมอื่นที่ส านักงาน ได้รับและรายได้อื่นอันได้มาจากการด าเนินงาน ของคณะกรรมการ ก.ล.ต. และส านักงาน ให้ตก เป็นของส านักงาน และเมื่อได้หักด้วยรายจ่าย และหักเป็นเงินส ารองตามมาตรา ๒๖ แล้ว เหลือ เท่าใดให้น าส่งเป็นรายได้ของรัฐ
การพ้นจากต าแหน่งของพนักงานของ ส านักงาน รวมทั้งการพ้นจากต าแหน่งเนื่องจาก เกษียณอายุ ให้เป็นไปตามข้อบังคับที่ คณะกรรมการ ก.ล.ต. ก าหนด ในกรณีที่มีเหตุผลสมควรเมื่อค านึงถึงต าแหน่ง หรือลักษณะงานใดที่พนักงานรับผิดชอบก่อนพ้น ต าแหน่งหรือหน้าที่ในส านักงาน ให้ คณะกรรมการ ก.ล.ต. มีอ านาจออกข้อบังคับ ก าหนดให้น าความในมาตรา ๒๒/๑ มาใช้บังคับ กับพนักงานนั้นโดยอนุโลม
มิให้น ากฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานใน ส่วนที่เกี่ยวกับการจ่ายค่าชดเชยและการจ่ายเงิน สมทบกองทุนเงินทดแทน กฎหมายว่าด้วย แรงงานสัมพันธ์ และกฎหมายว่าด้วยพนักงาน รัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ มาใช้บังคับกับเลขาธิการ พนักงาน และลูกจ้างของส านักงาน
ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ ประธานกรรมการ ก.ล.ต. กรรมการ ก.ล.ต. กรรมการก ากับตลาดทุน และเลขาธิการ เป็นเจ้า พนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
ให้ส านักงานจัดให้มีระบบบัญชีที่เหมาะสมกับ กิจการของส านักงานและจัดให้มีการสอบบัญชี ภายในเป็นประจ า
ให้ส านักงานตรวจเงินแผ่นดินเป็นผู้สอบบัญชี ของส านักงานและเสนอรายงานผลการสอบ บัญชีต่อรัฐมนตรีภายในเก้าสิบวันนับจากวันสิ้น ปีบัญชี
ให้ส านักงานจัดท ารายงานประจ าปีซึ่งแสดงถึง ฐานะการเงินและผลการด าเนินงานเสนอ รัฐมนตรี ภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับจากวันสิ้นปี บัญชี
ให้ส านักงานด้วยความเห็นชอบของ คณะกรรมการ ก.ล.ต. จัดท าแผนการด าเนินงาน ของส านักงานเสนอรัฐมนตรีเพื่อทราบเป็น ประจ าทุกปี และเปิดเผยไว้ในลักษณะที่ ประชาชนสามารถเข้าตรวจดูได้ ในกรณีที่มีเหตุอันสมควรหรือจ าเป็น ส านักงานด้วยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ก.ล.ต. อาจแก้ไขเพิ่มเติมแผนการด าเนินงาน ของส านักงานได้ โดยให้น าความในวรรคหนึ่งมา ใช้บังคับโดยอนุโลม แผนการด าเนินงานของส านักงานที่จัดท าขึ้น ตามวรรคหนึ่ง ให้จัดท าเป็นแผนสามปี เพื่อ ส่งเสริมให้การก ากับดูแลและพัฒนาตลาดทุน เป็นไปตามวัตถุประสงค์ในการคุ้มครองผู้ลงทุน เสริมสร้างความเป็นธรรม ความมีประสิทธิภาพ ความโปร่งใสของตลาดทุน และลดความเสี่ยง ของระบบการเงิน ซึ่งต้องสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ชาติและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ
ในกรณีที่จะต้องมีการแต่งตั้งกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการ ก.ล.ต. หรือใน คณะกรรมการก ากับตลาดทุน ให้รัฐมนตรี แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกจ านวนเจ็ดคนเพื่อ ท าหน้าที่คัดเลือกผู้ทรงคุณวุฒิเป็นกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการดังกล่าว คณะกรรมการคัดเลือกตามวรรคหนึ่ง ให้ แต่งตั้งจากบุคคลซึ่งเคยด ารงต าแหน่งปลัด กระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงพาณิชย์ ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เลขาธิการ คณะกรรมการกฤษฎีกา เลขาธิการสภา พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย เลขาธิการ คณะกรรมการก ากับและส่งเสริมการประกอบ ธุรกิจประกันภัย เลขาธิการส านักงาน คณะกรรมการก ากับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ หรือผู้เคยด ารงต าแหน่งกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการ ก.ล.ต. ทั้งนี้ ไม่ เกินต าแหน่งละหนึ่งคน บุคคลซึ่งเคยด ารงต าแหน่งเลขาธิการสภา พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติตาม วรรคสอง ให้หมายความรวมถึงบุคคลซึ่งเคย ด ารงต าแหน่งเลขาธิการคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติตาม กฎหมายว่าด้วยการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติด้วย กรรมการคัดเลือกต้องไม่เป็นข้าราชการซึ่งมี ต าแหน่งหรือเงินเดือนประจ า ข้าราชการ การเมือง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือสมาชิก วุฒิสภา และไม่เป็นผู้มีผลประโยชน์หรือส่วนได้ เสียอย่างมีนัยส าคัญในการปฏิบัติหน้าที่ตาม วรรคหนึ่ง ให้คณะกรรมการคัดเลือกตามวรรคหนึ่ง พิจารณาเลือกกรรมการคนหนึ่ง เป็นประธาน กรรมการคัดเลือก ให้คณะกรรมการคัดเลือกได้รับค่าตอบแทน จากส านักงานตามที่รัฐมนตรีก าหนดและให้ถือ ว่าเป็นค่าใช้จ่ายในการด าเนินงานของส านักงาน
ให้คณะกรรมการคัดเลือกก าหนดระเบียบว่า ด้วยการเสนอรายชื่อ การพิจารณาและการ คัดเลือกกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการ ก.ล.ต. หรือในคณะกรรมการก ากับตลาดทุนให้ แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับ แต่งตั้ง โดยระเบียบดังกล่าวอย่างน้อยต้อง ก าหนดให้มีการระบุข้อมูลเกี่ยวกับความรู้และ ประสบการณ์ของผู้ทรงคุณวุฒิอันเป็นประโยชน์ ต่อการปฏิบัติหน้าที่ในต าแหน่งที่ได้รับการเสนอ ชื่ออย่างเพียงพอที่คณะกรรมการคัดเลือกจะ ด าเนินการพิจารณาคัดเลือกได้ ระเบียบตามวรรคหนึ่ง ต้องได้รับความ เห็นชอบจากรัฐมนตรี และให้มีผลใช้บังคับต่อไป แม้คณะกรรมการคัดเลือกที่ก าหนดระเบียบ ดังกล่าวจะพ้นจากต าแหน่งแล้ว การแก้ไขเพิ่มเติม การยกเลิก หรือการก าหนด ระเบียบขึ้นใหม่ จะกระท าได้ก็แต่โดย คณะกรรมการคัดเลือกมีมติด้วยคะแนนเสียงไม่ น้อยกว่าสองในสามของจ านวนกรรมการทั้งหมด และให้มีผลใช้บังคับเมื่อได้รับความเห็นชอบจาก รัฐมนตรี ให้คณะกรรมการคัดเลือกเปิดเผยระเบียบที่ ก าหนดขึ้นตามมาตรานี้ไว้ในลักษณะที่ ประชาชนสามารถเข้าตรวจดูได้
คณะกรรมการคัดเลือกทั้งคณะพ้นจาก ต าแหน่งเมื่อด าเนินการคัดเลือกและได้มีการ แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการ ก.ล.ต. หรือในคณะกรรมการก ากับตลาดทุน เสร็จสิ้นตามที่ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ คัดเลือกเพื่อด าเนินการคัดเลือกในครั้งนั้น
การประชุมของคณะกรรมการคัดเลือกต้องมี กรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าสองในสามของ จ านวนกรรมการคัดเลือกทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ ประชุม ให้น าความในมาตรา ๑๒ มาใช้บังคับกับการ ประชุมของคณะกรรมการคัดเลือกโดยอนุโลม
ในการคัดเลือกกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิใน คณะกรรมการ ก.ล.ต. และคณะกรรมการก ากับ ตลาดทุน ให้บุคคลดังต่อไปนี้ร่วมกันเสนอรายชื่อ ผู้ทรงคุณวุฒิจ านวนสองเท่าของจ านวน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่จะแต่งตั้งต่อ คณะกรรมการคัดเลือก
ในกรณีที่คณะกรรมการคัดเลือกไม่เห็นชอบกับ รายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิที่เสนอตามวรรคหนึ่ง คณะกรรมการคัดเลือกมีอ านาจให้มีการ ด าเนินการเสนอรายชื่อใหม่ได้ เมื่อคณะกรรมการคัดเลือกพิจารณาคัดเลือก ผู้ทรงคุณวุฒิที่สมควรได้รับการแต่งตั้งเป็น กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการ ก.ล.ต. หรือคณะกรรมการก ากับตลาดทุน แล้วแต่กรณี แล้ว ให้เสนอชื่อต่อรัฐมนตรีเพื่อแต่งตั้ง
ห้ามมิให้ผู้เริ่มจัดตั้งบริษัทมหาชนจ ากัดเสนอ ขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อประชาชนหรือบุคคลใด ๆ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากส านักงานและปฏิบัติ ตามมาตรา ๖๕ การขออนุญาตตามวรรคหนึ่ง จะกระท าได้ ต่อเมื่อผู้เริ่มจัดตั้งบริษัทดังกล่าวได้จดทะเบียน หนังสือบริคณห์สนธิตามกฎหมายว่าด้วยบริษัท มหาชนจ ากัดแล้ว
้ามมิให้บริษัทเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ ประเภทหุ้น หุ้นกู้ ตั๋วเงิน ใบส าคัญแสดงสิทธิท จะซื้อหุ้น ใบส าคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นกู้ และ หลักทรัพย์อื่นใดที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. ก าหนด เว้นแต่
ในกรณีที่เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออก ใหม่ ส าหรับกองทรัสต์ตามกฎหมายว่า ด้วยทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุนตามประเภท กองทรัสต์และประเภทหลักทรัพย์ที่ คณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศก าหนด คณะกรรมการ ก.ล.ต. อาจก าหนดให้บุคคล ดังต่อไปนี้เป็นผู้ยื่นค าขออนุญาตเสนอขาย หลักทรัพย์ตามมาตรา ๓๓
เมื่อยื่นค าขอแล้ว ก่อนที่จะได้รับอนุญาตให้ เสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ ให้บุคคลตาม (๑) และ (๒) มีหน้าที่และความรับผิดชอบในการ เปิดเผยข้อมูลเช่นเดียวกับบริษัทที่ออก หลักทรัพย์ และภายหลังที่ได้รับอนุญาต ให้ บุคคลตาม (๒) มีหน้าที่และความรับผิดชอบใน การเปิดเผยข้อมูล รวมทั้งหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติตาม บทบัญญัติในหมวด ๒ การออกหลักทรัพย์ของ บริษัท และหมวด ๓ การเสนอขายหลักทรัพย์ต่อ ประชาชน เช่นเดียวกับที่ก าหนดให้เป็นหน้าที่ และความรับผิดชอบของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ ในกรณีที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. เห็นสมควร เพื่อให้เหมาะสมกับลักษณะของหลักทรัพย์ บริษัทที่ออกหลักทรัพย์ ผู้ลงทุน และการเสนอ ขายหลักทรัพย์นั้น คณะกรรมการ ก.ล.ต. อาจ ก าหนดให้บุคคลตาม (๑) และ (๒) ได้รับยกเว้น การปฏิบัติหรือปฏิบัติแตกต่างไปจากบทบัญญัติ ในส่วนที่ ๔ การจัดท าทะเบียนและการโอนของ หมวด ๒ การออกหลักทรัพย์ของบริษัท หรือ มาตรา ๘๘ ทั้งหมดหรือแต่เพียงบางส่วนก็ได้
ในกรณีที่เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออก ใหม่ตามประเภทที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศก าหนด ซึ่งผลตอบแทนของหลักทรัพย์ นั้นขึ้นอยู่กับฐานะทางการเงินและผลการ ด าเนินงานของบุคคลอื่นที่มิใช่บริษัทที่ออก หลักทรัพย์โดยบุคคลอื่นนั้นยินยอม คณะกรรมการ ก.ล.ต. อาจก าหนดให้บุคคลอื่น นั้นมีหน้าที่และความรับผิดชอบร่วมกับบริษัทที่ ออกหลักทรัพย์ในการเปิดเผยข้อมูลที่เป็น ประโยชน์ต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุน ซึ่งรวมถึง การเปิดเผยข้อมูลก่อนและภายหลังที่ได้รับ อนุญาตให้เสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ด้วยก็ ได
การเสนอขายหุ้นของบริษัทจ ากัดตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ไม่ว่าจะกระท าโดย บริษัทจ ากัดที่ออกหุ้นนั้นหรือผู้ถือหุ้นของบริษัท ดังกล่าวมิให้กระท าเป็นการทั่วไปหรือต่อบุคคล ในวงกว้าง เว้นแต่จะได้รับยกเว้นหรือปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการที่คณะกรรมการ ก ากับตลาดทุนประกาศก าหนด
การขอเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่และการ อนุญาตตามมาตรา ๓๒ และมาตรา ๓๓ ให้ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการที่ คณะกรรมการก ากับตลาดทุนประกาศก าหนด ในการนี้ คณะกรรมการก ากับตลาดทุนอาจ ประกาศก าหนดรายละเอียดในเรื่องดังต่อไปนี้ไว้ ด้วยก็ได้
[ค าว่า “คณะกรรมการก ากับตลาดทุน” แก้ไข เพิ่มเติมโดยมาตรา ๕๖ แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑]
ภายใต้บังคับมาตรา ๓๓ คณะกรรมการ ก.ล.ต. อาจก าหนดให้บริษัทที่จัดตั้งขึ้นตาม กฎหมายต่างประเทศและอยู่ภายใต้บังคับ กฎหมายต่างประเทศที่มีมาตรการคุ้มครองผู้ ลงทุนในท านองเดียวกันกับที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศก าหนด ได้รับยกเว้นการปฏิบัต หรือปฏิบัติแตกต่างไปจากบทบัญญัติในส่วนที่ ๒ หุ้นกู้ ส่วนที่ ๓ การออกหุ้นกู้มีประกัน ส่วนที่ ๔ การจัดท าทะเบียนและการโอน หรือส่วนที่ ๕ การเปิดเผยข้อมูลและผู้สอบบัญชี ของหมวดนี้ หรือตามหมวด ๓ การเสนอขายหลักทรัพย์ต่อ ประชาชนทั้งหมดหรือแต่เพียงบางส่วนก็ได้ ทั้งนี้ เพื่อให้เหมาะสมกับลักษณะของหลักทรัพย์ บริษัทที่ออกหลักทรัพย์ผู้ลงทุน และการเสนอ ขายหลักทรัพย์นั้น
ในการพิจารณาค าขออนุญาต ให้ส านักงาน แจ้งผลการพิจารณาให้ผู้ยื่นค าขอทราบภายในสี่ สิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับค าขอพร้อมทั้งเอกสาร หลักฐานที่ถูกต้องและครบถ้วนตามมาตรา ๓๕
ิให้น าบทบัญญัติมาตรา ๑๒๒๙ แห่ง ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ห้ามมิให้ บริษัทจ ากัดออกหุ้นกู้ มาใช้บังคับแก่บริษัทจ ากัด ที่ได้รับอนุญาตให้ออกหุ้นกู้ตามพระราชบัญญัติ นี้
มิให้น าบทบัญญัติมาตรา ๖๕๔ แห่งประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ห้ามมิให้คิดดอกเบี้ย เกินอัตรา มาใช้บังคับแก่หลักทรัพย์ประเภทหุ้นกู้ และตั๋วเงินที่เสนอขายตามพระราชบัญญัตินี้
หุ้นกู้ของบริษัทต้องมีมูลค่าไม่น้อยกว่าฉบับละ หนึ่งร้อยบาทโดยช าระเป็นเงินและผู้ซื้อจะขอหัก กลบลบหนี้กับบริษัทมิได้
ใบหุ้นกู้อย่างน้อยต้องมีรายการ ดังต่อไปนี้
[ค าว่า “คณะกรรมการก ากับตลาดทุน” แก้ไข เพิ่มเติมโดยมาตรา ๕๖ แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑]
ในการขออนุญาตตามมาตรา ๓๓ เพื่อออกหุ้น กู้มีประกัน ผู้ขออนุญาตต้องด าเนินการ ดังต่อไปนี้ด้วย
ในกรณีที่บริษัทมหาชนจ ากัดจะเสนอขายหุ้นกู้ มีประกันที่ออกใหม่ต่อผู้ถือหุ้นซึ่งไม่ต้องขอ อนุญาตตามมาตรา ๓๓ ให้บริษัทมหาชนจ ากัด ด าเนินการตามวรรคหนึ่งก่อนการเสนอขายหุ้นกู้ ด้วย [ค าว่า “คณะกรรมการก ากับตลาดทุน” แก้ไข เพิ่มเติมโดยมาตรา ๕๖ แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑]
้อก าหนดว่าด้วยสิทธิและหน้าที่ของผู้ออกหุ้น กู้และผู้ถือหุ้นกู้อย่างน้อยต้องมีสาระส าคัญ ดังต่อไปนี้
[ค าว่า “คณะกรรมการก ากับตลาดทุน” แก้ไข เพิ่มเติมโดยมาตรา ๕๖ แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑]
สัญญาแต่งตั้งผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้อย่างน้อยต้องมี สาระส าคัญ ดังต่อไปนี้
[ค าว่า “คณะกรรมการก ากับตลาดทุน” แก้ไข เพิ่มเติมโดยมาตรา ๕๖ แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑]
เมื่อผู้ออกหุ้นกู้มีประกันได้เสนอขายหุ้นกู้มี ประกันต่อผู้ถือหุ้นหรือต่อประชาชนหรือบุคคล ใด ๆ แล้ว ให้ผู้ออกหุ้นกู้มีสิทธิและหน้าที่ตาม ข้อก าหนดตามมาตรา ๔๑ (๑) และตามที่ บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ และให้ผู้ออกหุ้น กู้มีประกันแต่งตั้งผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ตามค ายินยอม ของผู้ถือหุ้นกู้ พร้อมกับด าเนินการจ านอง จ าน า หรือจัดให้มีหลักประกันอย่างอื่นให้กับผู้แทนผู้ ถือหุ้นกู้ดังกล่าวภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ปิดการ เสนอขาย
ให้ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้มีอ านาจกระท าการในนาม ของตนเองเพื่อประโยชน์ของผู้ถือหุ้นกู้ทั้งปวงใน การรับจ านอง รับจ าน า หรือรับหลักประกันอย่าง อื่น การใช้สิทธิบังคับหลักประกัน และการ ด าเนินการให้ผู้ออกหุ้นกู้มีประกันปฏิบัติตาม ข้อก าหนดที่ให้ไว้กับผู้ถือหุ้นกู้รวมทั้งการเรียก ค่าเสียหาย การกระท าของผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่าเป็นการกระท าของผู้ถือหุ้นกู้โดยตรง
ให้คณะกรรมการก ากับตลาดทุนมีอ านาจ ประกาศก าหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการ ในการกระท าตามอ านาจหน้าที่ของผู้แทนผู้ถือ หุ้นกู้ได้ [ค าว่า “คณะกรรมการก ากับตลาดทุน” แก้ไข เพิ่มเติมโดยมาตรา ๕๖ แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑]
นอกจากหน้าที่ตามที่ก าหนดไว้ในสัญญา แต่งตั้ง ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้มีหน้าที่ดูแลรักษา ประโยชน์ของผู้ถือหุ้นกู้ ในกรณีที่ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้กระท าการ งดเว้น กระท าการ หรือละเลยไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามวรรค หนึ่งจนก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ถือหุ้นกู้ ให้ผู้ ถือหุ้นกู้หรือส านักงานมีสิทธิฟ้องร้องบังคับคดี กับผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้เพื่อประโยชน์ของผู้ถือหุ้นกู้ทั้ง ปวงได้ ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นกู้เป็นผู้ฟ้องร้องบังคับคดี ผู้ ถือหุ้นกู้ดังกล่าวต้องมีจ านวนหุ้นกู้มีประกัน หรือ ได้รับแต่งตั้งจากผู้ถือหุ้นกู้อื่นซึ่งมีจ านวนหุ้นกู้มี ประกันรวมกันไม่ต ่ากว่าร้อยละสิบของจ านวน หุ้นกู้มีประกันที่จ าหน่ายได้แล้วทั้งหมด
ในกรณีที่ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้กระท าความผิด เกี่ยวกับทรัพย์ตามบทบัญญัติในหมวด ๑ หมวด ๓ หมวด ๔ หมวด ๕ หรือหมวด ๗ ของลักษณะ ๑๒ แห่งประมวลกฎหมายอาญา ให้ส านักงาน เป็นผู้เสียหายตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญาด้วย ในกรณีตามวรรคหนึ่ง เมื่อพนักงานอัยการยื่น ฟ้องคดีอาญา ให้พนักงานอัยการมีอ านาจเรียก ทรัพย์สินหรือราคาหรือค่าสินไหมทดแทนเพื่อ ความเสียหายแทนผู้ได้รับความเสียหายด้วย ใน การนี้ ให้น าบทบัญญัติว่าด้วยการฟ้องคดีแพ่งที่ เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาตามประมวลกฎหมายวิธี พิจารณาความอาญามาใช้บังคับโดยอนุโลม
ในการออกหุ้นกู้ลักษณะอื่นนอกจากหุ้นกู้มี ประกัน หากผู้ออกหุ้นกู้ประสงค์จะจัดให้มีผู้แทน ผู้ถือหุ้นกู้ ผู้ออกหุ้นกู้ต้องแสดงความจ านงใน ขณะที่ขออนุญาตออกหุ้นกู้และให้น าบทบัญญัติ มาตรา ๔๑ มาตรา ๔๒ มาตรา ๔๓ มาตรา ๔๔ มาตรา ๔๕ มาตรา ๔๖ มาตรา ๔๗ และมาตรา ๔๘ รวมทั้งบทก าหนดโทษที่เกี่ยวข้องมาใช้ บังคับกับการขออนุญาตการท าข้อก าหนดและ สัญญาแต่งตั้งผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ อ านาจหน้าที่ของ ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ และการฟ้องร้องบังคับคดีกับ ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้โดยอนุโลม
「1992년 증권 및 증권거래소법」 (제1조-제49조)
• 국가·지역: 태국 • 제 정 일: 1992년 3월 12일 • 최종개정일: 2019년 4월 15일
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ณ วันที่ ๑๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ เป็นปีที่ ๔๗ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยค าแนะน าและยินยอม ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติท าหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้ 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서 현 왕조의 47번째 해인 1992년 (불기2535년) 3월 12일에 하사하 셨다. 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서는 다음과 같이 공포하도록 하셨다. 증권 및 증권거래소 관련 법률을 갖추는 것이 마땅하므로, 국왕 폐하께서 의회 직무를 수행 하는 입법부의 조언과 승인을 통 하여 다음과 같이 이 법을 제정 하도록 하셨다.
이 법은 "1992년 증권 및 증 권거래소법"이라고 한다.
이 법은 관보에 게재 후 60일 이 경과한 날부터 시행하도록 하되, 제4조와 제16조, 제17조 부터 제31조까지, 제262조, 제 263조, 제318조부터 제320조까 지 및 제332조는 관보에 게재 한 이튿날부터 시행한다.
다음 각항의 법률은 폐지한다.
이 법에서 사용하는 용어의 뜻 은 다음과 같다. “증권”이란 다음 각항을 말한 다.
“어음”이란 증권위가 고시하는 바에 따라 일반 대중으로부터 자금을 조달하기 위하여 발행되 는 어음을 말한다. “사채”란 명칭에 관계없이, 동 일한 가치를 지닌 각 단위로 구 분되고 모든 단위가 동일한 비 율로 사전에 보상을 정하여 두 는 부채증권을 말하며, 해당 증 권 보유자의 금전 또는 기타 이 익 취득 권리를 표시하기 위하 여 회사가 대출자 또는 구매자 에게 발행하나, 어음은 포함하 지 아니한다. “언더라이터2† ”란 대중에게 증 권을 공급하는 사람을 말한다. “투자설명서”란 다른 사람에게 본인 또는 다른 사람이 발행하 거나 판매하는 증권에 대한 매 입 약정 또는 매입 권유를 광고 하기 위한 목적으로 발행되는 서류를 말한다. “회사”란 유한회사와 공개유한 회사를 말하며, 다음 각항을 포 함하여 말한다.
1* (역자주) 태국어로는 ก.ล.ต.(꺼.러.떠)라고 한다. คณะกรรมการก ากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย(카나깜 마깐깜깝락삽래딸랏락쌉)의 약칭이며, 영문 약칭으로는 SEC(The Securities and Exchange Commission)이다.
2† 언더라이터(underwriter): 유가 증권 따위의 인수·판매를 업무로 하는 금융업자. (출처: 표준국어 대사전)
“증권위탁매매”란 중개료나 수 수료 또는 기타 보수를 받고 통 상적 거래를 통하여 다른 사람 과 증권을 매매 또는 교환하는 것을 말한다. “증권자기매매”란 증권거래소 또는 증권거래센터 장외 거래를 통하여 본인의 명의로 증권을 매매하거나 교환하는 것을 말한 다. “투자자문”이란 수수료 또는 기 타 보수를 받고 증권의 가치나 해당 증권 관련 투자 적합성 또 는 일반적인 거래를 통한 증권 매매와 관련하여 직간접적으로 대중에게 자문을 제공하는 것을 말하나, 증권위가 고시하는 유 형의 자문을 대중에게 제공하는 것은 포함하지 아니한다. “증권인수주선”이란 수수료 또 는 기타 보수를 받고 회사 또는 증권 소유자의 증권 전체 또는 일부를 인수하여 대중에게 투자 를 권유하는 것을 말하며, 조건 의 유무와는 관계가 없다. “뮤추얼펀드 운용”이란 뮤추얼 펀드 운영 계획에 따른 투자 운 용을 말하며, 투자 단위 판매 수익금을 증권, 선물거래, 기타 자산에 투자 또는 이익을 추구 하거나, 기타 수단을 통한 수익 모색 또는 이익을 추구하기 위 하여 각 계획의 투자 단위를 발 행하여 일반에 판매한다. “개인신탁자산운용”이란 기타 자산에 대한 투자 여부와 관계 없이, 증권에서 이익을 추구하 기 위하여 투자 운용을 위탁한 개인 또는 단체의 투자금을 수 수료 또는 기타 보수를 받고 일 반적 거래 행위를 하여 운용하 는 것을 말하나, 증권위가 고시 하는 바에 따른 투자운용은 포 함하지 아니한다. “상장증권”이란 증권거래소에서 의 거래가 등록 또는 허가된 증 권을 말한다. “담당관”이란 장관이 관보 게재 를 통하여 이 법에 따라 집행하 도록 임명하는 사람을 말한다. “사무처”란 태국증권거래위원회 사무처를 말한다. “사무처장”이란 태국증권거래위 원회 사무처장을 말한다. “장관”이란 이 법의 주무 장관 을 말한다.
증권위는 이 법에 따른 증권업 에 속하지 아니하는 특정 유형 의 사업을 운영하도록 고시하는 권한을 갖는다.
이 법에서 다르게 정한 규정이 있는 것을 제외하고, 이 법에 따른 면허 발급 및 승인은 증권 위와 자본시장감독위원회, 사무 처, 증권거래소위원회 및 증권 거래소가 검토 및 명령 기간을 고시하여 일반적으로 알리도록 하며, 불허 또는 불승인하는 경 우에는 신청자에게 사유를 통보 한다.
이 법에 따라 위원 또는 등기 담당관이 증권에 서명하는 경우 에는 기기를 사용하여 날인하거 나, 자본시장감독위원회가 정하 는 바에 따른 기타 방법으로 대 체하여 서명할 수 있다. 이와 관련하여 자본시장감독위원회가 고시하는 원칙 및 절차를 따른 다. [“자본시장감독위원회”라는 용 어는 「2008년 증권 및 증권거 래소법 (제4권)」 제56조를 통 하여 개정됨.]
재무부 장관이 이 법을 주관하 도록 하며, 이 법에 따른 집행 을 위한 부령 제정 및 담당관 임명 권한을 갖는다. 해당 부령은 관보에 게재를 완 료한 때에 시행한다.
3‡ (역자주) 태국어로는 คณะกรรมการก ากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย(카나깜마깐깜깝락삽래딸랏락쌉) 으로 직역하면 “증권 및 증권거래소 감독위원회”로 번역되어야 하나, 현재 우리나라에서 통용되고 있는 명칭인 증권거래위원회로 의역함.
장관의 추천을 통하여 내각이 임명하는 위원장, 재무부 차관, 상무부 차관, 태국은행장 및 제 31조의7에서 규정하는 바에 따 른 선정을 거쳐 장관이 임명하 는 법률 분야와 회계 분야 및 금융 분야의 전문가를 각각 1인 이상 포함하는 4인 이상, 6인 이하의 전문 위원을 위원으로 하고, 사무처장을 위원 겸 간사 로 하여 구성되는 “증권위”라는 약칭의 증권거래위원회를 둔다.
제8조에 따라 임명되는 증권위 원장 및 전문위원은 태국 국적 자이어야 하며, 다음 각항의 금 지사항에 해당하지 아니하여야 한다.
제(5)항 또는 제(6)항에 따른 사람을 임명하는 경우, 임명된 사람은 임명된 날부터 30일 이 내에 제(5)항 또는 제(6)항에 따 른 직에서 사임한 때에 직무 수 행을 개시할 수 있으나, 기한 내에 사임하지 아니하는 사람에 대해서는 증권위원장 또는 전문 위원으로 임명된 적이 없다고 보도록 하며, 경우에 따라 증권 위원장 또는 전문위원 임명을 다시 실시한다.
제8조에 따라 임명되는 증권위 위원장과 전문위원의 임기는 4 년이며, 재임명될 수 있으나, 2 회를 초과하여 연임할 수 없다. 증권위 위원장 및 전문위원이 임기에 따라 이임한 때에는 60 일 이내에 새로운 임명을 실시 한다. 아직 새로운 임명이 실시 되지 아니한 동안에는 경우에 따라 증권위 위원장 및 전문위 원이 새로 임명되는 증권위 위 원장 및 전문위원이 취임할 때 까지 직무를 수행하기 위하여 재임한다.
임기에 따른 이임 이외에 제8 조에 따라 임명되는 증권위 위 원장 및 전문위원은 다음 각항 의 어느 하나에 해당하는 때에 이임한다.
증권위 위원장 또는 전문위원 이 임기 만료 전에 이임하는 경 우, 경우에 따라 내각이 다른 사람을 증권위 위원장 대리로 임명하거나, 장관이 다른 사람 을 전문위원 대리로 임명할 수 있으며, 대리로 임명된 사람은 본인이 대리하는 증권위 위원장 또는 전문위원의 남은 임기와 같은 기간 동안 재임한다. 아직 새로운 증권위 위원장 또 는 전문위원을 임명하지 아니한 동안에는 남아 있는 증권위 위 원으로만 계속 직무 수행을 하 도록 하나, 최소 6인 이상이어 야 한다.
증권위의 회의는 전체 증권위 위원 수의 과반이 출석하여야 회의체가 구성된다. 증권위 회의에 증권위 위원장 이 불참하거나, 직무 수행이 불 가능하다면, 부위원장이 있는 경우에는 부위원장이 회의의 의 장 역할을 한다. 부위원장이 존 재하지 아니하거나, 존재하나 회의에 불참하였거나 직무 수행 이 불가능하다면, 회의에 출석 한 증권위 위원이 직접 위원 중 한 사람을 회의의 의장으로 선 출한다. 회의의 결정은 다수결에 따르 도록 한다. 증권위 위원 한 사 람은 1표의 투표권을 갖는다. 득표수가 같다면 의장이 추가로 1표를 결정투표에 행사한다.
검토 중인 사안과 이해관계가 있는 증권위 위원은 그러한 이 해관계에 대하여 알리고 해당 사안에 대한 검토에는 참여하지 아니한다. 첫 번째 단락에 따른 이해관계 에 관한 검토 지침은 증권위가 규정하는 바에 따른다.
증권위는 증권과 증권업, 증권 거래소, 증권거래센터 및 관련 사업, 증권업 관련 기관, 증권 발행 또는 공모, 사업 지배를 위한 증권 취득 및 증권 거래 관련 불공정 행위 방지에 대한 사안에서 지원 및 시장 개발 정 책 수립 권한을 가지도록 하며, 해당 권한은 다음 각항을 포함 한다.
일반적으로 적용되는 모든 규 칙이나 규정, 고시, 명령 또는 제약은 관보에 게재 완료한 때 에 시행한다.
증권위가 임명하는 증권위 전 문위원 2인 이상을 포함하는 3 인 이상 5인 이하의 감사위원회 를 두도록 한다. 감사위원회는 사무처의 직원 1 인을 감사위원회 간사로 임명한 다.
감사위원회는 다음 각항의 권 한과 직무를 담당한다.
증권위에 증권위원회가 위촉하 는 바에 따른 특정한 직무 수행 을 위한 소위원회 임명권을 가 지도록 한다. 제12조의 내용을 소위원회의 회의에 준용한다.
증권위 위원장과 증권위 위원 및 소위원회는 장관이 정하는 보수를 받도록 하고 사무처의 업무 수행 비용으로 보도록 한 다.
사무처장을 위원장으로 하고, 사무처장이 위임하는 사무차장 1인과 재정경제사무소장 및 제 31조의7에서 규정하는 바에 따 른 선정을 거쳐 장관이 임명하 는 4인 이하의 전문위원을 위원 으로 하여 구성되는 자본시장감 독위원회를 두도록 한다. 이와 관련하여 전문위원 최소 2인은 상장 회사 또는 증권회사 관리 경력이 있어야 한다. 사무처장이 사무처 직원 1인을 자본시장감독위원회 간사로 임 명한다.
장관이 임명하는 전문위원은 태국 국적자이어야 하며, 제9조 에 따른 금지사항에 해당하지 아니하여야 한다. 또한, 증권업 이나 증권거래소, 증권거래센터, 증권업 관련 기관, 선물거래업, 선물거래센터, 선물거래청산소, 선물거래사업자감독협회 또는 증권위나 자본시장감독위원회 또는 사무처의 관리·감독 하에 있는 기타 회사의 이사나 관리 자, 운영자, 임직원, 고문 또는 기타 직에 재직하지 아니하여야 한다. 장관이 전문위원으로 재임하도 록 임명하는 사람 중 제9조제 (5)항 또는 첫 번째 단락에 따 른 금지사항에 해당하는 사람은 임명된 날부터 30일 이내에 따 라 제9조제(5)항 또는 첫 번째 단락에 따른 직에서 사임하여야 하나, 해당자가 기한 내에 사임 하지 아니한다면, 해당자가 전 문위원으로 임명된 적이 없는 것으로 간주하여, 전문위원 임 명을 새로 실시한다.
제16조의1에 따라 장관이 임 명하는 전문위원의 재임 기간은 4년이며, 이임한 때에는 재임명 될 수 있으나, 2회를 초과하여 연임하는 것은 불가하다. 임기 초 만2년이 된 때에는 추첨 방 식으로 위원수의 반수가 이임하 도록 하며, 추첨을 통한 이임은 임기에 따른 이임으로 간주한 다. 전문위원이 임기 만료로 이임 하는 때에는 증권위가 제31조의 7에서 정하는 바에 따른 조치를 위하여 60일 이내에 선정위원회 에 적격자 명단을 제출한다. 이 와 관련하여 전문위원은 새로 임명되는 전문위원이 취임할 때 까지 재임하여 계속 직무를 수 행한다. 제12조 및 제13조의 내용을 자본시장감독위원회의 회의에 준용한다.
제16조의1에 따른 전문위원은 임기 만료에 따른 이임 이외에 다음 각항의 어느 하나에 해당 하는 때에 이임한다.
전문위원이 임기 만료 전에 이 임하는 경우에는 장관이 다른 사람을 대리 전문위원으로 임명 할 수 있으며, 임명된 사람은 본인이 대리하는 전문위원의 남 은 임기와 같은 기간 동안 재임 한다. 아직 새로운 전문위원을 임명 하지 아니한 동안에는 남아 있 는 자본시장감독위원회 위원이 계속 직무를 수행하도록 하나, 적어도 5인 이상이 되어야 한 다.
자본시장감독위원회 위원은 본 인과 배우자 및 미성년 자녀의 증권 보유에 대한 보고서를 작 성하여 증권위가 정하는 원칙과 기간에 따라 증권위에 제출한 다.
자본시장감독위원회는 이 법 및 기타 법률에 따라 진행되도 록 하기 위한 집행 권한과 직무 를 담당하도록 하며, 증권위에 대한 책임을 져야 한다. 첫 번째 단락에 따른 자본시장 감독위원회의 권한 및 직무는 다음 각항을 포함한다.
자본시장위원회는 자본시장위 원회가 위임하는 업무를 수행하 도록 하기 위한 소위원회를 임 명하는 권한을 갖는다. 제12조의 내용을 소위원회 회 의에 준용한다.
자본시장감독위원회와 소위원 회는 증권위가 책정하는 바에 따라 보수를 받도록 하고 사무 처의 업무 수행 비용으로 보도 록 한다.
“증권거래감독위원회 사무처” 라는 명칭의 사무처를 설치하 고, 법인 지위를 부여한다.
사무처는 방콕시 또는 인근 짱 왓(도)에 본사를 두며, 다른 곳 에 지점 또는 대리점을 설치할 수 있다.
사무처는 다음 각항의 권한과 직무를 담당한다.
증권위의 추천에 따른 장관의 건의를 통하여 내각이 사무처장 을 임명한다. 또한 사무처장의 임기는 4년으로 하며, 재임명될 수 있다. 다만, 2년을 초과하여 연임하도록 하는 임명은 불가하 다.
사무처장은 다음 각항의 자격 을 갖추어야 하며, 금지사항에 는 해당하지 아니하여야 한다.
임기 만료에 따른 퇴임 이외에 사무처장은 다음 각항의 어느 하나에 해당하는 때에 퇴임한 다.
사무처장은 퇴임한 날부터 2년 이내에 제16조의2 두 번째 단 락에 따라 규정한 사업을 운영 하거나, 사업자나 기관 또는 회 사에 근로를 제공하거나 재직할 수 없다. 두 번째 단락 (삭제)
사무처장은 장관의 승인을 통 하여 증권위가 정하는 바에 따 른 급여 및 보수를 받는다. 이 와 관련하여 사무처장의 급여 및 보수를 책정하는 때에는 제 22조의1에서 규정하는 바에 따 른 직업 종사 금지 사항에 대해 서도 고려한다.
사무처장은 사무처의 임직원을 지휘하고 모든 업무 수행에 대 한 책임을 진다. 사무처장은 증권위에 사업 운 영에 대한 책임을 져야 한다.
제삼자 관련 사무처 업무에서 는 사무처장이 사무처의 대표가 되며, 이를 위하여 사무처장은 특정 행위를 대리인 또는 특정 인에게 대행하도록 위임할 수 있다.
대중의 이익을 지키거나 투자 자를 보호하기 위하여, 사무처 또는 사무처의 서면 위임을 받 은 사람이 증권 발행 또는 공모 나 증권을 발행 또는 공모하는 회사, 증권사, 증권거래소, 증권 거래센터, 증권업 관련 기관, 위 법 행위 및 위법 행위자에 대한 처벌 관련 자료 또는 이 법에 따른 집행을 통하여 취득한 기 타 자료를 공개할 권한을 갖는 다.
사무처의 초기자본은 제319조 및 제320조에 따라 이관되는 자금으로 구성한다.
사무처는 장관의 승인을 통하 여 증권위가 정하는 원칙과 절 차에 따라 각종 예비금을 마련 한다.
부령에서 정하는 모든 수수료 와 사무처가 수납하는 기타 수 수료 및 증권위와 사무처의 운 영을 통하여 취득한 기타 수입 은 사무처에 귀속되도록 하며, 지출을 차감하고, 제26조에 따 른 예비금으로 공제 후 남은 잔 액은 국가의 세입으로 송금한 다.
정년퇴직을 포함한 사무처 직 원의 퇴직은 증권위가 정하는 규칙을 따른다. 사무처의 직위 또는 직책에서 퇴임하기 전에 직원이 담당한 직위 또는 업무를 고려하여 정 당한 사유가 있는 경우에는 증 권위가 제22조의1의 내용을 준 용하도록 규정하는 규칙 설정 권한을 갖는다.
근로 보호 관련 법률과 근로관 계 관련 법률 및 국영 기업 근 로 관련 법률의 보상금 지급 및 보상 기금 분담금 지급과 관련 한 부분은 사무처장 및 사무처 의 임직원에 대해서는 적용하지 아니한다.
이 법에 따라 집행하는 때에 증권위 위원장과 증권위 위원, 자본시장감독위원회 위원 및 사 무처장은 「형법전」에 따른 담 당관이 된다.
사무처는 사무처의 업무에 적 합한 회계 시스템을 갖추고 정 기적인 내부 회계 감사를 실시 하여야 한다.
감사원이 사무처의 회계를 감 사하고 회계연도 말일부터 90일 이내에 감사 결과를 장관에게 제출한다.
사무처는 재정 상태 및 운영 실적을 나타내는 연례보고서를 작성하여 회계연도 말일부터 120일 이내에 장관에게 제출하 여야 한다.
사무처는 증권위의 승인을 통 하여 사무처의 운영 계획을 수 립하여 매년 장관에게 보고하고 대중이 열람할 수 있는 형태로 공개하여야 한다. 정당한 사유가 있거나 필요한 경우에는 첫 번째 단락의 내용 을 준용하여 사무처가 증권위의 승인을 통하여 사무처의 운영 계획을 수정할 수 있다. 첫 번째 단락에 따른 사무처의 운영 계획 수립은 자본 시장 관 리·감독 및 개발이 투자자 보호 와 자본 시장의 공정성과 효율 성 및 투명성 제고와 금융 시스 템의 위험성 축소 취지를 따르 도록 하기 위하여 3개년 계획으 로 수립한다.
증권위 또는 자본시장감독위원 회에 전문위원 임명이 필요한 경우에는 장관이 해당 위원회의 전문위원 선정 직무 수행을 위 한 7인의 선정위원회를 임명한 다. 첫 번째 단락에 따른 선정위원 회는 재무부 사무차관이나 상무 부 사무차관, 산업부 사무차관, 법령위원회 사무처장, 국가경제 사회개발위원회 사무처장, 태국 은행 총재, 보험감독진흥위원회 사무처장, 증권위원회 사무처장 또는 증권위의 전문위원직 재임 경력자 중 각 직에서 1인을 초 과하지 아니하여 임명한다. 두 번째 단락에 따른 국가경제 사회개발위원회 사무처장 재임 경력자는 국가 경제 사회 개발 관련 법률에 따른 국가사회경제 개발위원회 사무처장 재임 경력 자를 포함하여 말한다. 선정위원회는 정규직 또는 봉 급 수급자인 공무원이나 정무직 공무원, 하원의원 또는 상원의 원이 아니어야 하며, 첫 번째 단락에 따른 직무 수행에서 유 의미한 이익을 취하거나 이해관 계에 있는 사람이 아니어야 한 다. 첫 번째 단락에 따른 선정위원 회는 검토를 거쳐 위원 중 1인 을 선정위원회 위원장으로 선정 한다. 장관이 정하는 바에 따라 사무 처가 선정위원회에 보수를 지급 하고 이를 사무처의 업무 수행 비용으로 간주한다.
선정위원회는 임명일부터 30일 이내에 증권위 또는 자본시장감 독위원회의 전문위원 명단 제출 과 심의 및 선정에 대한 규칙을 정한다. 해당 규칙은 최소한 선 정위원회가 선정 심의를 진행할 수 있는 지명 대상 직에서의 직 무 수행에 유용한 전문위원의 지식 및 경력과 관련한 충분한 정보를 명시하도록 정하여야 한 다. 첫 번째 단락에 따른 규칙은 장관의 승인을 받아야 하며, 해 당 규칙을 정한 선정위원회가 이임한 이후에도 계속하여 적용 한다. 규칙 개정이나 취소 또는 신규 설정은 선정위원회가 전체 위 원 수의 3분의 2 이상의 득표 로 의결하였을 때 진행할 수 있으며, 장관에게 승인받은 때 에 효력이 발생한다. 선정위원회는 이 조에 따라 정 하는 규칙을 대중이 열람할 수 있는 형태로 공개하여야 한다.
선정위원회는 당시의 선정 실 시를 위하여 선정위원회를 구성 한 바에 따라 증권위 또는 자본 시장감독위원회 전문위원 선정 진행 및 임명을 완료한 때에는 위원 전체가 그 직을 면한다.
선정위원회의 회의는 전체 위 원 수의 3분의 2 이상이 출석하 여야 회의체가 성립된다. 제112조의 내용을 선정위원회 의 회의에 준용한다.
증권위 및 자본시장감독위원회 전문위원 선정에서는 다음 각항 의 사람이 함께 임명 예정 전문 위원 수의 2배수에 해당하는 전 문가 명단을 선정위원회에 제출 하여야 한다.
선정위원회가 첫 번째 단락에 따라 제출된 전문위원 명단을 거부하는 경우, 선정위원회는 새로운 명단 제출을 진행하도록 할 수 있는 권한이 있다. 선정위원회가 증권위 전문위원 또는 자본시장감독위원회 전문 위원 적격자 선정 심의를 완료 한 때에는 임명을 위하여 장관 에게 명단을 제출한다.
사무처의 허가를 받고 제65조 에 따라 실시하는 경우를 제외 하고, 공개유한회사 창립 발기 인의 대중 또는 특정인 대상 신 규 발행 증권 공모는 금지된다. 첫 번째 단락에 따른 허가 신 청은 해당 회사 창립 발기인이 공개 유한 회사 관련 법률에 따 라 정관 등록을 완료한 때에 진 행할 수 있다.
다음 각항의 어느 하나에 해당 하는 경우를 제외하고 회사가 신규 발행 증권, 주식 종류, 사 채, 어음, 주식매입권증서, 사채 매입권증서 및 증권위가 규정하 는 기타 증권을 발행하는 것은 금지된다.
신규 발행 증권인 경우, 증권 위가 고시하는 신탁 유형 및 증 권 유형에 따른 자본시장에서의 거래를 위한 신탁 관련 법률에 의거한 신탁에 대해서는 증권위 가 다음 각항의 어느 하나에 해 당하는 사람을 제33조에 따른 증권 공모 허가 신청자로 지정 할 수 있다.
신청서 제출을 완료한 때, 신 규 발행 증권 공모 허가를 취득 하기 전에는 제(1)항 및 제(2)항 에 따른 사람이 증권 발행사와 동일한 정보 공개 의무 및 책임 을 지며, 허가를 취득한 이후에 는 제(2)항에 따른 사람이 증권 발행사의 의무 및 책임으로 규 정하는 바와 같이 제2장 회사의 증권 발행 및 제3장 대중 대상 증권 공모의 규정에 따라 준수 하여야 하는 책임과 아울러 정 보 공개 책임 및 의무를 진다. 증권위가 증권의 유형과 증권 발행사, 투자자 및 증권 공모에 적합하도록 하기 위하여 적절하 다고 판단하는 경우, 증권위는 제(1)항 및 제(2)항에 따른 사람 이 제2장 회사의 증권 발행 제4 절 등록 및 양도 또는 제88조의 규정 전부 또는 일부에 대한 준 수를 면제하거나 다르게 준수하 도록 정할 수 있다.
증권의 보상이, 다른 사람의 승낙 하에서, 회사가 아닌 해당 자의 재정 상태와 실적에 달려 있는 증권위 고시 유형의 신규 발행 증권 공모인 경우에는 증 권위가 투자자의 결정에 유리한 자료 공개와 아울러 신규 발행 공모 허가 전후의 자료 공개에 대하여 해당자가 회사와 공동으 로 책임 및 의무를 지도록 정할 수 있다.
「민상법전」에 따른 유한회사 의 주식 공모는 증권발행사 또 는 해당사의 주주에 의한 공모 인지를 불문하고 일반적이거나 광범위한 사람을 대상으로 하지 아니하여야 한다. 다만, 자본시 장감독위원회가 고시하는 원칙 과 조건 및 절차가 면제되거나 이를 준수하는 경우는 제외한 다.
제32조 및 제33조에 따른 신 규 발행 증권 공모 신청과 허가 는 자본시장감독위원회가 고시 하는 원칙과 조건 및 절차에 따 른다. 이러한 경우, 자본시장감 독위원회는 다음 각항에 해당하 는 사안에 대한 상세 사항을 고 시할 수 있다.
["자본시장감독위원회"라는 용 어는 「2008년 증권 및 증권거 래소법 (제4권)」 제56조를 통 하여 개정됨.]
제33조의 적용 하에서 증권의 유형과 증권 발행사, 투자자 및 증권 공모에 적합하여지도록 하 기 위하여 증권위는 외국 법률 에 따라 설립되고 증권위 고시 와 동일한 방식의 투자자 보호 수단을 갖춘 외국 법률하에 있 는 회사가 이 장의 제2절 사채, 제3절 담보부사채 발행, 등록 및 양도, 제5절 정보 공개 및 회계감사인 또는 제3장 대중 대 상 증권 공모의 규정 전부 또는 일부에 대한 준수를 면제하거나 다르게 준수하도록 정할 수 있 다.
허가 신청 검토에서 사무처는 신청받은 날부터 45일 이내에 신청자에게 제35조에 따른 정확 하고 충분한 근거 서류와 함께 검토 결과를 통보하여야 한다.
유한회사의 사채 발행을 금지 하는 「민상법전」 제1229조의 규정은 이 법에 따라 사채 발행 허가를 취득한 유한회사에 대해 서는 적용하지 아니한다.
이율을 초과하는 이자 계산을 금지하는 「민상법전」 제454 조의 규정은 이 법에 따라 공모 하는 사채 및 어음 종류의 증권 에는 적용하지 아니한다.
회사의 사채는 금전으로 지불 하여 1부당 1백 밧 이상의 가치 가 있어야 하며, 사채를 매입한 사람이 회사에 상계 처리를 요 구할 수 없다.
사채는 최소한 다음 각항의 사 항을 포함하여야 한다.
["자본시장감독위원회"라는 용 어는 「2008년 증권 및 증권거 래소법 (제4권)」 제56조를 통 하여 개정됨.]
담보부사채를 발행하기 위하여 제33조에 따라 허가 신청하는 때에는 신청자가 다음 각항의 조치를 하여야 한다.
공개유한회사가 주주 대상으로 제33조에 따른 허가 신청이 필 요 없는 신규 발행 담보부사채 를 공모하는 경우, 공개유한회 사는 사채 공모 전에 첫 번째 단락에 따른 조치를 선행한다. ["자본시장감독위원회"라는 용 어는 「2008년 증권 및 증권거 래소법 (제4권)」 제56조를 통 하여 개정됨.]
사채 발행자와 사채권자의 권 리와 의무 관련 약정은 최소한 다음 각항의 주요 사항을 포함 하여야 한다.
[“자본시장감독위원”라는 용어 는 「2008년 증권 및 증권거래 소법 (제4권)」 제56조를 통하 여 개정됨.]
사채권자 대리인 선임 계약은 최소한 다음 각항의 주요 사항 을 포함하여야 한다.
[“자본시장감독위원회”라는 용 어는 「2008년 증권 및 증권거 래소법 (제4권)」 제56조를 통 하여 개정됨.]
담보부사채 발행자가 주주나 대중 또는 특정인을 대상으로 담보부사채 공모를 한 때에는 사채 발행자에게 제41조제(1)항 및 이 법에서 규정하는 바에 따 른 권리와 의무를 부여하며, 담 보부사채 발행자는 공모 마감일 부터 7일 이내에 사채권자의 동 의에 따라 사채권자 대리인을 선임하는 동시에 사채권자 대리 인에게 저당이나 담보 또는 담 보물 제공 조치를 한다.
사채권자 대리인은 저당이나 담보 또는 기타 담보물 설정, 담보물에 대한 집행권 행사 및 담보부사채 발행인이 사채권자 와 체결한 약정을 이행하도록 하는 조치와 아울러 손해액 청 구에 대하여 사채권자의 이익을 위하여 본인 명의로 실행할 권 한을 갖는다. 첫 번째 단락에 따른 사채권자 대리인의 행위는 사채권자의 직 접적인 행위로 본다.
자본시장감독위원회는 사채권 자 대리인의 권한과 의무에 따 른 행위에 관한 원칙과 조건 및 절차를 규정할 권한을 갖는다. [“자본시장감독위원회”라는 용 어는 「2008년 증권 및 증권거 래소법 (제4권)」 제56조를 통 하여 개정됨.]
선임 계약에서 규정하는 바에 따른 의무 이외에도 사채권자 대리인은 사채권자의 이익을 지 킬 의무가 있다. 사채권자 대리인이 작위 또는 부작위나 첫 번째 단락에 따른 의무 소홀로 인하여 사채권자에 게 손해를 유발한 경우, 사채권 자 또는 사무처는 사채권자 전 체의 이익을 위하여 사채권자 대리인에 대한 강제집행 소송을 제기할 권리를 갖는다. 사채권자가 강제집행 소송을 제기하는 경우, 해당 사채권자 는 판매된 담보부사채 전체의 10% 이상의 담보부사채를 보유 하였거나, 담보부사채 전체의 10% 이상의 담보부사채를 보유 한 다른 사채권자의 임명을 받 아야 한다.
사채권자 대리인이 「형법전」 제12편 제1장이나 제3장, 제4 장 또는 제5장에서 규정한 바에 따른 재산과 관련하여 위법 행 위를 하는 경우에는 사무처가 「형사소송법전」에 따른 피해 자가 된다. 첫 번째 단락에 따른 경우, 검 사가 기소하는 때에는 검사가 피해자 대신 피해에 대하여 재 산이나 가액 또는 손해배상을 청구할 권한을 갖는다. 이와 관 련하여 「형사소송법전」에 따 른 형사사건과 관련된 민사 소 송 제기에 관한 규정을 준용한 다.
담보부사채 외 다른 형태의 사 채 발행에서 사채 발행자가 사 채권자 대리인을 두고자 한다 면, 사채 발행자는 사채 발행 허가 신청 시에 의사를 표명하 여야 하며, 제41조와 제42조, 제43조, 제44조, 제45조, 제46 조, 제47조 및 제48조와 아울러 관련 벌칙 규정을 약정 설정 및 사채권자 대리인 선임 계약 허 가 신청, 사채권자 대리인의 권 한 및 의무, 사채권자 대리인에 대한 강제집행 소송 제기에 준 용한다.