로고

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เป็นปีที่ 2 ในรัชกาลปัจจุบัน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระ ราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า ศึกษา

ให้ไว้ ณ วันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2560

โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการ

มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืม

เพื่อการศึกษา พ.ศ. 2560”

มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา

เป็นต้นไป

มาตรา 3 ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา

พ.ศ. 2541

มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้

“กองทุน” หมายความว่า กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา “ผู้กู้ยืมเงิน” หมายความว่า นักเรียนหรือนักศึกษาผู้ได้รับเงินกู้ยืมเพื่อการ ศึกษาจากกองทุน “เงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา” หมายความว่า เงินที่กองทุนจัดสรรให้ผู้กู้ยืมเงิน เพื่อเป็นค่าเล่าเรียน ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา และค่าใช้จ่าย ที่จำเป็นในการครองชีพ “นักเรียนหรือนักศึกษา” หมายความว่า ผู้ที่ศึกษาอยู่ในสถานศึกษา หรือผู้ที่จะเข้าศึกษาในสถานศึกษา ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการศึกษาในระดับใด หลักสูตรใดหรือการศึกษาในหลักสูตรที่มุ่งเน้นเพื่อพัฒนาทักษะ สมรรถนะ หรือการเรียนรู้ ในสถานศึกษาด้วย “สถานศึกษา” หมายความว่า โรงเรียน สถาบันอุดมศึกษา หรือสถาน ศึกษาอื่นของรัฐ โรงเรียนเอกชนที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน หรือ ด้วยโรงเรียนเอกชนในระบบอุดมศึกษาของเอกชนที่ได้รับอนุญาตให้จัดตั้งตาม กฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน และให้หมายความรวมถึงบุคคลหรือคณะบุคคล ซึ่งจัดให้มีการศึกษาในหลักสูตรอาชีพหรือเพื่อยกระดับทักษะ สมรรถนะ หรือการเรียนรู้ตามที่คณะกรรมการกำหนดต่อไป “ค่าเล่าเรียน” หมายความว่า เงินค่าเล่าเรียน ค่าบำรุง และค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ที่สถานศึกษาเรียกเก็บจากนักเรียนหรือนักศึกษา “ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา” หมายความว่า ค่าใช้จ่ายอื่นที่มิใช่ค่าเล่าเรียนที่สถานศึกษาเรียกเก็บจากนักเรียนหรือนักศึกษาตามระเบียบ ประกาศ หรือคำสั่งของสถานศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา “ค่าครองชีพ” หมายความว่า ค่าใช้จ่ายที่จำเป็นในการดำรงชีพระหว่างศึกษา “สำนักงาน” หมายความว่า สำนักงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา “ผู้อำนวยการ” หมายความว่า ผู้อำนวยการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๕ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้

กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแล้ว ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาใช้บังคับได้

หมวด ๑

การจัดตั้งกองทุน

มาตรา ๖ ให้จัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่ง เรียกว่า “กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา”

ให้กองทุนนี้เป็นหน่วยงานของรัฐอยู่ในกำกับดูแลของรัฐมนตรี และมีฐานะเป็นนิติบุคคลที่ไม่เป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน หรือรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณและกฎหมายอื่น วรรคสาม(4) (ยกเลิก)

มาตรา ๖/๕(5) กองทุนมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการศึกษาด้วยการให้เงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาแก่นักเรียนหรือนักศึกษาซึ่งมีลักษณะ ดังต่อไปนี้

(๑)

ขาดแคลนทุนทรัพย์

(๒)

ศึกษาในสาขาวิชาที่มีความต้องการหลักและความจำเป็นต่อการพัฒนาประเทศ

(๓)

ศึกษาในสาขาวิชาขาดแคลนหรือสาขาวิชาที่กองทุนส่งเสริมเป็นพิเศษ (c) เรียนดีเพื่อสร้างความเป็นเลิศ

(จ)

ลักษณะอื่นตามความจำเป็นและเหมาะสม ในกรณีตาม (c) คณะกรรมการอาจกำหนดให้เป็นทุนการศึกษาแทนการให้เงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาได้ แต่ต้องกำหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขให้ชัดเจนและใช้บังคับเป็นการทั่วไป โดยจะกำหนดให้ใช้บังคับเฉพาะนักเรียนหรือนักศึกษาในหน่วยงานเฉพาะแห่งหรือไม่ก็ได้ หลักเกณฑ์และเงื่อนไขตามวรรคสองให้รวมถึงการทำสัญญาและความรับผิดในกรณีไม่ปฏิบัติตามสัญญาด้วย

มาตรา ๗ กองทุนประกอบด้วยเงินและทรัพย์สิน ดังต่อไปนี้

(๑)

เงินและทรัพย์สินที่ได้รับและโอนมามาตามมาตรา ๕๖

(๒)

เงินอุดหนุนที่ได้รับจากรัฐบาลหรือเงินที่ได้รับจากการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีตามมาตรา ๑๑ วรรคหนึ่ง

(๓)

เงินหรือทรัพย์สินที่ได้รับจากการดำเนินการตามหน้าที่ของกองทุน

(๔)

เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคหรือมอบให้แก่กองทุน

(๕)

ดอกผล รายได้ หรือผลประโยชน์ใด ๆ ที่เกิดจากเงินหรือทรัพย์สินของกองทุน

(๖)

เงินหรือทรัพย์สินอื่นใดนอกจาก (๑) ถึง (๕) ที่กองทุนได้รับ

มาตรา ๘ กิจการของกองทุนไม่อยู่ในบังคับแห่งกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ กฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม และกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน

มาตรา (๙) กองทุนมีอำนาจกระทำกิจการต่าง ๆ ภายในขอบวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๕ / และอำนาจหน้าที่ให้บรรลุผล

(๑)

ซื้อ จัดหา เหมา ให้เช่า ถือกรรมสิทธิ์ ครอบครอง จำหน่าย ทำสัญญาหรือดำเนินงานใด ๆ เกี่ยวกับเงินหรือทรัพย์หรือสิทธิในทรัพย์

(๒)

จัดหาประโยชน์จากเงินและทรัพย์สินของกองทุนและดำเนินการเกี่ยวกับการให้เงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา

(๓)

จัดหาผลประโยชน์จากเงินและทรัพย์สินของกองทุน

(๔)

กระทำการอื่นใดในกรณีที่เกี่ยวกับหรือจำเป็นต่อกิจการจัดการให้สำเร็จตามวัตถุประสงค์ของกองทุน

มาตรา ๑๐ ให้รัฐมนตรีดำเนินการขอรับการจัดสรรงบประมาณเพื่อสมทบเข้ากองทุนในแต่ละปีงบประมาณตามความจำเป็น

เงินที่กองทุนได้รับไม่ต้องนำส่งคลังตามกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง กฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ หรือกฎหมายอื่น

มาตรา ๑๑ เงินของกองทุนให้ใช้จ่ายได้เพื่อกิจการ ดังต่อไปนี้

(๑)

(7) เป็นเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา และทุนการศึกษาตามมาตรา ๖/๑ วรรคสอง

(๒)

เป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินการของกองทุน

(๓)

เป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารกองทุนและค่าใช้จ่ายอื่นที่เกี่ยวกับหรือเกี่ยวเนื่องกับการจัดกิจการของกองทุน

(๔)

เป็นค่าใช้จ่ายในการจัดหาผลประโยชน์ตามมาตรา ๑๒

มาตรา ๑๒ เงินของกองทุนให้ไปหาผลประโยชน์ได้ โดยการฝากกับธนาคารที่เป็นรัฐวิสาหกิจหรือธนาคารพาณิชย์ หรือซื้อหลักทรัพย์ของรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนด

ทรัพย์สินประเภทอื่นของกองทุนให้ไปหาผลประโยชน์ได้ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนด

มาตรา ๑๓ ทรัพย์สินของกองทุนที่ได้มาโดยการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามมาตรา ๖/๑ ไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี รวมทั้งการบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลในกรณีการกระทำการครอบครองอื่นซึ่งมิใช่ด้วยข้อสัญญาในเรื่องทรัพย์สินของกองทุนไม่ได้

หมวด ๒

คณะกรรมการ

มาตรา ๑๔(8) ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา” ประกอบด้วย

(๑)

ปลัดกระทรวงการคลัง เป็นประธานกรรมการ

(๒)

กรรมการโดยตำแหน่ง จำนวนหกคน ได้แก่ ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เลขาธิการสภาการศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน อธิบดีกรมบัญชีกลาง และอธิบดีกรมสรรพากร

(๓)

(9) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวนไม่เกินห้าคน ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้มีความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ในด้านการศึกษา โดยไม่น้อยกว่าหนึ่งคนต้องมีความรู้ความชำนาญด้านการศึกษา ด้านการบริหารจัดการศึกษา ด้านการคุ้มครองสิทธิและส่งเสริมโอกาสทางการศึกษา หรือด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และไม่น้อยกว่าหนึ่งคนต้องมีความรู้ความชำนาญด้านการเงิน การคลัง การบัญชี หรือการบริหารจัดการหนี้ ทั้งนี้ ให้คำนึงถึงความหลากหลายของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ และต้องไม่เป็นข้าราชการการเมือง หรือผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน ให้ผู้จัดการเป็นกรรมการและเลขานุการ และให้ผู้จัดการแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ของกองทุนจำนวนหนึ่งเป็นผู้ช่วยเลขานุการ

มาตรา ๑๔ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้

(๑)

มีสัญชาติไทย

(๒)

อายุไม่เกินเจ็ดสิบปีบริบูรณ์

(๓)

ไม่เป็นบุคคลล้มละลายหรือไม่เคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต

(๔)

ไม่เคยได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ

(๕)

ไม่เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ

(๖)

ไม่เคยต้องคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินเพราะร่ำรวยผิดปกติหรือมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ

(๗)

ไม่เป็นข้าราชการการเมือง ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น กรรมการหรือผู้ดำรงตำแหน่งบริหารในพรรคการเมือง ที่ปรึกษาพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าที่พรรคการเมือง

(๘)

ไม่ถูกถอดถอน ปลดออก หรือให้ออกจากงาน เพราะทุจริตต่อหน้าที่หรือประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง

(๙)

ไม่เป็นผู้มีส่วนได้เสียในกิจการที่เกี่ยวข้องกับกองทุนเพื่อความปลอดภัย โดยอ้อมหรือโดยอ้อม

มาตรา ๑๕ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจะดำรงอยู่ในตำแหน่งคราวละสี่ปี และอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ แต่จะดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกินสองคราวไม่ได้

เมื่อครบกำหนดตามวาระในคราวหนึ่ง หากยังไม่ได้มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่ ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่งตามวาระนั้นอยู่ในตำแหน่งเพื่อดำเนินการต่อไปจนกว่ากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับแต่งตั้งใหม่เข้ารับหน้าที่

มาตรา ๑๖ นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระตามมาตรา ๑๕ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่ง เมื่อ

(๑)

ตาย

(๒)

ลาออก

(๓)

รัฐมนตรีให้ออก เพราะบกพร่องต่อหน้าที่ มีความประพฤติเสื่อมเสีย หรือหย่อนความสามารถ

(๔)

ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๔

มาตรา ๑๗ ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่งก่อนครบวาระ ให้แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทนตำแหน่งที่ว่าง หรือในกรณีแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพิ่มขึ้นระหว่างที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับแต่งตั้งอยู่ในตำแหน่ง ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับแต่งตั้งใหม่อยู่ในตำแหน่งได้เท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเดิม

ตำแหน่ง ให้ผู้ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งแทนตำแหน่งที่ว่างหรือเป็นกรรมการผู้ทรง คุณวุฒิเพิ่มขึ้นในตำแหน่งที่กำหนดระยะที่เหลืออยู่ของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้แต่งตั้ง ไว้แล้ว เว้นแต่กรณีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งลาออกไม่ถึงเก้าสิบวันไม่แต่งตั้งกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิเพิ่มหรือเพิ่มขึ้นก็ได้ และให้คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการทั้งหมดที่มี อยู่

มาตรา ๑๙[๑๐] คณะกรรมการมีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้

(๑)

กำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ และความคุ้มค่าในการดำเนินการของกองทุนให้ เป็นไปตามวัตถุประสงค์

(๒)

ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของกองทุนให้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์

(๓)

เสนอแนะต่อรัฐมนตรีในการดำเนินการขอรับการจัดสรรงบประมาณ เพื่อสมทบกองทุน

(๔)

พิจารณาอนุมัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีสำหรับการดำเนินการ และการบริหารงานของกองทุน

(๕)

กำหนดหลักเกณฑ์ของนักเรียนหรือนักศึกษาตามมาตรา ๖/๑

(๖)

กำหนดขอบเขตการให้เงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาตามมาตรา ๗๙ วรรค หนึ่ง

(๗)

กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามมาตรา ๑๒ มาตรา ๑๓ มาตรา ๗๗ วรรคสอง มาตรา ๘๐ วรรคหนึ่ง มาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง มาตรา ๘๔ วรรคสอง วรรคสี่ และวรรคแปด มาตรา ๘๕ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๘๖ วรรคหนึ่งและ วรรคหก

(๘)

กำหนดมาตรการใด ๆ ตามความจำเป็นเพื่อประโยชน์ในการบริหาร กองทุนและการติดตามการชำระเงินคืนกองทุน

(๙)

กำหนดมาตรการช่วยเหลือให้ผู้ยืมเงินมีเงินทุนและสามารถชำระเงิน คืนกองทุน โดยมาตรการดังกล่าวให้ดำเนินการร่วมกับหน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่ เกี่ยวข้อง หน่วยงานเอกชน หรือสถานศึกษาที่เกี่ยวข้องดำเนินงานกับกองทุนตามมาตรา ๗๙ ในการช่วยเหลือผู้ยืมเงินดังกล่าว

(๑๐)

พิจารณาเสนอแนะต่อรัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวงกำหนดหลัก เกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการให้เงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาแก่บุคคลที่เป็นบุคคล ทุพพลภาพ และเป็นอุปสรรคต่อการประกอบอาชีพหรือการชำระเงินคืนกองทุน รวมทั้งบุคคลที่มีความจำเป็นต้องได้รับเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาและการชำระเงิน คืนกองทุนตามมาตรา ๘๔

(๑๑)

กำหนดแนวทางเกี่ยวกับการบริหารงานด้านการเงิน การเงิน การจัด การบัญชี การตรวจสอบบัญชีและข้อบังคับอื่นที่เกี่ยวกับการดำเนินการและบริหาร งานของกองทุน

(๑๒)

พิจารณาผลการศึกษา วิเคราะห์ และประเมินความต้องการเงินกู้ยืม เพื่อการศึกษาอย่างเร่งด่วนที่ทำให้ปัจจุบันและอนาคตของผู้เรียนหรือผู้กู้ยืมมีผลกระทบ (cc) ออกข้อบังคับ ระเบียบ และประกาศเพื่อปฏิบัติการอื่นใดให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ (งจ) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ การกำหนดลักษณะนักเรียนหรือนักศึกษา ตาม (ซ) คณะกรรมการต้องกำหนดให้ชัดเจนโดยคำนึงถึงทุนทรัพย์ของนักเรียนหรือนักศึกษาเป็นสำคัญ โดยต้องไม่คำนึงถึงเฉพาะรายได้ต่อครอบครัวของผู้ยื่นเงินเพียงคนเดียว แต่ต้องคำนึงถึงรายจ่ายของครอบครัวด้วย และรายได้ต่อครอบครัวที่เหมาะสมเพื่อประกอบการพิจารณาอนุมัติทุนฯ เพียงพอที่จะมีส่วนในการศึกษาของนักเรียนหรือนักศึกษาให้ได้ดีอย่างที่ผู้ขอขาดแคลนทุนทรัพย์ ในการดำเนินการตามหน้าที่และอำนาจ ให้คณะกรรมการรับฟังความคิดเห็นของนักเรียนหรือนักศึกษา ผู้ขอทุนเงิน และสถานศึกษา ประกอบการพิจารณาดำเนินการด้วย คณะกรรมการอาจมอบอำนาจตาม (ข) (ซ) และ (งจ) เฉพาะในส่วนที่ไม่เกี่ยวกับการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขให้ผู้จัดการหรือบุคคลอื่นในการพิจารณาและการดำเนินการได้

มาตรา ๒๐ การประชุมของคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นการประชุม

การวินิจฉัยของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก ถ้ามีคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด

มาตรา ๒๑ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ คณะกรรมการอาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาและเสนอความเห็นในเรื่องหนึ่งเรื่องใด หรือมอบหมายให้ปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่เห็นสมควร

มาตรา ๒๒[11] (ยกเลิก)

มาตรา ๒๓[12] (ยกเลิก)

มาตรา ๒๔[13] (ยกเลิก)

มาตรา ๒๕[14] (ยกเลิก)

มาตรา ๒๖[15] ให้ทุนอุดหนุนเงินอุดหนุนต่อหัวทั้งหมดของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๑๙ รวมทั้งการประชุมของคณะกรรมการวิจัยอันพึงจะต้องพิจารณามาตรา ๒๐ อันเป็นสิ่งที่แสดงผลของการประชุมกรรมการฯ ด้วยโดยปฏิบัติตาม

มาตรา ๒๗ ให้ประธานกรรมการ กรรมการ เลขานุการและผู้ช่วยเลขานุการของคณะกรรมการ ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ เลขานุการและผู้ช่วยฯ

เลขานุการของคณะอนุกรรมการ ซึ่งแต่งตั้งตามพระราชบัญญัตินี้ ได้รับเบี้ยประชุมและประโยชน์ตอบแทนอื่นตามระเบียบที่รัฐมนตรีกำหนด

หมวด ๓

สำนักงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา

มาตรา ๒๘ ให้กองทุนมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ว่า "สำนักงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา" ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร และอาจตั้งสาขา ณ ที่อื่นใดตามความจำเป็นก็ได้

มาตรา ๒๙ สำนักงานกองทุนมีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้

(๑)

ดำเนินงานต่าง ๆ ของกองทุนและประสานงานกับส่วนราชการและองค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

(๒)

เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการ

(๓)

จัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานประจำปีของกองทุนเพื่อเผยแพร่ให้ประชาชนทราบ

(๔)

ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการมอบหมาย

มาตรา ๓๐ ให้กองทุนมีผู้ดำรงตำแหน่งผู้จัดการ ซึ่งมีความรู้และความเชี่ยวชาญในด้านการบริหารและการจัดการ รวมทั้งต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้

(๑)

มีสัญชาติไทย

(๒)

มีอายุไม่เกินหกสิบห้าปีบริบูรณ์

(๓)

สามารถปฏิบัติงานให้แก่กองทุนได้เต็มเวลา

(๔)

ไม่เป็นหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลาย

(๕)

ไม่เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ

(๖)

ไม่เคยได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก

(๗)

ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากงาน เพราะทุจริตต่อหน้าที่ หรือประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง

(๘)

ไม่เป็นข้าราชการ พนักงาน หรือผู้ว่าจ้างของกระทรวง ทบวง กรม ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจหน่วยงานอื่นของรัฐตามระเบียบราชการ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ

(๙)

ไม่เป็นหรือเคยเป็นเจ้าหน้าที่ของพรรคการเมือง ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น หรือกรรมการหรือเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง ทั้งนี้ภายในระยะเวลาห้าปีก่อนวันที่ได้รับแต่งตั้งจากตำแหน่งดังกล่าวและไม่ใช่ออกว่าลาออก

(๑๑)

ไม่เป็นผู้จัดการหรือดำรงตำแหน่งอื่นใดที่มีลักษณะงานคล้ายคลึงกันในห้างหุ้นส่วน หรือบริษัท หรือองค์กรอื่นใด

(๑๒)

ไม่มีส่วนได้เสียในสัญญากับกองทุน หรือในกิจการที่กระทำให้แก่กองทุนไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม

(๑๓)

ไม่มีหุ้นส่วนในสถานประกอบการเงินหรือนิติบุคคลที่ได้รับการจ้างตามมาตรา ๓๐ วรรคสอง หรือในบริษัทอื่นใดที่มีหุ้นส่วนในสถานประกอบการเงินหรือนิติบุคคลดังกล่าว

มาตรา ๓๑ การแต่งตั้งผู้จัดการและการกำหนดค่าจ้างของผู้จัดการ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนด

สัญญาจ้างผู้จัดการ ให้ทำหนดคราวละไม่เกินสี่ปี และเมื่อครบกำหนดอายุสัญญาจ้างแล้ว คณะกรรมการอาจต่ออายุสัญญาจ้างอีกคราวหนึ่งก็ได้แต่ต้องไม่เกินสี่ปี ในสัญญาจ้าง ให้กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการดำรงตำแหน่ง การพ้นจากตำแหน่ง และเงื่อนไขในการทดลองปฏิบัติงานของผู้จัดการไว้ด้วย ให้ผู้จัดการได้รับค่าจ้าง ค่าตอบแทน หรือประโยชน์ตอบแทนอื่นตามที่คณะกรรมการกำหนด

มาตรา ๓๒ นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามสัญญาจ้าง ผู้จัดการพ้นจากตำแหน่ง เมื่อ

(ก)

ตาย

(ข)

ลาออก

(ค)

ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๐

(ง)

คณะกรรมการมีมติให้เลิกจ้าง เพราะการพ้นจากตำแหน่งที่มีความประพฤติเสื่อมเสีย หรือหย่อนความสามารถ

มาตรา ๓๓ ให้ผู้จัดการมีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้

(๑)

บริหารกิจการของกองทุนให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ รวมทั้งคำสั่ง นโยบาย และมติของคณะกรรมการ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของกองทุน

(๒)

ศึกษา วิเคราะห์ และประเมินผลการดำเนินงานและการเงินของกองทุน เพื่อจัดทำแผนงาน โครงการ และแผนการใช้จ่ายเงินของกองทุน และแผนการเงินและงบประมาณประจำปีเสนอคณะกรรมการ

(๓)

จัดทำรายงานประจำปีเกี่ยวกับผลการดำเนินงานและการปฏิบัติงานประจำปีของกองทุนเสนอคณะกรรมการ

(๔)

ศึกษา วิเคราะห์ และประเมินความเสี่ยงต่อการเงินที่มีผลต่อการศึกษา ของนักเรียนหรือนักศึกษาที่รับเงินกู้และเสนอคณะเสนอต่อคณะกรรมการ (5) บริหารและจัดการการให้เงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาแก่นักเรียนหรือนักศึกษา (6) ดำเนินการติดตามและเร่งรัดให้มีการชำระคืนเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาตามสัญญาที่ผู้กู้ยืมเงินทำไว้ (7) ประสานงาน กำกับดูแล และติดตามการดำเนินงานของสถานศึกษาเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของกองทุน (8) ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้ ตามที่คณะกรรมการหรือคณะกรรมการบริหารมอบหมาย หรือมอบหมายไว้ในสัญญาจ้าง ในการดำเนินการตาม (5) และ (6) ผู้จัดการอาจว่าจ้างสถาบันการเงินหรือมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการหรือตามความเหมาะสมก็ได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนด

มาตรา 36 ในกรณีการของบกองทุนที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก ให้ผู้จัดการเป็นผู้แทนของกองทุน เพื่อการนี้ ผู้จัดการอาจมอบอำนาจให้บุคคลใดปฏิบัติหน้าที่แทนได้ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนด

มาตรา 37 ให้ผู้จัดการเป็นผู้รับผิดชอบทำงบแสดงฐานะและดูการบัญชีของกองทุน และรับผิดชอบต่อคณะกรรมการในการบริหารกิจการของกองทุน เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน กฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ รวมทั้งหลักการ นโยบาย และมติของคณะกรรมการ

มาตรา 38 เมื่อพ้นจากตำแหน่งหรือพ้นจากราชการและไม่มีการแต่งตั้งบุคคลอื่นเป็นผู้จัดการแทน ให้ผู้จัดการที่พ้นจากตำแหน่งหรือพ้นจากราชการนั้นปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งผู้จัดการต่อไปจนกว่าจะมีผู้จัดการคนใหม่ หรือในกรณีที่ไม่มีผู้จัดการดำรงตำแหน่งรองผู้จัดการ ให้คณะกรรมการแต่งตั้งกรรมการหรือพนักงานของกองทุนคนหนึ่งเป็นผู้รักษาการแทนผู้จัดการ

ให้ผู้รักษาการแทนผู้จัดการมีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้จัดการ

หมวด 4

การให้เงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา

มาตรา 39 ให้คณะกรรมการประกาศกำหนดลักษณะของเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา ขอบเขตการให้เงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา รวมตลอดถึงหลักเกณฑ์การให้เงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาระดับชั้นการศึกษา และหลักสูตรที่จะให้เงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา ตลอดจนจำนวนเงินกู้ยืม โดยอาจประกาศเพิ่มเติมได้ แต่ต้องมีการกำหนดการให้เงินกู้ยืมต่อเนื่องจนสิ้นปีการศึกษาแต่ละปี

ให้สำนักงานส่งประกาศตามวรรคหนึ่งให้สถานศึกษาทราบเพื่อดำเนินงานเกี่ยวกับการกู้ยืมเงินกองทุน และให้สำนักงานเสนอแผนการดำเนินงานและงบประมาณประจำปีของกองทุนผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของสำนักงานหรือสภาสถาบันฯ และเปิดประกาศโดยเปิดเผย ณ สำนักงานของกองทุน

มาตรา 40 สถานศึกษาที่ประสงค์จะเข้าร่วมดำเนินงานต้องจัดทำข้อตกลงกับกองทุนตามพระราชบัญญัตินี้ ให้สำนักงานจัดทำข้อตกลงดังกล่าวเป็นลายลักษณ์อักษร ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ

และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนด สถานศึกษาที่ได้รับความเห็นชอบให้เข้าร่วมดำเนินงานกับกองทุนตามวรรคหนึ่ง ให้ทำบันทึกข้อตกลงกับกองทุนตามแบบที่กองทุนกำหนด และต้องปฏิบัติหน้าที่ตามที่กำหนดไว้ในบันทึกข้อตกลงโดยเคร่งครัด หากสถานศึกษาใดไม่ปฏิบัติหน้าที่ที่ต้องทำครบถ้วน กองทุนอาจพิจารณาเพิกถอนการเข้าร่วมดำเนินงานของสถานศึกษานั้นได้

มาตรา 37 (18) เพื่อเป็นข้อมูลให้แก่นักเรียนหรือนักศึกษาที่จะใช้เงินกู้ยืมในการจัดการความอยู่เย็นเป็น ให้สำนักงานรวบรวมและเผยแพร่ข้อมูลสถิติสำหรับงานที่อยู่เกี่ยวกับการกู้ยืมเงิน และประเมินผลของงานที่กองทุนดำเนินการเพื่อให้ทราบถึงสิ่งที่กระทำแล้ว รวมทั้งผลการดำเนินงานเพื่อให้ข้อมูลต่อสาธารณะ โดยให้เผยแพร่ข้อมูลที่เป็นปัจจุบันเป็นระยะ ๆ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง

มาตรา 39 นักเรียนหรือนักศึกษาผู้ใดจะขอกู้ยืมเงินเพื่อการศึกษาต้องศึกษาอยู่ในสถานศึกษาที่ร่วมดำเนินงานกับกองทุนตามมาตรา 37 และต้องมีสัญชาติไทย มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่คณะกรรมการกำหนด

มาตรา 40 (19) นักเรียนหรือนักศึกษาผู้ใดจะขอกู้ยืมเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา ให้ยื่นคำขอต่อสำนักงานตามวิธีการที่กองทุนกำหนด

มาตรา 41 (20) นักเรียนหรือนักศึกษาซึ่งได้รับอนุมัติให้กู้ยืมเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา ต้องทำสัญญากู้ยืมเงินกับกองทุนตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กองทุนกำหนด

ทั้งนี้ ในการกู้ยืมเงินเพื่อการศึกษาให้มาสิทธิให้บุพการีหรือผู้แทนโดยชอบธรรมทุกกรณี

มาตรา 42 ผู้กู้ยืมเงินหน้าที่ต้องปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมเงินโดยเคร่งครัด

เพื่อประโยชน์ในการบริหารกองทุนและการติดตามการชำระเงินคืนกองทุน ผู้กู้ยืมเงินมีหน้าที่ ดังต่อไปนี้

(ก)

ให้ความยินยอมในขณะทำสัญญากู้ยืมเงิน เพื่อให้ผู้มีหน้าที่หักจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 60 (1) แห่งประมวลรัษฎากร ทั้งจำนวนเงินที่ได้รับเงินเดือนหรือเงินที่จ่ายจากกองทุนแจ้งให้ทราบเพื่อชำระเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาคืนกองทุน

(ข)

แจ้งสถานะการเป็นผู้กู้ยืมเงินต่อหัวหน้าหน่วยงานการจ้างหรือสถานที่ศึกษาเมื่อภายในสามสิบวันนับแต่เริ่มปฏิบัติงาน และยินยอมให้หัวหน้าหน่วยงานแจ้งสถานะดังกล่าวแก่กองทุน

(ค)

ยินยอมให้กองทุนเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลของผู้กู้ยืมในครอบครองของบุคคลอื่น รวมทั้งข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษา การทำงาน และการชำระเงินคืนกองทุน

มาตรา 43 ผู้กู้ยืมเงินได้ลงทะเบียนเรียนหรือสมัครเข้าเรียนในสถานศึกษา ให้ผู้รับเงินแจ้งสถานะพร้อมทั้งแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนเงินที่กู้ยืมเงินเพื่อการศึกษา และคัดกรองผู้กู้ยืมเงินเพื่อการศึกษาตามที่กองทุนกำหนดโดยเคร่งครัดประกอบด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการที่กองทุนกำหนด (21)

ให้องทุนจ่ายค่าเล่าเรียนและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษาตามจำนวนที่ได้รับแจ้งจากสรรพากรแล้ว ให้แก่สถานศึกษาที่ผู้ยืมเงินศึกษาอยู่ สำหรับค่าครองชีพให้องทุนจ่ายเข้าบัญชีของผู้ยืมเงินโดยตรง และให้ถือว่าจำนวนที่จ่ายให้แก่สถานศึกษา หรือผู้ยืมเงินดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาที่ผู้ยืมเงินต้องชำระคืนกองทุน ให้ถือว่าจำนวนค่าเล่าเรียน ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา และค่าครองชีพตามที่ได้รับแจ้งและจ่ายไปได้ในกำหนดสัญญาและผู้ยืมเงิน เป็นจำนวนอันถูกต้องแล้วผู้ยืมเงินที่ได้รับเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาต้องนำเงินดังกล่าวไปใช้ให้ตรงตามวัตถุประสงค์ของการศึกษา ทั้งนี้ หากมียอดเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาที่ผู้ยืมเงินได้รับเกินจำนวนที่กำหนดไว้ในหลักสูตรตามที่ผู้ยืมเงินแจ้งร้องขอได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนด

มาตรา ๔๗ (๒๒) กองทุนจะจ่ายเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาให้แก่ผู้ยืมเงินไม่เกินจำนวนที่กำหนดไว้ในหลักสูตรที่ผู้ยืมเงินศึกษาอยู่

ในกรณีเป็นเงินและผลของการกองทุนจะพิจารณาจ่ายเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาเกินจำนวนที่กำหนดไว้ในหลักสูตรตามที่ผู้ยืมเงินแจ้งร้องขอได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนด

หมวด ๕

การชำระเงินคืนกองทุน

มาตรา ๔๘ (๒๓) เมื่อสำเร็จการศึกษา เลิกการศึกษา หรือพ้นสภาพการศึกษาแล้ว ให้ผู้ยืมเงินมีหน้าที่ต้องชำระเงินคืนกองทุนเพื่อการศึกษาที่ได้รับไปพร้อมชำระดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาตามจำนวนหรือช่วงเวลาที่กำหนดไว้ ทั้งนี้ ตามจำนวนระยะเวลา และวิธีการที่กองทุนกำหนด

คณะกรรมการอาจกำหนดให้เงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาหรือประโยชน์อื่นใดจากผู้กู้ยืมเงินนั้นแต่เวลาใดๆ ภายหลังสำเร็จการศึกษา เลิกการศึกษา หรือพ้นสภาพการศึกษาแล้วก็ได้ แต่มีอัตราดอกเบี้ยหรือประโยชน์อื่นใดที่คิด ณ วันที่กำหนด ต้องไม่เกินอัตราร้อยละที่แจ้งไว้ และกำหนดให้คิดดอกเบี้ย หรือชดเชยเงินหรือผลตอบแทนอื่นใดให้แก่ผู้ยืมเงินที่ชำระเงินคืนกองทุนครบถ้วน หรือชำระเงินคืนกองทุนก่อนกำหนดเวลา ทั้งนี้ เหตุจำเป็นและสมควร ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนด ในการชำระเงินคืนกองทุนตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้ยืมเงินที่สำเร็จการศึกษาได้รับประโยชน์จากระยะเวลาปลอดหนี้ไม่น้อยกว่าหนึ่งปีนับแต่วันที่สำเร็จการศึกษา หรือพ้นสภาพการศึกษา ทั้งนี้ คณะกรรมการอาจขยายระยะเวลาปลอดหนี้ที่น้อยกว่าหนึ่งปีได้ในกรณีที่มีความจำเป็น เพื่อบรรเทาภาระของผู้ยืมเงินที่ไม่สามารถชำระเงินคืนกองทุนได้ กองทุนอาจกำหนดให้ผู้ยืมเงินสามารถขอผ่อนผันการชำระเงินคืนกองทุนได้ในกรณีที่มีเหตุจำเป็นและสมควร ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนด การดำเนินการทางการบังคับคดี ให้กระทำได้เมื่อครบกำหนดระยะเวลาการชำระเงินคืนหรือการผ่อนผันตามวรรคสองแล้ว หรืออยู่ในระหว่างการบังคับคดี ในกรณีที่มีการทำสัญญาปรับโครงสร้างหนี้ระหว่างผู้ยืมเงินกับเจ้าหนี้ตามกฎหมายว่าด้วยการบังคับคดี ให้ถือว่าผู้ยืมเงินได้ชำระหนี้ตามจำนวนที่กำหนดไว้ในสัญญาปรับโครงสร้างหนี้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนด ในกรณีที่การกำกับดูแลของหน่วยที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงภาระผูกพันของสถาบันถึงที่สุดแล้วหรือในระหว่างการบังคับคดี ให้ถือว่าหน่วยสถาบันดังกล่าวเป็นผู้ชำระเงินในทางการอ้อมหรือชำระเงินให้แก่กองทุนเพื่อการชำระคืนหรือชำระหนี้สิน และให้กองทุนมีเงินหน้าที่ที่จะเรียกคืนกองทุนและทรัพย์สินใดๆ ในสิทธิฐานะของกองทุนดังกล่าวใหม่ ในกรณีที่ผู้กู้ยืมเงินผิดนัดการชำระเงินคืนกองทุน และไม่ได้รับอนุญาตให้ผ่อนผันตามธรรมดา ผู้กู้ยืมเงินจะต้องชำระเงินคืนกองทุนพร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละต่อปีหรือในอัตราร้อยละที่คณะกรรมการกำหนด

มาตรา ๔๗/(๒๔) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนดตามมาตรา ๔๗ (๖) ต้องเป็นไปตามหลักการดังต่อไปนี้

(ก)

ระยะเวลาการผ่อนชำระเงินคืนกองทุน ต้องคำนึงถึงรายได้และความสามารถในการชำระเงินคืนของผู้ยืมเงินประกอบด้วย แต่ต้องไม่เกินสิบห้าปี นับตั้งแต่วันที่ต้องชำระเงินแรกถึงแม้ที่สุดจำเป็นและสมควรขยายระยะเวลาดังกล่าวออกไปอีกก็ได้

(ข)

การผ่อนชำระเงินคืนกองทุนเป็นงวด ผู้ยืมเงินต้องผ่อนชำระรายเป็นรายเดือน รายไตรมาส หรือรายปีได้

(ค)

ในกรณีที่ผู้ยืมเงินมีรายได้เพิ่มขึ้นหรือลดลง ดอกเบี้ยหรือประโยชน์อื่นใด และเงินเพิ่ม เงินที่ผู้ยืมเงินจะต้องชำระให้แก่เงินกองทุนต้องเพิ่มขึ้นหรือลดลงตามรายได้หรือประโยชน์อื่นใดที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงนั้น

(ง)

การผ่อนชำระเงินคืนกองทุนต้องคำนึงถึงความสามารถในการให้ผู้ยืมเงินที่มีรายได้ต่ำหรือไม่มีรายได้สามารถชำระเงินคืนกองทุนได้

(จ)

การกำหนดมาตรการจูงใจเพื่อให้ผู้ยืมเงินไม่มีผลัดชำระเงินคืนกองทุนหรือชำระเงินคืนกองทุนครบถ้วนก่อนกำหนดเวลา ซึ่งอาจเป็นการลดหนี้เงินต้นหรือให้ประโยชน์อื่นใดก็ได้

มาตรา ๔๘ เพื่อประโยชน์ในการบริหารกองทุนและการติดตามการชำระเงินคืนกองทุน ให้กองทุนมีอำนาจดำเนินการ ดังต่อไปนี้

(ก)

ขอข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ยืมเงินจากหน่วยงานของรัฐหรือองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน หรือบุคคลใดซึ่งเป็นผู้ครอบครองข้อมูลส่วนบุคคลดังกล่าว

(ข)

เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการกู้ยืมเงิน และการชำระเงินคืนของผู้ยืมเงินให้แก่หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน หรือบุคคลใดตามที่ร้องขอ

(ค)

[25] อำนาจในการขอเอกสารจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่คณะกรรมการกำหนดตามมาตรา ๔๗ (๖) การดำเนินการตาม (๑) และ (๒) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๔๙ เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการของกองทุนตามมาตรา ๔๘ (๑) ให้หน่วยงานหรือองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน หรือบุคคลใดซึ่งเป็นผู้ครอบครองข้อมูล

ส่วนบุคคลของผู้กู้ยืมเงิน จัดส่งข้อมูลให้กองทุนสอบทานข้อเท็จจริงของทุนร้องขอภายในเวลาที่สมควร

มาตรา ๔๗ ผู้กู้ยืมเงินอาจชำระเงินคืนกองทุนก่อนกำหนดเวลาตามมาตรา ๔๕ หรือบอกเลิกการกู้ยืมเงินเป็นหนังสือเมื่อใดก็ได้

ให้ผู้กู้ยืมเงินที่มีหนังสือบอกเลิกการกู้ยืมเงินตามวรรคหนึ่ง มีหน้าที่ต้องชำระคืนเงินต้นพร้อมดอกเบี้ยหรือค่าธรรมเนียมให้แก่กองทุนภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ออกหนังสือบอกเลิกการกู้ยืมเงิน

มาตรา ๔๘ เมื่อมีเหตุอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ กองทุนอาจบอกเลิกสัญญากู้ยืมเงินของผู้กู้ยืมเงินก็ได้

(๑)

เมื่อปรากฏในภายหลังว่า ผู้กู้ยืมเงินไม่มีสิทธิหรือผู้กู้ยืมเงิน ปกปิดข้อเท็จจริงอันควรแจ้งให้ทราบ หรือแจ้งข้อความอันเป็นเท็จในสาระสำคัญ

(๒)

ผู้กู้ยืมเงินไม่ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมเงิน หรือข้อตกลงที่ให้ไว้แก่กองทุน ให้ผู้กู้ยืมเงินที่ถูกบอกเลิกสัญญากู้ยืมเงินตามวรรคหนึ่ง มีหน้าที่ต้องชำระคืนเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา ที่ได้รับไปทั้งหมดคืนให้แก่กองทุนภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งการบอกเลิกสัญญา ระยะเวลาการบรรลุผล กองทุนจะขยายให้ตามความจำเป็นที่สมควรก็ได้

มาตรา ๔๙ ในกรณีที่ผู้กู้ยืมเงินถึงแก่ความตายหรือกลายเป็นคนไร้ความสามารถ กองทุนจะงดให้ผู้กู้ยืมเงินที่มีข้อยกเว้นดังต่อไปนี้ต้องชำระเงินคืนกองทุน

(๑)

ตาย

(๒)

ล้มละลาย ยกเว้นเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต

(๓)

เป็นคนพิการหรือทุพพลภาพจนไม่สามารถประกอบการงานหรือประกอบอาชีพได้ ทั้งนี้ ตามลักษณะและระยะเวลาที่คณะกรรมการประกาศกำหนด

(๔)

เป็นโรคร้ายแรงระยะร้ายแรงหรือเหตุอื่นที่ไม่สามารถประกอบการงานหรือประกอบอาชีพได้ ทั้งนี้ ตามลักษณะและระยะเวลาที่คณะกรรมการประกาศกำหนด ในกรณีตาม (๒) ให้ระงับเฉพาะหนี้ในส่วนที่ไม่ได้รับจากการแบ่งทรัพย์สินในคดีล้มละลาย

มาตรา ๕๐ หน้าที่ติดตามหนี้ของผู้กู้ยืมเงิน ให้กองทุนแจ้งผู้กู้ยืมเงินหรือผู้ค้ำประกันให้ชำระหนี้ตามกำหนดเวลา โดยส่งหนังสือแจ้งเตือนให้ชำระหนี้ก่อนวันถึงกำหนดชำระหนี้ไม่น้อยกว่าสามสิบวัน

ในกรณีที่ผู้กู้ยืมเงินหรือผู้ค้ำประกันไม่ชำระหนี้ภายในกำหนดเวลา ให้กองทุนมีอำนาจดำเนินการตามมาตรา ๖๓ (๔) เพื่อเรียกชำระหนี้จากผู้กู้ยืมเงินหรือผู้ค้ำประกัน หากผู้กู้ยืมเงินหรือผู้ค้ำประกันไม่ชำระหนี้ตามที่กำหนด ให้กองทุนมีอำนาจดำเนินการตามมาตรา ๖๓ (๔) เพื่อเรียกชำระหนี้จากผู้กู้ยืมเงินหรือผู้ค้ำประกัน การหักเงินสภาพควรคนที่มีชื่อหักให้กองทุนเป็นลำดับแรกถัดจากการหักภาษี ณ ที่จ่าย และการหักเงินอื่นของกองทุนที่มีอยู่เป็นเบื้องต้นที่กฎหมายกำหนดว่าต้องหักนำส่งก่อนหน้ากฎหมายว่าด้วยการ กฎหมายว่าด้วยกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน และกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม เมื่อกรมสรรพากรได้รับเงินจากผู้จ่ายเงินได้พึงประเมินแล้วกรมสรรพากรพึงแล้วให้นำส่งกองทุนตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กรมสรรพากรกำหนด โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง ถ้าผู้จ่ายเงินได้พึงประเมินคนควรหักเงินได้พึงประเมินไว้แล้วนำส่ง หักและไม่ได้นำส่ง หรือนำส่งแต่ไม่ครบตามจำนวนต่อกองทุนแจ้งให้ทราบ หรือเกินเลยกำหนดระยะเวลาตามสรรพากรคนนี้ ให้ผู้จ่ายเงินได้พึงประเมินรับผิดชอบให้เงินดังกล่าวถึงกองทุนในส่วนของผู้จ่ายเงินตามจำนวนที่กองทุนแจ้งให้ทราบและต้องจ่ายเพิ่มในอัตราร้อยละสองต่อเดือนของจำนวนเงินดังกล่าวหรือในอัตราร้อยละสามต่อเดือนของจำนวนเงินดังกล่าว แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ นับแต่วันถัดจากที่ครบกำหนดระยะเวลานำส่ง ในกรณีที่ผู้จ่ายเงินได้พึงประเมินได้หักเงินได้พึงประเมินของผู้จ่ายเงินไว้แล้ว ให้ถือว่าผู้จ่ายเงินได้พึงประเมินยังมีหนี้ที่การศึกษาตามจำนวนที่ได้หักไว้แล้ว เมื่อมีเหตุอันสมควรตามความของกองทุนจะเห็นว่าสอดคล้องและเหมาะสมควรสั่งให้ผู้จ่ายเงินได้พึงประเมินปรับการจ่ายหรือเป็นการทำไปได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนด(29)

หมวด 6

การเงินและการบัญชี

มาตรา 52 ให้คณะกรรมการจัดให้มีระบบบัญชีที่เหมาะสมเพื่อสามารถควบคุมและบริหารจัดการทุนที่เงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาและจัดทำรายงานการเงินแสดงฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของกองทุนได้อย่างถูกต้องตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

มาตรา 53 การรับเงิน การจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงินของกองทุน ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด

มาตรา 54 กองทุนต้องจัดให้มีการตรวจสอบภายในเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี และการพัสดุของกองทุน ตลอดจนรายงานผลการตรวจสอบให้คณะกรรมการทราบอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง

คณะกรรมการต้องจัดให้มีผู้สอบบัญชีซึ่งมิใช่เจ้าหน้าที่หรือพนักงานของกองทุนตรวจสอบและรับรองบัญชีของกองทุน และจัดทำรายงานผลการตรวจสอบบัญชีเสนอต่อคณะกรรมการทราบ

มาตรา 55 ให้กองทุนจัดทำบัญชีแยกสำหรับผู้สอบบัญชีออกในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่สิ้นปีบัญชีทุกปี

บัญชีของกองทุน ให้ถือเสมือนเป็นระบบตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ ประมวล ในทุกรอบปี ให้สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินหรือบุคคลซึ่งสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินให้ความเห็นชอบเป็นผู้สอบบัญชีของกองทุน แล้วทำรายงานผลการสอบบัญชีเสนอคณะรัฐมนตรีภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันสิ้นปีบัญชี ให้กองทุนโอนงบการงานประจำปีโดยแสดงงบการเงินพร้อมกับรายงานการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชี รวมทั้งรายงานสรุปผลงานในปีที่ล่วงมาในกรอบกำหนดตามบทเฉพาะกาล

มาตรา 56 ให้โอนบรรดากิจการ ทรัพย์สิน สิทธิ หน้าที่ ที่ กระทรวงมหาดไทย และลูกจ้าง และเงินงบประมาณของกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาตามพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2541 และของกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาที่ผูกับรายได้ในอนาคตตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการบริหารกองทุนเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2548 ที่ออกตามพระราชบัญญัตินี้ฉบับก่อน พ.ศ. 2541 ที่มีอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับไปเป็นของกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาตามระราชบัญญัตินี้

มาตรา 57 ให้ผู้จัดการกองทุนพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2541 ซึ่งดำรงตำแหน่งอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับเป็นผู้จัดการกองทุนพระราชบัญญัตินี้ต่อไปจนกว่าจะพ้นจากตำแหน่งตามสัญญาจ้างหรือเพราะเหตุอื่น

มาตรา 58 ในวาระแรกเริ่มแรก ให้คณะกรรมการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาประกอบด้วยกรรมการตามมาตรา 14 (1) และ (2) และให้ผู้จัดการกองทุนตามมาตรา 57 เป็นกรรมการ และแต่งตั้งบุคคลซึ่งดำรงตำแหน่งกรรมการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาตามพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2541 ซึ่งดำรงตำแหน่งอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ

ให้ผู้จัดการกองทุนแต่งตั้งพนักงานของกองทุนซึ่งโอนมาตามมาตรา 56 จำนวนหนึ่งคน เป็นผู้ช่วยเลขานุการ

มาตรา 59 ในวาระแรกเริ่มแรก ให้คณะอนุกรรมการกำกับและประเมินสถานศึกษาที่เข้าร่วมดำเนินงานกับกองทุนตามมาตรา 22 และคณะอนุกรรมการกำกับการชำระเงินคืนกองทุนตามมาตรา 28 ประกอบด้วยอนุกรรมการโดยตำแหน่ง และให้ปฏิบัติหน้าที่ในลักษณะของคณะอนุกรรมการต่อเนื่องแต่คณะอนุกรรมการใหม่นี้จะประกอบครบถ้วนตามมาตรา 22 และมาตรา 28

มาตรา 60 ให้พนักงานและลูกจ้างของกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาตามพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2541 ซึ่งดำรงตำแหน่งเป็นพนักงานและลูกจ้างของกองทุนดังกล่าวในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ และดำรงตำแหน่งต่อไปในกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาตามพระราชบัญญัตินี้จนกว่าจะได้รับเงินเดือนหรือค่าจ้างต่ำกว่าที่ได้รับในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ

มาตรา 61 ให้ถือว่าผู้กู้ยืมเงินตามพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2541 และที่อยู่ระหว่างการชำระเงินกู้ยืมตามข้อสัญญากับกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการบริหารกองทุนเพื่อการศึกษาตามพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2541 ที่ออกตามพระราชบัญญัตินี้ฉบับก่อน พ.ศ. 2541 ที่ยังไม่สิ้นสุดเป็นผู้กู้ยืมเงินตามพระราชบัญญัตินี้

หรือผู้รับทุนการศึกษาแบบต้องใช้คืนนี้แล้วนั้น จะต้องชดใช้คืนให้กองทุนตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนด

มาตรา 26 ให้ถือว่าบรรดาคำขอกู้ยืมที่นักเรียนหรือนักศึกษาได้ยื่นขอกู้ยืมจากกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาตามพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2541 และกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาที่ผูกกับรายได้ในอนาคตตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการบริหารกองทุนเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2541 ที่ออกตามพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2541 ที่ค้างพิจารณาอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ เป็นคำขอกู้ยืมเงินเพื่อการศึกษาตามพระราชบัญญัตินี้ และให้ดำเนินการต่อไปตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา 27 บรรดาคดีที่กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาตามพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2541 และกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาที่ผูกกับรายได้ในอนาคตตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการบริหารกองทุนเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2541 ที่ออกตามพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2541 ได้ฟ้องเป็นคดีต่อศาล ให้กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาตามพระราชบัญญัตินี้เป็นผู้ดำเนินคดีต่อไป ในกรณีที่กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาตามพระราชบัญญัตินี้พิจารณาแล้วเห็นว่าความแพ้ชนะในคดีนั้นหรือคดีดังกล่าวพ้นเขตที่จะบังคับคดีได้ ให้ถอนฟ้องหรือคิดค้นพยานหลักฐานเพิ่มเติมได้

ในกรณีที่ศาลได้มีคำพิพากษาหรือคำสั่งถึงที่สุดแล้ว ให้กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาตามพระราชบัญญัตินี้เป็นผู้ดำเนินการบังคับคดีหรือดำเนินการอื่นใดต่อไปตามคำพิพากษาหรือคำสั่งนั้น

มาตรา 28 บรรดาข้อบังคับ ระเบียบ และประกาศที่ออกตามพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2541 และระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการบริหารกองทุนเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2541 ที่ออกตามพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2541 ซึ่งใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ใช้บังคับได้เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้ จนกว่าจะได้มีการออกกฎกระทรวง ข้อบังคับ ระเบียบ หรือประกาศตามพระราชบัญญัตินี้

ผู้รับสนองพระราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาตามพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2541 และกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาที่ผูกกับรายได้ในอนาคตตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการบริหารกองทุนเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2541 ที่ออกตามพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2541 มีการบริหารจัดการที่แตกต่างกัน ส่งผลกระทบต่อการบริหารจัดการและการให้บริการแก่ผู้กู้ยืมเงินเพื่อการศึกษา สมควรปรับปรุงการบริหารจัดการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาให้เป็นเอกภาพอยู่ภายใต้กองทุนเดียวกัน และเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ พระราชบัญญัตินี้ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 17) พ.ศ. 2560[30]

มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

มาตรา ๑๖ บรรดากฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง และมติของคณะรัฐมนตรีใดที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ อ้างถึง “กระทรวงศึกษาธิการ” “รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ” “ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ” หรือผู้ดำรงตำแหน่งหรือผู้ปฏิบัติหน้าที่ในกระทรวงศึกษาธิการ หากเกี่ยวกับการอุดมศึกษาให้หมายถึงกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม หรือผู้ดำรงตำแหน่งหรือผู้ปฏิบัติหน้าที่ในกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม แล้วแต่กรณี

ให้เปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของสภาหรือคณะกรรมการตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการโอนสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ไปเป็นส่วนราชการตามมาตรา ๑๐ วรรคสอง เพื่อให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัตินี้ และการเปลี่ยนแปลงผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ตามที่กำหนดในบัญชี ๔ ท้ายพระราชบัญญัตินี้ ความในวรรคหนึ่งและวรรคสองไม่ใช้บังคับแก่สถานศึกษาอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ

มาตรา ๑๗ ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ เฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาประเทศให้เจริญเติบโตอย่างมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน เพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงของโลกที่มีความซับซ้อนในอนาคต สมควรจัดตั้งกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เพื่อให้สามารถบูรณาการ การเรียนการสอน การวิจัย และการสร้างสรรค์นวัตกรรมแห่งวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง และให้เกิดความร่วมมือในการปฏิบัติหน้าที่ระหว่างสถาบันอุดมศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อผลิตองค์ความรู้ที่ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ แผน และนโยบายในการพัฒนาประเทศ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ พระราชบัญญัติงบประมาณเงินรายจ่ายเพื่อการศึกษา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒[31]

มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

มาตรา ๒๔ ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ตามพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งดำรงตำแหน่งอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ คงอยู่ในตำแหน่งต่อไปจนกว่าจะมีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิใหม่ตามพระราชบัญญัตินี้ ซึ่งต้องไม่เกินหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ

มาตรา ๒๖ ห้ามมิให้ใช้บังคับบทบัญญัติมาตรา ๔๘ วรรคแรก และมาตรา ๕๐ วรรคแรก แห่งพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่ง...

แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ในทางที่จะเป็นผลร้ายแก่ผู้กู้ยืมเงินหรือผู้ค้ำเงินกู้มิได้พึง ประเมิน ตามกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดตามมาตรา ๓๙ ก่อนที่จะมีผลใช้ บังคับ

มาตรา ๒๗ เพื่อเป็นการช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนของผู้กู้ยืมเงินหรือผู้ ค้ำประกันให้สามารถชำระเงินคืนกองทุนได้ ให้แก่มาตรา ๔๘ วรรคสอง วรรคสาม วรรคสี่ วรรคห้า วรรคหก วรรคเจ็ด และวรรคแปด แห่งพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการ ศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ผู้กู้ยืมเงินหรือค้ำประกันไม่ต้องรับผิดในส่วนที่พระราชบัญญัตินี้แก้ไขเพิ่มเติมด้วย

มาตรา ๒๘ ผู้กู้ยืมเงินซึ่งได้กู้ยืมตามมาตรา ๔๘ แห่งพระราชบัญญัติ กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๐ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติก่อน วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้มีหน้าที่ต้องชำระเงินเป็นรายรับเงิน แต่ถ้าได้มีการชำระเงิน คืนกองทุนไปแล้วทั้งหมดหรือบางส่วน ผู้กู้ยืมเงินไม่มีสิทธิเรียกเงินคืน

มาตรา ๒๙ ในการออกข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๐ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัตินี้ ถ้ากำหนดให้ผู้กู้ยืมเงินหรือผู้ค้ำประกันต้องรับผิดในส่วนที่พระราชบัญญัตินี้ แก้ไขเพิ่มเติม ให้ถือว่าผู้กู้ยืมเงินหรือผู้ค้ำประกันไม่ต้องรับผิดในส่วนดังกล่าว แม้ว่าจะมีคำพิพากษาของศาลถึงที่สุดแล้วหรือ อยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลก็ตาม

เมื่อมีการดำเนินการตามมาตรา ๔๘ วรรคสี่ ภายหลังจากวันที่พระราช บัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ถือว่าผู้กู้ยืมเงินหรือผู้ค้ำประกันไม่ต้องรับผิดในส่วนที่พระราชบัญญัตินี้ แก้ไขเพิ่มเติม

มาตรา ๓๐ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังรักษาการตามพระราช บัญญัตินี้

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัตินี้ คือ โดยที่การกู้ยืมเงินเพื่อการ ศึกษาเป็นมาตรการหนึ่งที่จะช่วยลดความเหลื่อมล้ำในการศึกษา อันเป็นการลงทุนที่สำคัญใน การลดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและสังคมในภาพรวม แต่บทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วย กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบัน ยังไม่อำนวยให้การให้เงินกู้ ยืมเพื่อการศึกษาระดับสูงถึงจุดมุ่งหมายดังกล่าวได้อย่างเต็มที่ รวมทั้งการบริหารและบริหารหนี้ ผู้กู้ยืมเงินยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาหนี้สินที่เกิดจากการกู้ยืมเงินเพื่อการศึกษาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ สมควรแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา เพื่อเปิดโอกาสให้เงินกู้ยืม เพื่อการศึกษาสามารถนำไปใช้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาได้มากขึ้น รวมทั้ง ปรับปรุงกระบวนการบริหารหนี้ให้สามารถช่วยเหลือผู้กู้ยืมเงินที่ประสบปัญหาหนี้สินให้สามารถ ชำระหนี้ได้อย่างเหมาะสม รวมถึงกำหนดให้การชำระเงินคืนกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา เป็นรายรับเงินของกองทุน จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ ชญานิศ / Maker 23 มีนาคม 2566 สุภาภัทร / Checker 23 มีนาคม 2566 สุภาภิพย์ / Authorizer 23 มีนาคม 2566 (1) ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 137/ตอนที่ 12 ก/หน้า 1/27 มกราคม 2563 (2) มาตรา 4 นิยามคำว่า "นักเรียนหรือนักศึกษา" แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2566 (3) มาตรา 4 นิยามคำว่า "สถานศึกษา" แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2566 (4) มาตรา 6 วรรคสาม ยกเลิกโดยพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2566 (5) มาตรา 7/1 เพิ่มโดยพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2566 (6) มาตรา 9 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2566 (7) มาตรา 9 (9) แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2566 (8) มาตรา 9 (10) แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2566 (9) มาตรา 14 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2562 (10) มาตรา 18 (3) แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2566 (11) มาตรา 22 ยกเลิกโดยพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2566 (12) มาตรา 23 ยกเลิกโดยพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2566 (13) มาตรา 24 ยกเลิกโดยพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2566 (14) มาตรา 25 ยกเลิกโดยพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2566 (15) มาตรา 26 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2566

มาตรา ๑๖ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๖

มาตรา ๑๗ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๖

มาตรา ๑๘/๑ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๖

มาตรา ๑๙ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๖

มาตรา ๒๐ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๖

มาตรา ๒๑ วรรคหนึ่ง แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๖

มาตรา ๒๒/๑ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๖

มาตรา ๒๓ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๖

มาตรา ๒๔/๑ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๖

มาตรา ๒๕ (๓) แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๖

มาตรา ๒๖ วรรคสาม เพิ่มโดยพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๖

มาตรา ๒๗ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๖

มาตรา ๒๘ วรรคหนึ่ง แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๖

มาตรา ๒๙ วรรคหก เพิ่มโดยพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๖

ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๔๐/ตอนที่ ๔๗ ก/หน้า ๑๐/๑ พฤษภาคม ๒๕๖๖ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๔๐/ตอนที่ ๒๐ ก/หน้า ๙/๑๔ มีนาคม ๒๕๖๖