로고

「1992년 에너지 개발 및 장려법」

• 국 가 ‧ 지 역: 태국 • 제 정 일: 1992년 2월 3일

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๕ เป็นปีที่ ๔๗ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วย การพลังงานแห่งชาติ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยค าแนะน าและยินยอม ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ท าหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้ 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서 현 왕조의 47번째 해인 1992년(불기2535년) 2월 3일에 하사하셨다. 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서는 다음과 같이 공고하도록 하셨다. 국가 에너지 관련 법률을 개정하 는 것이 합당하므로, 국회 직무를 담당하는 국가입법 의회의 조언과 동의를 통하여 다 음과 같이 법을 제정한다.

มาตรา ๑

พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติการ พัฒนาและส่งเสริมพลังงาน พ.ศ. ๒๕๓๕”

มาตรา ๒

พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวัน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

มาตรา ๓

ให้ยกเลิก (๑) พระราชบัญญัติการพลังงานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๔๙๖ (๒) พระราชบัญญัติการพลังงานแห่งชาติ (ฉบับ ที่ ๒) พ.ศ.๒๕๐๗ (๓) พระราชบัญญัติการพลังงานแห่งชาติ (ฉบับ ที่ ๓) พ.ศ.๒๕๒๒ (๔) พระราชบัญญัติการพลังงานแห่งชาติ (ฉบับ ที่ ๔) พ.ศ.๒๕๓๐ บรรดากฎหมาย กฎ และข้อบังคับอื่นในส่วนที่มี บัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัตินี้ หรือซึ่งขัด หรือแย้งกับบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้ พระราชบัญญัตินี้แทน

มาตรา ๔

บทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ค าสั่ง หรือมติคณะรัฐมนตรีใดอ้างถึง ส านักงานพลังงานแห่งชาติ และเลขาธิการ พลังงานแห่งชาติ ให้ถือว่าบทบัญญัติแห่ง กฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ค าสั่ง หรือมติคณะรัฐมนตรีนั้น อ้างถึงกรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน และอธิบดี กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ตามล าดับ

มาตรา ๕

ในพระราชบัญญัตินี้ “พลังงาน” หมายความว่า ความสามารถในการ ท างานซึ่งมีอยู่ในตัวของสิ่งที่อาจให้งานได้ ได้แก่ พลังงานหมุนเวียน และพลังงานสิ้นเปลือง และ ให้หมายความรวมถึงสิ่งที่อาจให้งานได้ เช่น เชื้อเพลิง ความร้อน และไฟฟ้า เป็นต้น “พลังงานหมุนเวียน” หมายความรวมถึง พลังงานที่ได้จากไม้ ฟื น แกลบ กากอ้อย ชีวมวล น ้า แสงอาทิตย์ ความร้อนใต้พิภพ ลม และคลื่น เป็นต้น “พลังงานสิ้นเปลือง” หมายความรวมถึง พลังงานที่ได้จากถ่านหิน หินน ้ามัน ทรายน ้ามัน น ้ามันดิบ น ้ามันเชื้อเพลิง ก๊าซธรรมชาติ และ นิวเคลียร์ เป็นต้น “เชื้อเพลิง” หมายความรวมถึง ถ่านหิน หินน ้ามัน ทรายน ้ามัน น ้ามันเชื้อเพลิง ก๊าซธรรมชาติ ก๊าซ เชื้อเพลิง เชื้อเพลิงสังเคราะห์ ไม้ ฟื น แกลบ กาก อ้อย ขยะ และสิ่งอื่นตามที่คณะกรรมการ นโยบายพลังงานแห่งชาติก าหนดโดยประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา “พลังงานควบคุม” หมายความว่า พลังงานซึ่งได้ ก าหนดให้มีการควบคุมตามบทแห่ง พระราชบัญญัตินี้ เว้นแต่ปิโตรเลียมตาม กฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียม “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า เจ้าหน้าที่ ของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน* และหมายความรวมถึงเจ้าหน้าที่ของ กระทรวง ทบวง กรม ราชการส่วนท้องถิ่น และ รัฐวิสาหกิจซึ่งพระราชบัญญัตินี้ก าหนดให้ถือว่า เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ด้วย “อธิบดี” หมายความว่า อธิบดีกรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการ ตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๖

ให้กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน มีอ านาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้

(๑) ส ารวจ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ ทดลองและ ตรวจสอบเกี่ยวกับพลังงานในด้านแหล่งพลังงาน การผลิต การแปรรูป การส่ง และการใช้

(๒) ศึกษา วางแผน และวางโครงการเกี่ยวกับ พลังงานและกิจการที่เกี่ยวข้อง

(๓) ค้นคว้าและพัฒนา สาธิต และก่อให้เกิด โครงการริเริ่มเกี่ยวกับการผลิต การแปรรูป การ ส่ง การใช้ และการอนุรักษ์แหล่งพลังงาน

(๔) ออกแบบ สร้าง และบ ารุงรักษาแหล่งผลิต แหล่งแปรรูป ระบบส่ง และระบบใช้พลังงาน เช่น การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนและ พลังงานชนิดใหม่ การผลิตเชื้อเพลิงจากชีวมวล และการสูบน ้าด้วยไฟฟ้า

(๕) ก าหนดระเบียบและมาตรฐานเกี่ยวกับการ ผลิต การแปรรูป การส่ง การใช้ และการอนุรักษ์ แหล่งพลังงาน ตลอดจนควบคุมและก ากับดูแล ให้เป็นไปตามระเบียบและมาตรฐานนั้น

(๖) ก าหนดอัตราค่าตอบแทนส าหรับการใช้ พลังงานที่ด าเนินการ โดยกรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

(๗) จัดให้มี ควบคุม สร้าง ซื้อ ขาย เช่า ให้เช่า โอน หรือรับโอนแหล่งผลิต แหล่งแปรรูป ระบบ ส่งและระบบจ าหน่ายพลังงาน และออก ใบอนุญาตผลิตหรือขยายการผลิตพลังงาน

(๘) ถ่ายทอดเทคโนโลยี ส่งเสริม ฝึกอบรม เผยแพร่เกี่ยวกับการผลิต การแปรรูป การส่ง การใช้และการอนุรักษ์แหล่งพลังงาน ตลอดจน เป็นศูนย์กลางการประสานความร่วมมือใน กิจการที่เกี่ยวข้อง

มาตรา ๗

ให้อธิบดีมีหน้าที่ควบคุมและดูแลโดยทั่วไปซึ่ง ราชการของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษ์พลังงาน และเป็นผู้บังคับบัญชา ข้าราชการและลูกจ้างในกรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

มาตรา ๘

ในการด าเนินการตามอ านาจหน้าที่ กรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน อาจมอบ ให้กระทรวง ทบวง กรม ราชการส่วนท้องถิ่น หรือรัฐวิสาหกิจ ปฏิบัติการเฉพาะอย่างแทนได้

มาตรา ๙

ในกรณีที่กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษ์พลังงาน มอบให้กระทรวง ทบวง กรม ราชการส่วนท้องถิ่น หรือรัฐวิสาหกิจ ปฏิบัติการ เฉพาะอย่างแทน ให้ผู้รับมอบดังกล่าวปฏิบัติการ ให้เป็นไปตามที่ได้รับมอบนั้น และเพื่อประโยชน์ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้ เจ้าหน้าที่ของกระทบวง ทบวง กรม ราชการส่วน ท้องถิ่น หรือรัฐวิสาหกิจ ผู้ปฏิบัติการตามที่ได้รับ มอบนั้นเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ และมีอ านาจ หน้าที่อย่างเดียวกับพนักงานเจ้าหน้าที่ของกรม พัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ตามที่ก าหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้ ในการมอบอ านาจหน้าที่ให้กระทรวง ทบวง กรม ราชการส่วนท้องถิ่น หรือรัฐวิสาหกิจด าเนินการ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน จะโอนเงินไปตั้งจ่ายทางกระทรวง ทบวง กรม ราชการส่วนท้องถิ่น หรือรัฐวิสาหกิจเช่นว่านั้น เพื่อใช้จ่ายตามรายการที่อนุมัติในงบประมาณ ของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน ก็ได้

มาตรา ๑๐

ในการปฏิบัติตามอ านาจหน้าที่ตามมาตรา ๖ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน อาจขอให้กระทรวง ทบวง กรม ราชการส่วน ท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจหรือบุคคลใด ๆ เสนอ รายละเอียดทางวิชาการ การเงิน สถิติ และเรื่อง ต่าง ๆ ที่จ าเป็นได้

มาตรา ๑๑

ในการปฏิบัติราชการของกรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ให้พนักงาน เจ้าหน้าที่มีอ านาจเข้าไปในสถานที่ใด ๆ ใน ระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นถึงพระอาทิตย์ตก หรือเวลาท าการของสถานที่นั้น ๆ เพื่อสอบถาม ข้อเท็จจริง หรือเพื่อตรวจสอบเอกสาร หรือ สิ่งของใด ๆ ที่เกี่ยวกับกิจการพลังงานจากบุคคล ที่อยู่ในสถานที่เช่นว่านั้นได้ตามความจ าเป็น ใน การนี้ ผู้ครอบครองสถานที่ดังกล่าวต้องอ านวย ความสะดวกแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ตามสมควร กรณีที่พนักงานเจ้าหน้าที่เข้าไปในสถานที่ตาม วรรคหนึ่ง ถ้าไม่เป็นการเร่งด่วนให้แจ้งเป็น หนังสือให้ผู้ครอบครองสถานที่ทราบล่วงหน้าไม่ น้อยกว่าสามวัน

มาตรา ๑๒

ในการปฏิบัติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ต้อง แสดงบัตรประจ าตัวแก่บุคคลที่เกี่ยวข้อง บัตรประจ าตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ให้เป็นไปตาม แบบที่รัฐมนตรีก าหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๑๓

ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ เป็น เจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา

มาตรา ๑๔

พนักงานเจ้าหน้าที่มีอ านาจที่จะใช้สอยหรือเข้า ครอบครองอสังหาริมทรัพย์ในความครอบครอง ของบุคคลใด ๆ ซึ่งมิใช่เคหสถานเป็นการ ชั่วคราวภายใต้เงื่อนไข ดังต่อไปนี้

(๑) การใช้สอยหรือเข้าครอบครองนั้นเป็นการ จ าเป็นส าหรับการส ารวจแหล่งผลิต ระบบส่ง ระบบจ าหน่ายพลังงาน และการป้องกันอันตราย หรือความเสียหายอันอาจเกิดแก่การผลิต การส่ง หรือการจ าหน่ายพลังงาน และ

(๒) ได้แจ้งให้เจ้าของหรือผู้ครอบครอง อสังหาริมทรัพย์ทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสิบห้า วัน ถ้ามีความเสียหายเกิดขึ้นแก่เจ้าของหรือผู้ ครอบครองอสังหาริมทรัพย์หรือผู้ทรงสิทธิอื่น เนื่องจากการกระท าของพนักงานเจ้าหน้าที่ ดังกล่าวในวรรคหนึ่ง บุคคลเช่นว่านั้นย่อมเรียก ค่าทดแทนจากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษ์พลังงานได้ และถ้าไม่สามารถตกลงกัน ในจ านวนค่าทดแทน ให้น ามาตรา ๒๒ และ มาตรา ๒๓ มาใช้บังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๑๕

เมื่อมีความจ าเป็นที่จะต้องได้มาซึ่ง อสังหาริมทรัพย์ เพื่อใช้ในการผลิต การส่ง หรือ การจ าหน่ายพลังงาน ถ้ามิได้ตกลงในเรื่องการ โอนไว้เป็นอย่างอื่น ให้ด าเนินการเวนคืนตาม กฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์

มาตรา ๑๖

เมื่อมีความจ าเป็นเพื่อประโยชน์แก่ชุมนุมชน ให้ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน มีอ านาจตั้งสถานีพลังงาน เดินสายหรือท่อ พลังงานไปใต้ เหนือ ตามหรือข้ามพื้นดินของ บุคคลใด ๆ หรือปัก ตั้งเสาหรืออุปกรณ์ ลงใน หรือบนพื้นดินของบุคคลใด ๆ ซึ่งไม่ใช่เป็นที่ตั้ง โรงเรือน ในกรณีที่ต้องใช้ที่ดินตอนหนึ่งตอนใด เพื่อ กระท าการดังกล่าวในวรรคหนึ่ง ให้กรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน จ่ายค่า ทดแทนในการใช้ที่ดินนั้นแก่เจ้าของหรือผู้ ครอบครอง โดยจ านวนเงินอันเป็นธรรม เว้นแต่ เจ้าของหรือผู้ครอบครองเป็นผู้ได้รับประโยชน์ คุ้มค่าในการกระท านั้นอยู่ด้วย

มาตรา ๑๗

เพื่อประโยชน์แก่ชุมนุมชน ให้กรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน มีอ านาจ เดินสายหรือท่อพลังงานติดไปกับสิ่งก่อสร้างของ บุคคลใด ๆ ที่อยู่เหนือหรือติดกับทางสัญจรของ ประชาชน

มาตรา ๑๘

ก่อนที่กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน จะด าเนินการตามมาตรา ๑๖ หรือ มาตรา ๑๗ ให้กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษ์พลังงาน แจ้งเป็นหนังสือให้เจ้าของหรือผู้ ครอบครองทรัพย์สินที่เกี่ยวข้องทราบ เจ้าของ หรือผู้ครอบครองทรัพย์สินนั้นอาจยื่นค าร้อง แสดงเหตุที่ไม่ควรท าเช่นนั้นไปยังรัฐมนตรีเพื่อ พิจารณาวินิจฉัยได้ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ ได้รับหนังสือแจ้ง ในกรณีเช่นว่านี้ ให้กรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน รอการ ด าเนินการไว้ก่อน จนกว่าจะแจ้งค าวินิจฉัยของ รัฐมนตรีให้ผู้ยื่นค าร้องทราบแล้ว ค าวินิจฉัยของรัฐมนตรีให้เป็นที่สุด

มาตรา ๑๙

เพื่อประโยชน์แห่งความปลอดภัยในการส่ง พลังงาน ให้กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษ์พลังงาน มีอ านาจตัดต้น กิ่ง หรือรากของ ต้นไม้ ซึ่งอยู่ใกล้สายหรือท่อพลังงานหรือ อุปกรณ์ได้ แต่ต้องแจ้งให้เจ้าของหรือผู้ ครอบครองต้นไม้ได้ทราบล่วงหน้าภายในเวลา อันสมควร ในกรณีที่ต้นไม้นั้นมีอยู่ก่อนเวลาตั้งสถานี พลังงาน หรือเดินสายหรือท่อพลังงานหรือปัก ตั้ง เสาหรืออุปกรณ์ ให้กรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน ใช้ค่าทดแทนให้แก่ผู้มีส่วน ได้เสียในต้นไม้เท่าที่ต้องเสียหายไปเพราะการ กระท านั้น

มาตรา ๒๐

ถ้าเจ้าของหรือผู้ครอบครองทรัพย์สินที่เกี่ยวข้อง ประสงค์จะก่อสร้างหรือกระท ากิจการใด ๆ ลงใน ที่ดินซึ่งมีสายหรือท่อพลังงานหรืออุปกรณ์กีด ขวางอยู่ เจ้าของหรือผู้ครอบครองทรัพย์สินนั้น ชอบที่จะร้องขอต่อกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน ให้ย้าย ถอน เปลี่ยนแปลง หรือแก้ไขสิ่งที่กีดขวางนั้นได้ เมื่อเป็นการสมควร ก็ให้กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน จัดการตามค าร้องขอนั้น โดยให้เจ้าของ หรือผู้ครอบครองทรัพย์สินออกค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น

มาตรา ๒๑

ในกรณีจ าเป็นเร่งด่วนพนักงานเจ้าหน้าที่อาจเข้า ไปในสถานที่ของบุคคลใด ๆเพื่อตรวจซ่อมแซม หรือแก้ไขสายหรือท่อพลังงานหรืออุปกรณ์ใน เวลาหนึ่งเวลาใดก็ได้เมื่อได้แจ้งให้เจ้าของหรือผู้ ครอบครองทราบแล้ว

มาตรา ๒๒

ในกรณีที่เจ้าของหรือผู้ครอบครองทรัพย์สินหรือ ผู้ทรงสิทธิอื่นไม่ยินยอมตกลงในจ านวนเงินค่า ทดแทนที่กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษ์พลังงานจ่ายให้ตามมาตรา ๑๖ หรือ มาตรา ๑๙ หรือหาเจ้าของหรือผู้ครอบครอง ทรัพย์สินหรือผู้ทรงสิทธิอื่นนั้นไม่พบ ให้กรม พัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานน า เงินจ านวนดังกล่าวไปวางไว้ต่อศาลหรือ ส านักงานวางทรัพย์หรือฝากไว้กับธนาคารออม สินในชื่อของเจ้าของหรือผู้ครอบครองทรัพย์สิน หรือผู้ทรงสิทธิอื่น โดยแยกฝากไว้เป็นบัญชี เฉพาะราย และถ้ามีดอกเบี้ยหรือดอกผลใด เกิดขึ้น เนื่องจากการฝากเงินนั้น ให้ตกเป็นสิทธิ แก่เจ้าของหรือผู้ครอบครองทรัพย์สินหรือผู้ทรง สิทธิอื่นนั้นด้วย เมื่อกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงานน าเงินค่าทดแทนไปวางไว้ต่อศาลหรือ ส านักงานวางทรัพย์หรือฝากไว้กับธนาคารออม สินตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้กรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษ์พลังงานมีหนังสือแจ้งให้ เจ้าของหรือผู้ครอบครองทรัพย์สินหรือผู้ทรงสิทธิ อื่นทราบ โดยส่งทางไปรษณีย์ตอบรับ ในกรณีหา เจ้าของหรือผู้ครอบครองทรัพย์สินหรือผู้ทรงสิทธิ อื่นไม่พบ ให้ประกาศในหนังสือพิมพ์รายวันที่มี จ าหน่ายในท้องถิ่นอย่างน้อยสองวันติดต่อกัน เพื่อให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองทรัพย์สินหรือผู้ ทรงสิทธิอื่นทราบ หลักเกณฑ์และวิธีการในการน าเงินค่าทดแทนไป วางต่อศาล หรือส านักงานวางทรัพย์หรือฝากไว้ กับธนาคารออมสิน และวิธีการในการรับเงินค่า ทดแทนดังกล่าวให้เป็นไปตามระเบียบที่รัฐมนตรี ก าหนด

มาตรา ๒๓

ในกรณีที่เจ้าของหรือผู้ครอบครองทรัพย์สินหรือ ผู้ทรงสิทธิอื่นไม่พอใจในจ านวนเงินค่าทดแทนที่ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน จ่ายให้ไม่ว่าบุคคลนั้นจะรับหรือไม่รับเงินค่า ทดแทนที่กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษ์พลังงานวางไว้หรือฝากไว้บุคคลนั้นมี สิทธิฟ้องคดีต่อศาลภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่กรม พัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานได้ ด าเนินการตามมาตรา ๒๒ วรรคสอง แล้ว การฟ้องคดีต่อศาลตามวรรคหนึ่งไม่เป็นเหตุให้ การครอบครองหรือใช้อสังหาริมทรัพย์หรือการ ด าเนินการใด ๆของพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม มาตรา ๑๖ หรือมาตรา ๑๙ ต้องสะดุดหยุดลง ในกรณีที่ศาลวินิจฉัยให้ช าระเงินค่าทดแทน เพิ่มขึ้น ให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองทรัพย์สิน ได้รับดอกเบี้ยในอัตราสูงสุดของดอกเบี้ยเงินฝาก ประเภทประจ าของธนาคารออมสินในจ านวน เงินที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้นับแต่วันที่ต้องมีการจ่าย วาง หรือฝากเงินค่าทดแทนนั้น ในกรณีที่เจ้าของหรือผู้ครอบครองทรัพย์สินหรือ ผู้ทรงสิทธิอื่นยินยอมตกลงและได้รับเงินค่า ทดแทนไปแล้ว หรือมิได้ฟ้องคดีเรียกเงินค่า ทดแทนต่อศาลภายในระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง หรือได้แจ้งเป็นหนังสือสละสิทธิไม่รับเงินค่า ทดแทนดังกล่าว ผู้ใดจะเรียกร้องเงินค่าทดแทน นั้นอีกไม่ได้

มาตรา ๒๔

การก าหนดพลังงานประเภทใด ขนาดและวิธีการ ผลิต หรือการใช้อย่างใดให้เป็นพลังงานควบคุม ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา

มาตรา ๒๕

ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต หรือขยายการผลิตพลังงาน ควบคุม เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากกรม พัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน การขอรับใบอนุญาตและการออกใบอนุญาตให้ เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ก าหนดใน กฎกระทรวง การผลิตพลังงานควบคุมใดซึ่งจะต้องได้รับ อนุญาตหรือรับสัมปทานตามกฎหมายอื่น จะต้องได้รับอนุญาตหรือรับสัมปทานตาม กฎหมายนั้นด้วย

มาตรา ๒๖

การก าหนดหลักเกณฑ์ในกฎกระทรวงตาม มาตรา ๒๕ ให้ค านึงถึงกรณีดังต่อไปนี้ด้วย

(๑) ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและ ความมั่นคงของประเทศ

(๒) อันตรายที่จะเกิดขึ้นจากการผลิตหรือการ ขยายการผลิตพลังงาน

(๓) การใช้วัตถุดิบหรือวัตถุธรรมชาติตามหลัก วิชา

มาตรา ๒๗

ให้กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงานพิจารณาการขอรับใบอนุญาตตาม มาตรา ๒๕ ให้เสร็จภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับ แต่วันที่กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงานได้รับค าขอที่มีรายละเอียดถูกต้องและ ครบถ้วนตามที่ก าหนดในกฎกระทรวง ในการอนุญาตดังกล่าว กรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษ์พลังงานอาจก าหนดเงื่อนไข ดังต่อไปนี้ได้

(๑) อัตราค่าตอบแทนอย่างสูงที่จะพึงเรียกจาก ผู้ใช้พลังงานควบคุมให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขของคณะกรรมการนโยบายพลังงาน แห่งชาติ

(๒) การก าหนดเขตการจ่ายพลังงาน และขนาด ของเครื่องจักรที่จะติดตั้งเพื่อท าการผลิต

(๓) การด าเนินการให้ถูกต้องตามหลักวิชา เช่น การวางสาย การป้องกันอัคคีภัย การป้องกัน ความเสียหายของเครื่องจักร การป้องกัน อันตราย หรือการก าหนดประเภทหรือวิธีการใช้ วัตถุดิบหรือวัตถุธรรมชาติที่ใช้ในการผลิต พลังงานควบคุม

มาตรา ๒๘

ในกรณีที่อาจเกิดการขาดแคลนพลังงานควบคุม เป็นครั้งคราว หรือกรณีจ าเป็นอย่างอื่นเพื่อ ประโยชน์ในทางเศรษฐกิจของประเทศ อธิบดีมี อ านาจออกค าสั่งเป็นหนังสือให้ผู้ผลิตพลังงาน ควบคุมปฏิบัติดังต่อไปนี้

(๑) ลดหรือเพิ่มการผลิต การจ าหน่าย หรือการ ใช้พลังงานควบคุม

(๒) เปลี่ยนประเภทของวัตถุดิบหรือวัตถุ ธรรมชาติที่ใช้ในการผลิตพลังงานควบคุม

(๓) เปลี่ยนแปลงอัตราค่าตอบแทนอย่างสูงที่จะ พึงเรียกจากผู้ใช้พลังงานควบคุม

มาตรา ๒๙

เพื่อประโยชน์แก่การระงับหรือป้องกันอันตรายที่ อาจมีแก่บุคคล หรือทรัพย์สิน หรืออนามัยของ ประชาชน หรือความมั่นคงของประเทศ อธิบดีมี อ านาจออกค าสั่งเป็นหนังสือให้ผู้ผลิตพลังงาน ควบคุมปฏิบัติดังต่อไปนี้

(๑) เปลี่ยนแปลงซ่อมแซม หรือบูรณะอาคาร เครื่องจักร เครื่องอุปกรณ์เครื่องมือหรือเครื่องใช้

(๒) จัดหา หรือสร้างสิ่งใด ๆซึ่งจะขจัดหรือ ป้องกันอันตราย

(๓) งดการผลิต การส่ง การใช้หรือการจ าหน่าย พลังงานควบคุมเป็นการชั่วคราวจนกว่าจะได้ ปฏิบัติตามค าสั่งตาม (๑) หรือ(๒)

มาตรา ๓๐

ในการใช้อ านาจตามมาตรา ๒๘ หรือมาตรา ๒๙ ให้กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงานค านึงถึงค่าใช้จ่ายที่จะเพิ่มขึ้น หรือ ความสามารถในการจัดหาทุนของผู้ผลิต พลังงานควบคุมด้วย กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน จะช่วยหาทุนเพื่อให้ผู้ผลิตพลังงานควบคุม สามารถปฏิบัติตามค าสั่งก็ได้

มาตรา ๓๑

ผู้ที่ไม่ได้รับใบอนุญาตตามมาตรา ๒๕ หรือได้รับ ใบอนุญาตโดยมีเงื่อนไขตามมาตรา ๒๗ หรือผู้ที่ ได้รับค าสั่งตามมาตรา ๒๘ หรือมาตรา ๒๙ หาก ไม่เห็นชอบด้วยกับการไม่อนุญาตเงื่อนไข หรือ ค าสั่งดังกล่าวนั้น มีสิทธิอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรี ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ทราบว่าไม่ได้รับ ใบอนุญาต หรือได้รับใบอนุญาตโดยมีเงื่อนไข หรือได้รับค าสั่งนั้น ให้รัฐมนตรีวินิจฉัยอุทธรณ์ให้เสร็จภายในเก้าสิบ วันนับแต่วันที่ได้รับอุทธรณ์ถ้าผู้อุทธรณ์ไม่เห็น ด้วยกับค าวินิจฉัยอุทธรณ์ให้เสนอคดีต่อศาล ภายในสี่สิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งค าวินิจฉัย อุทธรณ์

มาตรา ๓๒

ห้ามมิให้บุคคลใดกระท าการใด ๆอันเป็นการ ขัดขวางต่อการผลิตพลังงานควบคุม หรือท าให้ การผลิตพลังงานควบคุมลดน้อยลงโดยไม่มีเหตุ อันควร

มาตรา ๓๓

ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อ านวยความสะดวกตาม สมควรแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติการ ตามมาตรา ๑๑ มาตรา ๑๔ มาตรา ๑๖ มาตรา ๑๗ มาตรา ๑๙ หรือมาตรา ๒๑ ต้องระวางโทษ จ าคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพัน บาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๓๔

ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๒๕ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่ เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้ง จ าทั้งปรับ

มาตรา ๓๕

้ใดไม่ปฏิบัติตามค าสั่งของอธิบดีที่สั่งตาม มาตรา ๒๘ หรือมาตรา ๒๙ ต้องระวางโทษ จ าคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๓๖

ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๓๒ ต้องระวางโทษจ าคุกไม เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้ง จ าทั้งปรับ

มาตรา ๓๗

ในการด าเนินคดีตามพระราชบัญญัตินี้ให้ พนักงานอัยการมีอ านาจร้องขอต่อศาลให้สั่งให้ ผู้กระท าผิดปฏิบัติการให้เป็นไปตามหน้าที่ที่มีอยู่ ตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๓๘

การใดที่เป็นอ านาจหน้าที่ของคณะกรรมการ การพลังงานแห่งชาติและได้มีการด าเนินการ ตามอ านาจหน้าที่นั้นไปแล้วตามพระราชบัญญัติ การพลังงานแห่งชาติพ.ศ.๒๔๙๖ ก่อนวันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ แต่การด าเนินการนั้น ไม่ถึงที่สุด หรือมีข้อผูกพันที่จะต้องด าเนินการ ต่อไป ให้รัฐมนตรีมีอ านาจพิจารณาสั่งการแทน คณะกรรมการการพลังงานแห่งชาติ

มาตรา ๓๙

บรรดาพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง หรือค าสั่ง ที่ออกตามพระราชบัญญัติการพลังงานแห่งชาต พ.ศ.๒๔๙๖ ที่ใช้บังคับอยู่ก่อนหรือในวันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ยังคงใช้บังคับได้ ต่อไปเพียงเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับ พระราชบัญญัตินี้จนกว่าจะมีพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ระเบียบ หรือค าสั่งตาม พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ แต่ต้องไม่เกินหนึ่งปี นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ

มาตรา ๔๐

บรรดาการอนุญาต หรือใบอนุญาตที่ออกให้ตาม พระราชบัญญัติการพลังงานแห่งชาติพ.ศ. ๒๔๙๖ อยู่ก่อนหรือในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้ บังคับ ให้ยังมีผลใช้บังคับต่อไป จนกว่าจะสิ้น อายุการอนุญาต หรือใบอนุญาตนั้น

มาตรา ๔๑

ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานรักษาการ ตามพระราชบัญญัตินี้และให้มีอ านาจออก กฎกระทรวงหรือก าหนดกิจการอื่นเพื่อ ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจา นุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้

ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ อานันท์ ปันยารชุน นายกรัฐมนตรี

「1992년 에너지 개발 및 장려법」

• 국 가 ‧ 지 역: 태국 • 제 정 일: 1992년 2월 3일

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๕ เป็นปีที่ ๔๗ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วย การพลังงานแห่งชาติ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยค าแนะน าและยินยอม ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ท าหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้ 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서 현 왕조의 47번째 해인 1992년(불기2535년) 2월 3일에 하사하셨다. 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서는 다음과 같이 공고하도록 하셨다. 국가 에너지 관련 법률을 개정하 는 것이 합당하므로, 국회 직무를 담당하는 국가입법 의회의 조언과 동의를 통하여 다 음과 같이 법을 제정한다.

제1조

이 법은 “1992년 에너지 개발 및 장려법”이라고 한다.

제2조

이 법은 관보에 게재한 이튿날 부터 시행한다.

제3조

다음 각 항의 법률은 폐지하도 록 한다. (1)「1953년 국가에너지법」 (2)「1964년 국가에너지법(제2 권)」 (3) 「1979년 국가에너지법(제3 권)」 (4) 「1987년 국가에너지법(제4 권)」 이 법에서 규정한 부분을 포함 하거나 이 법에 위반 또는 모순 되는 기타 모든 법률과 규칙 또 는 규정은 이를 대신하여 이 법 을 적용하도록 한다.

제4조

어떠한 법률이나 규칙, 규정, 원 칙, 고시, 명령 또는 내각 결의 에서 국가에너지사무처 및 국가 에너지사무처장에 대하여 언급 하는 것은 해당 법률이나 규칙, 고시, 명령 또는 내각 결의가 순서대로 대체에너지개발 및 에 너지보존국과 대체에너지개발 및 에너지보존국장을 언급하는 것으로 간주하도록 한다.

제5조

이 법에서 사용하는 용어의 뜻 은 다음과 같다. “에너지”란 일을 하도록 할 수 있는 것, 즉 재생에너지 및 비 재생에너지가 보유한 작업 수행 능력을 말하며, 연료와 열 및 전기 등과 같이 작업을 제공할 수 있는 것을 포함하여 뜻하도 록 한다. “재생에너지”란 나무, 땔감, 왕 겨, 사탕수수찌꺼기, 생물유기 체, 물, 햇빛, 지열, 바람 및 파 도 등에서 얻는 에너지를 말한 다. “비재생에너지”란 석탄, 유모혈 암, 역청탄, 원유, 연료유, 천연 가스 및 원자력 등에서 얻는 에 너지를 말한다. “연료”란 석탄, 유모혈암, 역청 탄, 연료유, 천연가스, 연료가스, 합성연료, 나무, 땔감, 왕겨, 사 탕수수찌꺼기, 쓰레기 및 국가 에너지정책위원회가 관보에 고 시하는 바에 따른 기타 물질을 포함하여 말한다. “규제에너지”란 이 법에 따라 규제하도록 정한 에너지를 말한 다. 다만, 석유 관련 법률에 따 른 석유는 제외한다. “담당관”이란 대체에너지개발 및 에너지보존국의 담당자를 말 하며, 이 법에서 담당관으로 간 주하도록 정한 부·청·국과 지방 자치단체 및 국영기업의 담당자 를 포함하여 뜻하도록 한다. “국장”이란 대체에너지개발 및 에너지보존국장을 말한다. “장관”이란 이 법에 따른 주무 장관을 말한다.

제6조

대체에너지개발 및 에너지보존 국은 다음 각 항의 권한을 갖도 록 한다.

(1) 에너지원, 생산, 가공, 운반 및 사용 측면에서 에너지와 관 련한 조사, 자료 수집, 분석, 실 험 및 조사

(2) 에너지 관련 프로젝트 및 관련 업무에 대한 연구와 계획 수립 및 착수

(3) 에너지원의 생산, 가공, 운 반, 사용 및 보존 관련 시범 사 업 연구·개발과 시범 및 수립

(4) 재생에너지 또는 신에너지 로부터의 전기 생산과 생물유기 체로부터의 연료 생산 및 전기 양수 등과 같은 에너지 생산지, 가공지, 운반 시스템 및 사용시 스템 설계와 건설 및 유지·보수

(5) 에너지원 생산, 가공, 운반, 사용 및 보존과 관련한 규칙과 표준을 정하고, 그러한 규칙과 표준을 관리·감독

(6) 대체에너지개발 및 에너지 보존국을 통해 진행하는 에너지 사용에 대한 보수 비율 규정

(7) 에너지 생산지와 가공지, 운 반 시스템 및 판매 시스템의 제 공, 감독, 건설, 매수, 매도, 임 차, 임대, 인도 또는 인수

(8) 에너지원 생산과 가공, 운 반, 사용 및 보존 관련 기술 전 수, 지원, 교육 및 선전하고, 관 련 사업에 대한 협력을 중재의 중심

제7조

국장은 대체에너지개발 및 에너 지보존국의 통상적인 공무에 대 한 관리·감독 책임을 담당하도 록 하며, 대체에너지개발 및 에 너지보존국 공무원 및 근로자의 통솔자가 되도록 한다.

제8조

대체에너지개발 및 에너지보존 국의 권한과 직무 수행에 대하 여 부·청·국이나 지방자치단체 또는 국영기업이 특정 업무를 대신 집행하도록 위임할 수도 있다.

제9조

대체에너지개발 및 에너지보존 국이 부·청·국이나 지방자치단체 또는 국영기업이 특정 업무를 대신 집행하도록 위임하는 경 우, 그러한 위임을 받은 사람은 위임받은 바에 따라 직무를 수 행하도록 하며, 이 법에 따른 직무 수행의 편의를 위하여 그 러한 위임을 받은 부·청·국이나 지방자치단체 또는 국영기업의 담당자는 담당관이 되도록 하여 이 법에서 정한 바에 따른 대체 에너지개발 및 에너지보존국의 담당관과 같은 권한과 책임을 담당하도록 한다. 부·청·국이나 지방자치단체 또는 국영기업에 권한과 책임을 위임 하는 때에는 대체에너지개발 및 에너지보존국의 예산에서 승인 한 항목에 따른 지출을 위하여 해당 부·청·국이나 지방자치단체 또는 국영기업에 자금을 이관할 수도 있다.

제10조

제6조에 의거한 권한과 책임에 따른 직무를 수행하는 경우 대 체에너지개발 및 에너지보존국 은 부·청·국이나 지방자치단체 또는 국영기업이나 특정인이 기 술, 금융, 통계 및 필요한 각종 사안에 대한 내역을 제출하도록 한다.

제11조

대체에너지개발 및 에너지보존 국의 직무를 수행하는 경우 담 당관은 일출시부터 일몰시까지 또는 그 장소의 업무 시간 중에 어떠한 장소에 진입하여 그러한 장소에 있는 사람에게 진상을 심문하거나 필요한 바에 따른 에너지 관련 서류 또는 기타 물 품을 조사하는 권한을 갖도록 한다. 이와 같은 경우 해당 장 소를 관리하는 사람은 담당관에 게 합당한 편의를 제공하여야 한다. 담당관이 첫번째 단락에 따른 장소에 진입하는 경우에는, 만 약 긴급하지 아니하다면, 최소 한 3일 전에 해당 장소를 관리 하는 사람에게 서면으로 사전 통지하도록 한다.

제12조

직무를 수행하는 경우 담당관은 관련자에게 신분증을 제시하여 야 한다. 담당관의 신분증은 장관이 부령 에서 정하는 양식을 따르도록 한다.

제13조

이 법에 따른 담당관은 형법전 에 따른 담당자가 되도록 한다.

제14조

담당관은 다음 각 항의 조건 하 에서 어떠한 사람이 점유 중인 부동산을 사용하거나 점유할 수 있다.

(1) 에너지 생산지, 운반 시스 템, 판매 시스템 및 에너지 생 산이나 운반 또는 판매에 발생 할 수 있는 위험이나 피해를 방 지하기 위한 사용 또는 점유

(2) 최소 15일 전 부동산의 소 유자나 점유자에게 사전 통지 만약 첫번째 단락과 같은 담당 관의 행위로 인하여 부동산의 소유자나 점유자 또는 기타 권 리자에게 피해가 발생한다면 해 당자는 대체에너지개발 및 에너 지보존국에 보상금을 청구할 수 있으며, 만약 배상금액의 합의 가 불가능하다면 제22조 및 제 23조를 준용하도록 한다.

제15조

에너지 생산이나 운반 또는 판 매에 사용하기 위하여 부동산을 취득하여야 하는 필요가 있는 때에는, 만약 양도 사항에서 다 르게 합의하지 아니한다면, 부 동산 수용 관련 법률에 따라 수 용 조치를 하도록 한다.

제16조

지역 사회의 이익을 위하여 필 요한 때에는 대체에너지개발 및 에너지보존국이 특정인 소유의 토지에 에너지사업소를 설치하 거나, 지하나 지상 또는 토지를 가로지르거나 이를 따라서 에너 지선 또는 에너지관을 가설 또 는 매설하거나 주택가가 아닌, 특정인의 토지 속이나 위에 기 둥이나 장비를 매립하거나 설치 하는 권한을 갖도록 한다. 첫번째 단락과 같은 이행을 위 하여 어떠한 일부분의 토지를 사용하여야 하는 경우, 소유자 나 점유자가 그러한 이행을 통 하여 이익을 획득하는 것을 제 외하고, 대체에너지개발 및 에 너지보존국은 정당한 액수의 사 용 보상금을 소유자 또는 점유 자에게 지급하도록 한다.

제17조

지역 사회의 이익을 위하여 대 체에너지개발 및 에너지보존국 은 주민의 교통로 위에 있거나 접해 있는 특정인의 구조물에 연결하여 에너지선 또는 에너지 관을 설치하는 권한을 갖도록 한다.

제18조

대체에너지개발 및 에너지보존 국이 제16조 또는 제17조에 따 른 조치를 취하기 전에 대체에 너지개발 또는 에너지보존국은 관련 자산의 소유자 또는 점유 자에게 서면으로 알리도록 한 다. 그러한 자산의 소유자 또는 점유자는 통지서를 수령한 날부 터 15일 이내에 해당 조치가 불 가한 이유를 표시하는 청원서를 장관에게 제출하여 심사하도록 한다. 이러한 경우 대체에너지 개발 및 에너지보존국은 장관의 결정을 청원자에게 고지할 때까 지 조치를 보류하도록 한다. 장관의 결정은 최종 결정이 되 도록 한다.

제19조

안전한 에너지 운반을 위하여 대체에너지개발 및 에너지보존 국은 에너지선 또는 에너지관에 인접한 나무의 줄기나 가지 또 는 뿌리를 절단할 권한을 갖도 록 하나, 적당한 시간 이내에 나무의 소유자 또는 점유자에게 사전 통지하여야 한다. 에너지사무소나 에너지선 또는 에너지관을 설치하거나 기둥 또 는 장비를 매립 또는 설치하기 이전에 해당 나무가 존재하였다 면, 나무에 대한 이해당사자에 게 해당 조치로 인한 피해액에 상당하는 보상금을 지급하도록 한다.

제20조

만약 관련 자산의 소유자 또는 점유자가 에너지선이나 에너지 관 또는 장비가 막고 있는 토지 에 어떠한 건설 또는 사업을 시 행하고자 한다면, 해당 자산의 소유자나 점유자는 대체에너지 개발 및 에너지보존국에 해당 장애물에 대한 이전이나 제거, 변경 또는 개선을 요청할 정당 한 권리가 있으며, 합당한 경우 대체에너지개발 및 에너지보존 국은 자산의 소유자 또는 점유 자가 전체 비용을 지불하도록 하여 그러한 요청에 따라 조치 하도록 한다.

제21조

에너지선이나 에너지관 또는 장 비에 대한 점검이나 보수 또는 개선을 위하여 필요하며 긴급을 요하는 경우, 담당관은 소유자 나 점유자에게 통지를 완료한 때에는 언제라도 특정 개인 소 유의 장소에 진입할 수도 있다.

제22조

제16조 또는 제19조에 따라 대 체에너지개발 및 에너지보존국 이 지급하도록 하는 보상금액에 대하여 자산의 소유자나 점유자 또는 기타 권리자가 합의를 거 부하거나 자산의 소유자나 점유 자 또는 기타 권리자를 찾을 수 없는 경우, 대체에너지개발 및 에너지보존국은 해당 금액을 법 원 또는 공탁소에 공탁하거나, 개별 계좌로 구별하여 자산의 소유자나 점유자 또는 기타 권 리자 명의로 정부저축은행 (Government Saving Bank)에 예치하도록 하며, 만약 그러한 예금으로 인하여 발생하는 이자 또는 어떠한 이득이 있다면 그 러한 자산의 소유자나 점유자 또는 기타 권리자의 권리가 되 도록 한다. 첫번째 단락에 따라 대체에너지 개발 및 에너지보존국이 법원이 나 공탁소에 보상금을 공탁하였 거나, 정부저축은행에 예치한 때에는 대체에너지개발 및 에너 지보존국은 자산의 소유자나 점 유자 또는 기타 권리자에게 등 기우편으로 송부하여 서면 통지 하도록 한다. 자산의 소유자나 점유자 또는 기타 권리자를 찾 을 수 없는 경우에는 자산의 소 유자나 점유자 또는 기타 권리 자에게 통지하기 위하여 이틀 이상 연속으로 지역에서 판매하 는 일간지에 공고하도록 한다. 보상금을 법원이나 공탁소에 공 탁하거나 정부저축은행에 예치 하는 원칙과 절차 및 해당 보상 금 수령 절차는 장관이 정하는 규칙을 따르도록 한다.

제23조

대체에너지개발 및 에너지보존 국이 공탁 또는 예치한 보상금 을 자산의 소유자나 점유자 또 는 기타 권리자가 수령하는 지 의 여부와 관계없이 해당자가 대체에너지 개발 및 에너지보존 국이 지급하는 보상금액에 대하 여 만족하지 아니한다면, 해당 자는 제22조 두번째 단락에 따 라 대체에너지개발 및 에너지보 존국이 조치를 완료한 날부터 1 년 이내에 법원에 제소할 권리 가 있다. 첫번째 단락에 따른 법원에 대 한 제소는 부동산 점유나 사용 또는 제16조 또는 제19조에 따 른 담당관의 어떠한 조치를 중 단하여야 하는 원인이 되지는 아니한다. 법원이 보상금을 추가로 지급하 도록 판결하는 경우, 자산의 소 유자나 점유자 또는 기타 권리 자는 추가된 금액에 대하여 정 부저축은행의 정기예금 이자의 최고 이율에 해당하는 이자를 수령하도록 한다. 이와 관련하 여 해당 보상금을 지급이나 공 탁 또는 예치한 날부터 기산하 도록 한다. 자산의 소유자나 점유자 또는 기타 권리자가 합의하는 것을 동의하고 보증금을 수령하였거 나, 첫번째 단락에 따른 기간 내에 법원에 제소하지 아니하거 나, 해당 보상금 수령 포기를 서면으로 신고한 경우, 어떠한 사람도 해당 보상금에 대한 재 청구를 하는 것은 불가하다.

제24조

어떠한 종류의 에너지나 생산 규모 및 방법 또는 어떠한 용도 가 규제에너지가 되도록 규정하 는 것은 칙령으로 제정하도록 한다.

제25조

대체에너지개발 및 에너지보존 국의 면허를 취득한 사람을 제 외한 어떠한 사람도 규제에너지 생산 또는 생산 확대를 하지 아 니하도록 금한다. 면허증 신청 및 면허증 발급은 부령에서 정하는 원칙과 절차를 따르도록 한다. 기타 법률에 따라 허가를 취득 하거나 특허를 받아야 하는 규 제에너지 생산은 해당 법률에 따라 허가를 취득하거나 특허를 받아야 한다.

제26조

제25조에 따라 부령에서 원칙을 정하는 것은 다음 각 항에 해당 하는 사정을 고려하도록 한다.

(1) 환경과 경제 및 국가 안보 에 대한 영향

(2) 에너지 생산 또는 생산 확 대로 인한 위험성

(3) 원자재 또는 천연재의 기술 적 사용

제27조

대체에너지개발 및 에너지보존 국은 제25조에 따른 면허증 신 청에 대하여 대체에너지개발 및 에너지보존국이 부령에서 정하 는 바에 따라 정확하고 완전한 상세 항목을 갖춘 신청서를 접 수한 날부터 120일 이내에 검 토를 완료하도록 한다. 해당 면허 신청에 대해서는 대 체에너지개발 및 에너지보존국 이 다음 각 항의 조건을 정할 수도 있다.

(1) 국가에너지정책위원회의 원 칙과 조건에 부합하도록 하는 규제에너지 사용자에게 부과할 최고 보수 비율

(2) 에너지 배분 지역 및 생산 을 위하여 설치할 기계의 규모 지정

(3) 에너지선 설치나 화재 예방, 기계의 손상 예방, 위험 예방 또는 규제에너지 생산에 사용되 는 원자재 또는 천연재의 종류 나 사용법을 규정하는 등의 정 확한 기술적 이행

제28조

간헐적으로 규제에너지 부족이 발생할 수 있는 경우, 또는 국 가의 경제적 이익을 위한 기타 의 필요성이 있는 경우, 국장은 규제에너지 생산자가 다음 각 항과 같이 이행하도록 서면으로 명할 권한이 있다.

(1) 규제에너지 생산이나 판매 또는 사용 확대 및 축소

(2) 규제에너지 생산에 사용하 는 원자재 또는 천연재의 종류 변경

(3) 규제에너지 사용자에게 부 과할 최고 보수 요율 변경

제29조

개인, 재산, 국민의 위생 또는 국가의 안보에 대하여 발생할 수 있는 위험을 억제하고 예방 하기 위하여 국장은 규제에너지 생산자가 다음 각 항과 같이 이 행하도록 서면으로 명할 권한이 있다.

(1) 건물이나 기계, 기구, 도구 또는 용구의 변경이나 수리 또 는 보수

(2) 위험을 제거하거나 예방할 물품 마련 또는 구축

(3) 제(1)항 또는 제(2)항에 따 른 명령에 따른 이행이 가능할 때까지 임시로 규제에너지 생산 이나 운반, 사용 또는 판매 중 단

제30조

제28조 또는 제29조에 따라 권 한을 행사하는 경우, 대체에너 지개발 및 에너지보존국은 규제 에너지 생산자의 증가될 비용이 나 자금 조달 능력에 대하여 고 려하도록 한다. 대체에너지개발 및 에너지보존 국은 규제에너지 생산자가 명령 을 이행할 수 있도록 하기 위하 여 자금을 조달하는 데 도움을 줄 수도 있다.

제31조

제25조에 따른 면허증을 취득하 지 못하였거나, 제27조에 따른 조건이 있는 면허증을 취득하였 거나, 제28조 또는 제29조에 따 른 명령을 받은 사람이 만약 해 당 조건이나 명령에 동의하지 아니한다면, 면허를 취득하지 못하였거나 조건이 있는 면허를 취득하였거나 명령을 받은 사실 을 인지한 날부터 30일 이내에 장관에게 이의를 제기할 권리가 있다. 장관은 이의를 접수할 날부터 90일 이내에 이의에 대한 결정 을 완료하도록 한다. 만약 이의 를 제기한 사람이 이의에 대한 결정에 동의하지 아니한다면. 이의에 대한 결정 통지를 받은 날부터 45일 이내에 법원에 제 소하도록 한다.

제32조

어떠한 사람이라도 정당한 이유 없이 규제에너지 생산에 대한 방해 또는 규제에너지 감산을 초래하는 행위를 하지 아니하도 록 금한다.

제33조

제11조나 제14조, 제16조, 제 17조, 제19조 또는 제21조에 따른 직무를 수행하는 담당관을 방해하거나 편의를 제공하지 아 니하는 사람은 1개월 이하의 금 고형 또는 1천바트 이하의 벌금 형에 처하거나, 금고형과 벌금 형을 병과한다.

제34조

제25조를 위반하는 사람은 2년 이하의 금고형 또는 2만바트 이 하의 벌금형에 처하거나, 금고 형과 벌금형을 병과한다.

제35조

제28조 또는 제29조에 의거한 국장의 명령을 이행하지 아니하 는 사람은 1년 이하의 금고형 또는 1만바트 이하의 벌금형에 처하거나, 금고형과 벌금형을 병과한다.

제36조

제32조를 위반하는 사람은 1년 이하의 금고형 또는 1만바트 이 하의 벌금형에 처하거나, 금고 형과 벌금형을 병과한다.

제37조

이 법에 따른 법적 조치를 집행 하는 경우, 검사는 위반자에 대 하여 이 법에 의거한 책임에 따 른 직무를 수행하도록 하는 명 령을 법원에 요청할 권한이 있 다.

제38조

이 법이 시행되기 전 「1953년 국가에너지법」에 의거한 에너 지위원회의 권한과 직무이며, 해당 권한과 직무를 이행하였으 나 그러한 이행이 종국에 이르 지 아니하였거나, 계속하여 이 행하여야 하는 관련성이 있는 업무에 대해서는 장관이 국가에 너지위원회를 대신하여 지휘를 검토할 권한을 갖도록 한다.

제39조

이 법이 시행되기 전 또는 시행 일에 시행되고 있는 「1953년 국가에너지법」에 따라 제정된 모든 칙령이나 부령 또는 명령 은 이 법에 위배 또는 모순되지 아니하는 한 이 법에 따른 칙령 이나 부령 또는 명령이 시행될 때까지 계속하여 시행하도록 하 나, 이 법의 시행일로부터 1년 을 초과하지 아니하여야 한다.

제40조

이 법이 시행되기 전 또는 시행 일에 적용되고 있는 「1953년 에너지법」에 따른 모든 허가 또는 면허증은 해당 허가 또는 면허증의 유효기간이 만료될 때 까지 계속하여 효력을 유지하도 록 한다.

제41조

에너지부 장관이 이 법에 따른 주무장관이 되도록 하며, 이 법 에 따라 집행하기 위하여 부령 을 제정하거나 사업을 정할 권 한을 갖도록 한다. 해당 부령은 관보에 게재하였을 때 시행하도록 한다.

부서 아난 빤야라춘 총리