로고

「2011년 직업안전보건환경법」

• 국가·지역: 태국 • 제 정 일: 2011년 1월 12일

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็นปีที่ ๖๖ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ท างาน พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับ การจ ากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๓ มาตรา ๔๑ และ มาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระท าได้โดยอาศัยอ านาจตาม บทบัญญัติแห่งกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยค าแนะน าและยินยอม ของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ 푸미폰 아둔야뎃 폐하께서 재위 66번째 해인 2011년(불기2554 년) 1월 12일에 하사하셨다. 푸미폰 아둔야뎃 폐하께서는 다 음과 같이 공포하도록 하셨다. 직업안전보건환경 관련 법률을 갖추는 것이 마땅하다. 이 법은 개인의 권리와 자유에 대한 제한과 관련한 일부 조항을 포함하고 있다. 이는 타이왕국헌 법 제33조와 제41조 및 제43조 와 연계하여 제29조를 법률의 규 정에 따른 권한에 의거하여 이행 할 수 있도록 규정한다. 그러므로 폐하께서 의회의 조언 을 통하여 다음과 같이 법률을 제정하도록 하셨다.

มาตรา ๑

พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการท างาน พ.ศ. ๒๕๕๔”

มาตรา ๒

พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นก าหนด หนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศในราช กิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

มาตรา ๓

พระราชบัญญัตินี้มิให้ใช้บังคับแก่ (๑) ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค และราชการส่วนท้องถิ่น (๒) กิจการอื่นทั้งหมดหรือแต่บางส่วนตามที่ ก าหนดในกฎกระทรวง ให้ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น และกิจการอื่นตามที่ก าหนด ในกฎกระทรวงตามวรรคหนึ่ง จัดให้มีมาตรฐาน ในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวด`ล้อมในการท างาน ในหน่วยงานของตนไม่ต ่ากว่ามาตรฐานความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การท างานตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๔

ในพระราชบัญญัตินี้ “ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการท างาน” หมายความว่า การกระท าหรือสภาพการท างานซึ่งปลอดจาก เหตุอันจะท าให้เกิดการประสบอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย จิตใจ หรือสุขภาพอนามัยอันเนื่องจาก การท างานหรือเกี่ยวกับการท างาน “นายจ้าง” หมายความว่า นายจ้างตามกฎหมาย ว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน และให้หมายความ รวมถึงผู้ประกอบกิจการซึ่งยอมให้บุคคลหนึ่ง บุคคลใดมาท างานหรือท าผลประโยชน์ให้แก่ หรือในสถานประกอบกิจการ ไม่ว่าการท างาน หรือการท าผลประโยชน์นั้นจะเป็นส่วนหนึ่งส่วน ใดหรือทั้งหมดในกระบวนการผลิตหรือธุรกิจใน ความรับผิดชอบของผู้ประกอบกิจการนั้นหรือไม่ ก็ตาม “ลูกจ้าง” หมายความว่า ลูกจ้างตามกฎหมายว่า ด้วยการคุ้มครองแรงงาน และให้หมายความ รวมถึงผู้ซึ่งได้รับความยินยอมให้ท างานหรือท า ผลประโยชน์ให้แก่หรือในสถานประกอบกิจการ ของนายจ้างไม่ว่าจะเรียกชื่ออย่างไรก็ตาม “ผู้บริหาร” หมายความว่า ลูกจ้างตั้งแต่ระดับ ผู้จัดการในหน่วยงานขึ้นไป “หัวหน้างาน” หมายความว่า ลูกจ้างซึ่งท าหน้าที่ ควบคุม ดูแล บังคับบัญชา หรือสั่งให้ลูกจ้าง ท างานตามหน้าที่ของหน่วยงาน “เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการ ท างาน” หมายความว่า ลูกจ้างซึ่งนายจ้าง แต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ด้านความปลอดภัย อาชี วอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างานตาม พระราชบัญญัตินี้ “สถานประกอบกิจการ” หมายความว่า หน่วยงานแต่ละแห่งของนายจ้างที่มีลูกจ้าง ท างานอยู่ในหน่วยงาน “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการท างาน “กองทุน” หมายความว่า กองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างาน “พนักงานตรวจความปลอดภัย” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้ “อธิบดี” หมายความว่า อธิบดีกรมสวัสดิการและ คุ้มครองแรงงาน “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการ ตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๕

ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานรักษาการ ตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอ านาจแต่งตั้ง พนักงานตรวจความปลอดภัย กับออก กฎกระทรวง ประกาศ และระเบียบ เพื่อ ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ รวมทั้งออก กฎกระทรวงก าหนดค่าธรรมเนียมไม่เกินอัตรา ท้ายพระราชบัญญัตินี้ และยกเว้นค่าธรรมเนียม การแต่งตั้งพนักงานตรวจความปลอดภัยต้อง ก าหนดคุณสมบัติ ขอบเขต อ านาจหน้าที่ และ เงื่อนไขในการปฏิบัติหน้าที่ด้วย กฎกระทรวง ประกาศ และระเบียบนั้น เมื่อได้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้

หมวด ๑ บทท่ัวไป

มาตรา ๖

ให้นายจ้างมีหน้าที่จัดและดูแลสถานประกอบ กิจการและลูกจ้างให้มีสภาพการท างานและ สภาพแวดล้อมในการท างานที่ปลอดภัยและถูก สุขลักษณะ รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนการ ปฏิบัติงานของลูกจ้างมิให้ลูกจ้างได้รับอันตราย ต่อชีวิต ร่างกาย จิตใจ และสุขภาพอนามัย ให้ลูกจ้างมีหน้าที่ให้ความร่วมมือกับนายจ้าง ในการด าเนินการและส่งเสริมด้านความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การท างาน เพื่อให้เกิดความปลอดภัยแก่ลูกจ้าง และสถานประกอบกิจการ

มาตรา ๗

ในกรณีที่พระราชบัญญัตินี้ก าหนดให้นายจ้าง ต้องด าเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดที่ต้องเสีย ค่าใช้จ่าย ให้นายจ้างเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายเพื่อ การนั้น

หมวด ๒ การบริหาร การจัดการ และการ ด าเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างาน

มาตรา ๘

ให้นายจ้างบริหาร จัดการ และด าเนินการด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการท างาน ให้เป็นไปตาม มาตรฐานที่ก าหนดในกฎกระทรวง การก าหนดมาตรฐานตามวรรคหนึ่ง ให้นายจ้าง จัดท าเอกสารหรือรายงานใด โดยมีการ ตรวจสอบหรือรับรองโดยบุคคล หรือนิติบุคคล ตามที่ก าหนดในกฎกระทรวง ให้ลูกจ้างมีหน้าที่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการท างานตามมาตรฐานที่ ก าหนดในวรรคหนึ่ง

มาตรา ๙

บุคคลใดประสงค์จะให้บริการในการตรวจวัด ตรวจสอบ ทดสอบ รับรอง ประเมินความเสี่ยง รวมทั้งจัดฝึกอบรมหรือให้ค าปรึกษาเพื่อส่งเสริม ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการท างานตามมาตรฐานที่ ก าหนดในกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๘ จะต้องขึ้นทะเบียนต่อส านักความปลอดภัย แรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน คุณสมบัติของผู้ขอขึ้นทะเบียน การขึ้นทะเบียน การออกใบแทนการขึ้นทะเบียน การเพิกถอน ทะเบียน การก าหนดค่าบริการ และวิธีการ ให้บริการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ก าหนดใน กฎกระทรวง

มาตรา ๑๐

ในกรณีที่ส านักความปลอดภัยแรงงาน กรม สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานไม่รับขึ้นทะเบียน หรือเพิกถอนทะเบียนตามมาตรา ๙ ผู้ขอขึ้น ทะเบียนหรือผู้ถูกเพิกถอนทะเบียนมีสิทธิอุทธรณ์ เป็นหนังสือต่ออธิบดีภายในสามสิบวันนับแต่วัน ได้รับแจ้งการไม่รับขึ้นทะเบียนหรือการเพิกถอน ทะเบียน ค าวินิจฉัยของอธิบดีให้เป็นที่สุด

มาตรา ๑๑

ิติบุคคลใดประสงค์จะให้บริการในการ ตรวจวัด ตรวจสอบ ทดสอบ รับรอง ประเมิน ความเสี่ยง รวมทั้งจัดฝึกอบรมหรือให้ค าปรึกษา เพื่อส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการท างานตามมาตรฐานที่ ก าหนดในกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๘ จะต้องได้รับใบอนุญาตจากอธิบดี คุณสมบัติของผู้ขออนุญาต การขออนุญาต การอนุญาต การขอต่ออายุใบอนุญาต การออก ใบแทนใบอนุญาต การพักใช้และการเพิกถอน ใบอนุญาต การก าหนดค่าบริการ และวิธีการ ให้บริการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ก าหนดใน กฎกระทรวง

มาตรา ๑๒

ในกรณีที่อธิบดีไม่ออกใบอนุญาต ไม่ต่ออายุ ใบอนุญาต ไม่ออกใบแทนใบอนุญาต หรือพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาตที่ออกให้แก่ นิติบุคคลตามมาตรา ๑๑ นิติบุคคลนั้นมีสิทธิ อุทธรณ์เป็นหนังสือต่อคณะกรรมการภายใน สามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือของอธิบดีแจ้ง การไม่ออกใบอนุญาต หรือการไม่ต่ออายุ ใบอนุญาต หรือการเพิกถอนใบอนุญาต ค าวินิจฉัยของคณะกรรมการให้เป็นที่สุด

มาตรา ๑๓

ให้นายจ้างจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยใน การท างาน บุคลากร หน่วยงาน หรือคณะบุคคล เพื่อด าเนินการด้านความปลอดภัยในสถาน ประกอบกิจการตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขที่ก าหนดในกฎกระทรวง เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท างานและ บุคลากรตามวรรคหนึ่ง จะต้องขึ้นทะเบียนต่อ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ให้น าบทบัญญัติมาตรา ๙ วรรคสอง และ มาตรา ๑๐ มาใช้บังคับกับการขึ้นทะเบียน เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท างาน โดย อนุโลม

มาตรา ๑๔

ในกรณีที่นายจ้างให้ลูกจ้างท างานในสภาพ การท างานหรือสภาพแวดล้อมในการท างานที่ อาจท าให้ลูกจ้างได้รับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย จิตใจ หรือสุขภาพอนามัย ให้นายจ้างแจ้งให้ ลูกจ้างทราบถึงอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นจากการ ท างานและแจกคู่มือปฏิบัติงานให้ลูกจ้างทุกคน ก่อนที่ลูกจ้างจะเข้าท างาน เปลี่ยนงาน หรือ เปลี่ยนสถานที่ท างาน

มาตรา ๑๕

ในกรณีที่นายจ้างได้รับค าเตือน ค าสั่ง หรือค า วินิจฉัยของอธิบดี ค าสั่งของพนักงานตรวจความ ปลอดภัย หรือค าวินิจฉัยของคณะกรรมการให้ ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ให้นายจ้างแจ้ง หรือปิดประกาศค าเตือน ค าสั่ง หรือค าวินิจฉัย ดังกล่าว ในที่ที่เห็นได้ง่าย ณ สถานประกอบ กิจการเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสิบห้าวันนับแต่วันที่ ได้รับแจ้ง

มาตรา ๑๖

ให้นายจ้างจัดให้ผู้บริหาร หัวหน้างาน และ ลูกจ้างทุกคนได้รับการฝึกอบรมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างาน เพื่อให้บริหารจัดการและด าเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การท างานได้อย่างปลอดภัย ในกรณีที่นายจ้างรับลูกจ้างเข้าท างาน เปลี่ยน งาน เปลี่ยนสถานที่ท างาน หรือเปลี่ยนแปลง เครื่องจักรหรืออุปกรณ์ ซึ่งอาจท าให้ลูกจ้างได้รับ อันตรายต่อชีวิต ร่างกาย จิตใจ หรือสุขภาพ อนามัย ให้นายจ้างจัดให้มีการฝึกอบรมลูกจ้าง ทุกคนก่อนการเริ่มท างาน การฝึกอบรมตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ให้ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ อธิบดีประกาศก าหนด

มาตรา ๑๗

ให้นายจ้างติดประกาศสัญลักษณ์เตือน อันตรายและเครื่องหมายเกี่ยวกับความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การท างาน รวมทั้งข้อความแสดงสิทธิและหน้าที่ ของนายจ้างและลูกจ้างตามที่อธิบดีประกาศ ก าหนดในที่ที่เห็นได้ง่าย ณ สถานประกอบ กิจการ

มาตรา ๑๘

ในกรณีที่สถานที่ใดมีสถานประกอบกิจการ หลายแห่ง ให้นายจ้างทุกรายของสถานประกอบกิจการในสถานที่นั้น มีหน้าที่ร่วมกันด าเนินการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการท างานให้เป็นไปตาม พระราชบัญญัตินี้ ลูกจ้างซึ่งท างานในสถานประกอบกิจการตาม วรรคหนึ่ง รวมทั้งลูกจ้างซึ่งท างานในสถาน ประกอบกิจการอื่นที่ไม่ใช่ของนายจ้าง ต้อง ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์เกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างาน ซึ่งใช้ในสถานประกอบกิจการนั้นด้วย

มาตรา ๑๙

ในกรณีที่นายจ้างเช่าอาคาร สถานที่ เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ หรือสิ่งอื่นใดที่น ามาใช้ใน สถานประกอบกิจการ ให้นายจ้างมีอ านาจ ด าเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างานเกี่ยวกับอาคาร สถานที่ เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์หรือสิ่งอื่น ใดที่เช่านั้นตามมาตรฐานที่ก าหนดใน กฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๘ การด าเนินการตามวรรคหนึ่ง ไม่ก่อให้เกิดสิทธิ แก่ผมู้ีกรรมสิทธิใ์นอาคาร สถานที่ เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ หรือสิ่งอื่นใดซึ่งให้เช่าหรือผู้ให้เช่าในอันที่จะเรียกร้องค่าเสียหายหรือค่า ทดแทนใด ๆ ตลอดจนการบอกเลิกสัญญาเช่า

มาตรา ๒๐

ให้ผู้บริหารหรือหัวหน้างานมีหน้าที่สนับสนุน และร่วมมือกับนายจ้างและบุคลากรอื่น เพื่อ ปฏิบัติการให้เป็นไปตามมาตรา ๘ มาตรา ๑๖ มาตรา ๑๘ และมาตรา ๒๒

มาตรา ๒๑

ลูกจ้างมีหน้าที่ดูแลสภาพแวดล้อมในการ ท างานตามมาตรฐานที่ก าหนดในกฎกระทรวงที่ ออกตามมาตรา ๘ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยต่อ ชีวิต ร่างกาย จิตใจ และสุขภาพอนามัย โดย ค านึงถึงสภาพของงานและพื้นที่ที่รับผิดชอบ ในกรณีที่ลูกจ้างทราบถึงข้อบกพร่องหรือการ ช ารุดเสียหาย และไม่สามารถแก้ไขได้ด้วย ตนเองให้แจ้งต่อเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการ ท างาน หัวหน้างาน หรือผู้บริหาร และให้ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท างาน หัวหน้า งาน หรือผู้บริหาร แจ้งเป็นหนังสือต่อนายจ้าง โดยไม่ชักช้า ในกรณีที่หัวหน้างานทราบถึงข้อบกพร่องหรือ การช ารุดเสียหายซึ่งอาจท าให้ลูกจ้างได้รับ

มาตรา ๒๒

ให้นายจ้างจัดและดูแลให้ลูกจ้างสวมใส่ อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ได้ มาตรฐานตามที่อธิบดีประกาศก าหนด ลูกจ้างมีหน้าที่สวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความ ปลอดภัยส่วนบุคคลและดูแลรักษาอุปกรณ์ตาม วรรคหนึ่ง ให้สามารถใช้งานได้ตามสภาพและ ลักษณะของงานตลอดระยะเวลาท างาน ในกรณีที่ลูกจ้างไม่สวมใส่อุปกรณ์ดังกล่าว ให้ นายจ้างสั่งให้ลูกจ้างหยุดการท างานนั้นจนกว่า ลูกจ้างจะสวมใส่อุปกรณ์ดังกล่าว

มาตรา ๒๓

ให้ผู้รับเหมาชั้นต้นและผู้รับเหมาช่วงตาม กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานมีหน้าที่ ด าเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างานของลูกจ้าง เช่นเดียวกับนายจ้าง ในกรณีที่นายจ้างเป็นผู้รับเหมาช่วงและมี ผู้รับเหมาช่วงถัดขึ้นไป ให้ผู้รับเหมาช่วงถัดขึ้นไป ตลอดสายจนถึงผู้รับเหมาชั้นต้นที่มีลูกจ้าง ท างานในสถานประกอบกิจการเดียวกัน มีหน้าที่ ร่วมกันในการจัดสถานที่ท างานให้มีสภาพการ ท างานที่ปลอดภัย และมีสภาพแวดล้อมในการ ท างานที่ถูกสุขลักษณะเพื่อให้เกิดความ ปลอดภัยแก่ลูกจ้างทุกคน

หมวด ๓ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ท างาน

มาตรา ๒๔

ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอ นามัย และสภาพแวดล้อมในการ ท างาน” ประกอบด้วย ปลัดกระทรวงแรงงาน เป็นประธานกรรมการ อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ อธิบดีกรมควบคุมโรค อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือ แรงงาน อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง อธิบดี กรมโรงงานอุตสาหกรรม อธิบดีกรมส่งเสริมการ ปกครองท้องถิ่น และอธิบดีกรมสวัสดิการและ คุ้มครองแรงงาน เป็นกรรมการ กับผู้แทนฝ่ายนายจ้างและผู้แทนฝ่ายลูกจ้าง ฝ่ายละแปดคน และผู้ทรงคุณวุฒิอีกห้าคนซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้ง เป็นกรรมการ ให้ข้าราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงานซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งเป็นเลขานุการ การได้มาและการพ้นจากต าแหน่งของผู้แทน ฝ่ายนายจ้างและฝ่ายลูกจ้างตามวรรคหนึ่ง ให้ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ รัฐมนตรีประกาศก าหนด โดยต้องค านึงถึงการมี ส่วนร่วมของทั้งหญิงและชาย ผู้ทรงคุณวุฒิต้องเป็นผู้มีความรู้ ความ เชี่ยวชาญ มีผลงานหรือประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง กับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการท างาน โดยต้องค านึงถึง การมีส่วนร่วมของทั้งหญิงและชาย

มาตรา ๒๕

คณะกรรมการมีอ านาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) เสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีเกี่ยวกับ นโยบาย แผนงาน หรือมาตรการความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และการพัฒนา สภาพแวดล้อมในการท างาน (๒) เสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีในการออก กฎกระทรวง ประกาศ และระเบียบ เพื่อ ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้(๓) ให้ความเห็นแก่หน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับ การส่งเสริมควาㅁมปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการท างาน (๔) วินิจฉัยอุทธรณ์ตามมาตรา ๑๒ มาตรา ๓๓ วรรคสาม และมาตรา ๔๐ วรรคสอง (๕) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่พระราชบัญญัตินี้ หรือกฎหมายอื่นบัญญัติให้เป็นอ านาจหน้าที่ ของคณะกรรมการหรือตามที่รัฐมนตรี มอบหมาย

มาตรา ๒๖

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระอยู่ในต าแหน่ง คราวละสองปี กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจาก ต าแหน่งอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจาก ต าแหน่งก่อนวาระ ให้รัฐมนตรีแต่งตั้งกรรมการ แทนต าแหน่งที่ว่าง และให้ผู้ได้รับแต่งตั้งให้ด ารง ต าแหน่งแทนอยู่ในต าแหน่งเท่ากับวาระที่ เหลืออยู่ของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งตนแทน ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจาก ต าแหน่งตามวาระ แต่ยังมิได้มีการแต่งตั้ง กรรมการใหม่ ให้กรรมการนั้นปฏิบัติหน้าที่ไป พลางก่อนจนกว่ากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับแต่งตั้งจะเข้ารับหน้าท

มาตรา ๒๗

นอกจากการพ้นจากต าแหน่งตามวาระตาม มาตรา ๒๖ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจาก ต าแหน่ง เมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) รัฐมนตรีให้ออก เมื่อขาดประชุมสามครั้ง ติดต่อกันโดยไม่มีเหตุอันสมควร (๔) เป็นบุคคลล้มละลาย (๕) เป็นบุคคลวิกลจริตหรือจิตฟั่นเฟื อน (๖) เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ ความสามารถ (๗) ต้องค าพิพากษาว่าได้กระท าความผิดตาม พระราชบัญญัตินี้ (๘) ได้รับโทษจ าคุกโดยค าพิพากษาถึงที่สุดให้ จ าคุก เว้นแต่เป็นโทษส าหรับความผิดที่ได้ กระท าโดยประมาทหรือความผิดฐานหมิ่น ประมาทหรือความผิดลหุโทษ

มาตรา ๒๘

การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมา ประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ านวนกรรมการทั้งหมด โดยมีกรรมการผู้แทนฝ่ายนายจ้างและ ฝ่ายลูกจ้างอย่างน้อยฝ่ายละหนึ่งคน จึงจะเป็น องค์ประชุม ในการประชุมเพื่อพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ คราวใด ถ้าไม่ได้องค์ประชุมตามที่ก าหนดไว้ใน วรรคหนึ่ง ให้จัดให้มีการประชุมอีกครั้งภายใน สิบห้าวันนับแต่วันที่นัดประชุมครั้งแรก การ ประชุมครั้งหลังแม้ไม่มีกรรมการซึ่งมาจากฝ่าย นายจ้างหรือฝ่ายลูกจ้างมาร่วมประชุม ถ้ามี กรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ จ านวนกรรมการทั้งหมด ก็ให้ถือเป็นองค์ประชุม ในการประชุมคราวใด ถ้าประธานกรรมการไม่ มาประชุมหรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้ กรรมการซึ่งมาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็น ประธานในที่ประชุมส าหรับการประชุมคราวนั้น มติที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคน หนึ่งมีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียง เท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้น อีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด

มาตรา ๒๙

คณะกรรมการมีอ านาจแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่คณะกรรมการ มอบหมายได้ ให้คณะกรรมการก าหนดองค์ประชุมและวิธี ด าเนินงานของคณะอนุกรรมการได้ตามความ เหมาะสม

มาตรา ๓๐

ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ กรรมการและอนุกรรมการได้รับเบี้ยประชุมและ ประโยชน์ตอบแทนอื่นตามระเบียบที่รัฐมนตรี ก าหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลั

มาตรา ๓๑

ให้กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงานรับผิดชอบงานธุรการของ คณะกรรมการ และมีอ านาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) สรรหา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการท างานเพื่อการจัดท า นโยบาย แผนงาน โครงการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างาน เสนอต่อคณะกรรมการ (๒) จัดท าแนวทางการก าหนดมาตรฐานความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การท างานเสนอต่อคณะกรรมการ(๓) จัดท าแผนปฏิบัติการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างาน ประจ าปีเสนอต่อคณะกรรมการ (๔) ประสานแผนและการด าเนินการของ คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการตลอดจน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (๕) ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานตาม มติของคณะกรรมการ (๖) รับผิดชอบงานธุรการของคณะอนุกรรมการ (๗) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการหรือ คณะอนุกรรมการมอบหมาย

หมวด ๔ การควบคุม กา กับ ดูแล

มาตรา ๓๒

เพื่อประโยชน์ในการควบคุม ก ากับ ดูแลการ ด าเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างาน ให้นายจ้าง ด าเนินการ ดังต่อไปนี้ (๑) จัดให้มีการประเมินอันตราย (๒) ศึกษาผลกระทบของสภาพแวดล้อมในการ ท างานที่มีผลต่อลูกจ้าง (๓) จัดท าแผนการด าเนินงานด้านความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การท างานและจัดท าแผนการควบคุมดูแลลูกจ้างและสถานประกอบกิจการ (๔) ส่งผลการประเมินอันตราย การศึกษา ผลกระทบ แผนการด าเนินงานและแผนการ ควบคุมตาม (๑) (๒) และ (๓) ให้อธิบดีหรือผู้ ซึ่งอธิบดีมอบหมาย หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการ ด าเนินการตามวรรคหนึ่ง ประเภทกิจการ ขนาด ของกิจการที่ต้องด าเนินการ และระยะเวลาที่ ต้องด าเนินการ ให้เป็นไปตามที่รัฐมนตรีก าหนด โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในการด าเนินการตามวรรคหนึ่ง นายจ้าง จะต้องปฏิบัติตามค าแนะน าและได้รับการ รับรองผลจากผู้ช านาญการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างาน

มาตรา ๓๓

ผู้ใดจะท าการเป็นผู้ช านาญการด้านความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การท างานจะต้องได้รับใบอนุญาตจากอธิบดี ตามพระราชบัญญัตินี้ การขอใบอนุญาต การออกใบอนุญาต คุณสมบัติของผู้ช านาญการ การควบคุมการ ปฏิบัติงานของผู้ได้รับใบอนุญาต การต่ออายุ ใบอนุญาต การออกใบแทนใบอนุญาต การสั่ง พักใช้และการเพิกถอนใบอนุญาตตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่ก าหนดในกฎกระทรวง ให้น าบทบัญญัติในมาตรา ๑๒ มาใช้บังคับกับ การอนุญาตเป็นผู้ช านาญการด้านความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การท างาน โดยอนุโลม

มาตรา ๓๔

ในกรณีที่สถานประกอบกิจการใดเกิดอุบัติภัย ร้ายแรง หรือลูกจ้างประสบอันตรายจากการ ท างาน ให้นายจ้างด าเนินการ ดังต่อไปนี้ (๑) กรณีที่ลูกจ้างเสียชีวิต ให้นายจ้างแจ้งต่อ พนักงานตรวจความปลอดภัยในทันทีที่ทราบ โดยโทรศัพท์ โทรสาร หรือวิธีอื่นใดที่มี รายละเอียดพอสมควร และให้แจ้งรายละเอียด และสาเหตุเป็นหนังสือภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ ลูกจ้างเสียชีวิต (๒) กรณีที่สถานประกอบกิจการได้รับความ เสียหายหรือต้องหยุดการผลิต หรือมีบุคคลใน สถานประกอบกิจการประสบอันตรายหรือได้รับ ความเสียหาย อันเนื่องมาจากเพลิงไหม้ การ ระเบิด สารเคมีรั่วไหล หรืออุบัติภัยร้ายแรงอื่น ให้นายจ้างแจ้งต่อพนักงานตรวจความปลอดภัยในทันทีที่ทราบโดยโทรศัพท์ โทรสาร หรือวิธีอื่นใด และให้แจ้งเป็นหนังสือโดยระบุ สาเหตุอันตรายที่เกิดขึ้น ความเสียหาย การ แก้ไขและวิธีการป้องกันการเกิดซ ้าอีกภายใน เจ็ดวันนับแต่วันเกิดเหตุ (๓) กรณีที่มีลูกจ้างประสบอันตราย หรือ เจ็บป่ วยตามกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน เมื่อ นายจ้างแจ้งการประสบอันตรายหรือเจ็บป่ วย ต่อส านักงานประกันสังคมตามกฎหมาย ดังกล่าวแล้ว ให้นายจ้างส่งส าเนาหนังสือแจ้ง นั้นต่อพนักงานตรวจความปลอดภัยภายในเจ็ด วันด้วย การแจ้งเป็นหนังสือตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไป ตามแบบที่อธิบดีประกาศก าหนดและเมื่อ พนักงานตรวจความปลอดภัยได้รับแจ้งแล้ว ให้ ด าเนินการตรวจสอบและหามาตรการป้องกัน อันตรายโดยเร็ว

หมวด ๕ พนักงานตรวจความปลอดภัย

มาตรา ๓๕

ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานตรวจความปลอดภัยมีอ านาจ ดังต่อไปนี้ (๑) เข้าไปในสถานประกอบกิจการหรือ ส านักงานของนายจ้างในเวลาท าการหรือเมื่อ เกิดอุบัติภัย (๒) ตรวจสอบหรือบันทึกภาพและเสียง เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมในการท างานที่เกี่ยวกับ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการท างาน (๓) ใช้เครื่องมือในการตรวจวัดหรือตรวจสอบ เครื่องจักร หรืออุปกรณ์ในสถานประกอบ กิจการ (๔) เก็บตัวอย่างของวัสดุหรือผลิตภัณฑ์ใด ๆ มาเพื่อการวิเคราะห์เกี่ยวกับความปลอดภัย (๕) สอบถามข้อเท็จจริง หรือสอบสวนเรื่องใด ๆ ภายในขอบเขตอ านาจและเรียกบุคคลที่ เกี่ยวข้องมาชี้แจง รวมทั้งตรวจสอบหรือให้ส่ง เอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องและเสนอแนะ มาตรการป้องกันอันตรายต่ออธิบดีโดยเร็ว

มาตรา ๓๖

ในกรณีที่พนักงานตรวจความปลอดภัยพบว่า นายจ้าง ลูกจ้าง หรือผู้ที่เกี่ยวข้องผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ หรือ กฎกระทรวงซึ่งออกตามพระราชบัญญัตินี้ หรือ พบว่าสภาพแวดล้อมในการท างาน อาคาร สถานที่ เครื่องจักรหรืออุปกรณ์ที่ลูกจ้างใช้จะ ก่อให้เกิดความไม่ปลอดภัยแก่ลูกจ้าง ให้ พนักงานตรวจความปลอดภัยมีอ านาจสั่งให้ผู้ นั้นหยุดการกระท าที่ฝ่าฝืน แก้ไข ปรับปรุง หรือ ปฏิบัติให้ถูกต้องหรือเหมาะสมภายในระยะเวลา สามสิบวัน ถ้ามีเหตุจ าเป็นไม่อาจด าเนินการให้ แล้วเสร็จภายในก าหนดเวลาดังกล่าวได้ พนักงานตรวจความปลอดภัยอาจขยาย ระยะเวลาออกไปได้ไม่เกินสองครั้ง ครั้งละ สามสิบวันนับแต่วันที่ครบก าหนดเวลาดังกล่าว ในกรณีจ าเป็นเมื่อได้รับอนุมัติจากอธิบดีหรือผู้ ซึ่งอธิบดีมอบหมาย ให้พนักงานตรวจความ ปลอดภัยมีอ านาจสั่งให้หยุดการใช้เครื่องจักร อุปกรณ์ อาคารสถานที่ หรือผูกมัดประทับตราสิ่ง ที่อาจจะก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงต่อ ลูกจ้างดังกล่าวทั้งหมดหรือบางส่วนเป็นการ ชั่วคราว ในระหว่างการปฏิบัติตามค าสั่งของ พนักงานตรวจความปลอดภัยได้ เมื่อนายจ้างได้

มาตรา ๓๗

ในกรณีที่นายจ้างไม่ปฏิบัติตามค าสั่งของ พนักงานตรวจความปลอดภัยตามมาตรา ๓๖ ถ้ามีเหตุอันอาจก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรง ที่กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานสมควรเข้า ไปด าเนินการแทน ให้อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดี มอบหมายมีอ านาจสั่งให้พนักงานตรวจความ ปลอดภัยหรือมอบหมายให้บุคคลใดเข้าจัดการ แก้ไขเพื่อให้เป็นไปตามค าสั่งนั้นได้ ในกรณีเช่นนี้ นายจ้างต้องเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายส าหรับการเข้า จัดการแก้ไขนั้นตามจ านวนที่จ่ายจริง ก่อนที่อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายจะ ด าเนินการตามวรรคหนึ่ง จะต้องมีค าเตือนเป็น หนังสือให้นายจ้างปฏิบัติตามค าสั่งของพนักงาน ตรวจความปลอดภัยภายในระยะเวลาที่ก าหนด ค าเตือนดังกล่าวจะก าหนดไปพร้อมกับค าสั่งของพนักงานตรวจความปลอดภัยก็ได้ ในการด าเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้กรม สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานขอรับเงิน ช่วยเหลือจากกองทุนเพื่อเป็นเงินทดรองจ่ายใน การด าเนินการได้ และเมื่อได้รับเงินจากนายจ้าง แล้วให้ชดใช้เงินช่วยเหลือที่ได้รับมาคืนแก่ กองทุน

มาตรา ๓๘

ให้อธิบดีมีอ านาจออกค าสั่งเป็นหนังสือให้ยึด อายัด และขายทอดตลาดทรัพย์สินของนายจ้าง ซึ่งไม่จ่ายค่าใช้จ่ายในการด าเนินการตามมาตรา ๓๗ ทั้งนี้ เพียงเท่าที่จ าเป็นเพื่อเป็นค่าใช้จ่าย ส าหรับการเข้าจัดการแก้ไขตามจ านวนที่จ่ายจริง การมีค าสั่งให้ยึดหรืออายัดทรัพย์สินตามวรรค หนึ่งจะกระท าได้ต่อเมื่อได้แจ้งเป็นหนังสือให้ นายจ้างน าเงินค่าใช้จ่ายมาจ่ายภายใน ระยะเวลาที่ก าหนด แต่ต้องไม่น้อยกว่าสามสิบ วันนับแต่วันที่นายจ้างได้รับหนังสือนั้นและ นายจ้างไม่จ่ายภายในระยะเวลาที่ก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการยึด อายัด และขายทอดตลาดทรัพย์สินตามวรรค หนึ่ง ให้เป็นไปตามระเบียบที่รัฐมนตรี ก าหนด ทั้งนี้ ให้น าหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ แพ่งมาใช้บังคับโดยอนุโลม เงินที่ได้จากการขายทอดตลาดทรัพย์สิน ให้หัก ไว้เป็นค่าใช้จ่ายในการยึด อายัด และขาย ทอดตลาด และช าระค่าใช้จ่ายที่นายจ้างต้อง เป็นผู้จ่ายตามมาตรา ๓๗ ถ้ามีเงินเหลือให้คืนแก่ นายจ้างโดยเร็วโดยให้พนักงานตรวจความ ปลอดภัยมีหนังสือแจ้งให้ทราบเพื่อขอรับเงินที่ เหลือคืนโดยส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ ถ้านายจ้างไม่มาขอรับคืนภายในห้าปีนับแต่วัน ได้รับแจ้ง ให้เงินดังกล่าวตกเป็นของกองทุน

มาตรา ๓๙

ระหว่างหยุดการท างานหรือหยุดกระบวนการ ผลิตตามมาตรา ๓๖ ให้นายจ้างจ่ายเงินให้แก่ลูกจ้างที่เกี่ยวข้องกับการหยุดการท างานหรือ การหยุดกระบวนการผลิตนั้นเท่ากับค่าจ้างหรือ สิทธิประโยชน์อื่นใดที่ลูกจ้างต้องได้รับ เว้นแต่ ลูกจ้างรายนั้นจงใจกระท าการอันเป็นเหตุให้มี การหยุดการท างานหรือหยุดกระบวนการผลิต

มาตรา ๔๐

ในกรณีที่พนักงานตรวจความปลอดภัยมีค าสั่ง ตามมาตรา ๓๖ วรรคหนึ่ง หากนายจ้าง ลูกจ้าง หรือผู้ที่เกี่ยวข้องไม่เห็นด้วย ให้มีสิทธิอุทธรณ์ เป็นหนังสือต่ออธิบดีได้ภายในสามสิบวันนับแต่ วันที่ทราบค าสั่ง ให้อธิบดีวินิจฉัยอุทธรณ์ภายใน สามสิบวันนับแต่วันที่รับอุทธรณ์ ค าวินิจฉัยของ อธิบดีให้เป็นที่สุด ในกรณีที่พนักงานตรวจความปลอดภัยมีค าสั่ง ตามมาตรา ๓๖ วรรคสอง หากนายจ้าง ลูกจ้าง หรือผู้ที่เกี่ยวข้องไม่เห็นด้วย ให้มีสิทธิอุทธรณ์ เป็นหนังสือต่อคณะกรรมการได้ภายในสามสิบ วันนับแต่วันที่ทราบค าสั่ง ให้คณะกรรมการินิจฉัยอุทธรณ์ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่รับ อุทธรณ์ ค าวินิจฉัยของคณะกรรมการให้เป็น ที่สุด การอุทธรณ์ ย่อมไม่เป็นการทุเลาการปฏิบัติ ตามค าสั่งของพนักงานตรวจความปลอดภัย เว้น แต่อธิบดีหรือคณะกรรมการ แล้วแต่กรณี จะมี ค าสั่งเป็นอย่างอื่น

มาตรา ๔๑

ในการปฏิบัติตามหน้าที่ พนักงานตรวจความ ปลอดภัยต้องแสดงบัตรประจ าตัวเมื่อผู้ที่ เกี่ยวข้องร้องขอ บัตรประจ าตัวพนักงานตรวจความปลอดภัย ให้เป็นไปตามแบบที่รัฐมนตรีประกาศก าหนด

มาตรา ๔๒

ห้ามนายจ้างเลิกจ้างลูกจ้าง หรือโยกย้าย หน้าที่การงานของลูกจ้างเพราะเหตุที่ลูกจ้าง ด าเนินการฟ้องร้องหรือเป็นพยานหรือให้ หลักฐานหรือให้ข้อมูลเกี่ยวกับความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การท างานต่อพนักงานตรวจความปลอดภัยหรือ คณะกรรมการตามพระราชบัญญัตินี้ หรือต่อ ศาล

มาตรา ๔๓

ในกรณีที่นายจ้าง ลูกจ้าง หรือผู้ที่เกี่ยวข้องได้ ปฏิบัติตามค าสั่งของพนักงานตรวจความ ปลอดภัยตามมาตรา ๓๖ ภายในระยะเวลาที่ ก าหนด การด าเนินคดีอาญาต่อนายจ้าง ลูกจ้าง หรือผู้ที่เกี่ยวข้องให้เป็นอันระงับไป

หมวด ๖ กองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างาน

มาตรา ๔๔

ให้จัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งในกรม สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเรียกว่า “กองทุน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการท างาน” เพื่อเป็นทุนใช้จ่าย ในการด าเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนา มัย และสภาพแวดล้อมในการท างานตาม พระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๔๕

กองทุน ประกอบด้วย (๑) เงินทุนประเดิมที่รัฐบาลจัดสรรให้ (๒) เงินรายปีที่ได้รับการจัดสรรจากกองทุนเงิน ทดแทนตามกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน (๓) เงินค่าปรับที่ได้จากการลงโทษผู้กระท าผิด ตามพระราชบัญญัตินี้(๔) เงินอุดหนุนจากรัฐบาล (๕) เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคให้ (๖) ผลประโยชน์ที่ได้จากเงินของกองทุน (๗) ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตและใบส าคัญการ ขึ้นทะเบียนตามมาตรา ๙ มาตรา ๑๑ มาตรา ๑๓ และมาตรา ๓๓ (๘) ดอกผลที่เกิดจากเงินหรือทรัพย์สินของ กองทุน (๙) รายได้อื่น ๆ

มาตรา ๔๖

เงินกองทุนให้ใช้จ่ายเพื่อกิจการ ดังต่อไปนี้ (๑) การรณรงค์ส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างาน และการพัฒนาแก้ไขและบริหารงานความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การท างาน ทั้งนี้โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการบริหารกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างาน (๒) ช่วยเหลือและอุดหนุนหน่วยงานของรัฐ สมาคม มูลนิธิองค์กรเอกชน หรือบุคคลที่เสนอ โครงการหรือแผนงานในการด าเนินการส่งเสริม สนับสนุนการศึกษาวิจัยและการพัฒนางาน ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการท างาน (๓) ค่าใช้จ่ายในการบริหารกองทุนและตามมาตรา ๓๐ (๔) สนับสนุนการด าเนินงานของสถาบัน ส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการท างานตามความ เหมาะสมเป็นรายปี (๕) ให้นายจ้างกู้ยืมเพื่อแก้ไขสภาพความไม่ ปลอดภัย หรือเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุและ โรคอันเนื่องจากการท างาน (๖) เงินทดรองจ่ายในการด าเนินการตาม มาตรา ๓๗ การด าเนินการตาม (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) และ (๖) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการและ เงื่อนไขที่คณะกรรมการบริหารกองทุนความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การท างานก าหนด และให้น าเงินดอกผลของ กองทุนมาเป็นค่าใช้จ่ายในการด าเนินการตาม (๑) (๒) และ(๓) ได้ไม่เกินร้อยละเจ็ดสิบห้า ของดอกผลของกองทุนต่อปี

มาตรา ๔๗

เงินและทรัพย์สินที่กองทุนได้รับตามมาตรา ๔๕ ไม่ต้องน าส่งกระทรวงการคลังเป็นรายได้ แผ่นดิน

มาตรา ๔๘

ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า“คณะกรรมการบริหารกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างาน” ประกอบด้วย อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงาน เป็นประธานกรรมการ ผู้แทน กระทรวงการคลัง ผู้แทนส านักงานประกันสังคม ผู้แทนส านักงบประมาณ และผู้ทรงคุณวุฒิอีกคน หนึ่งซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้ง กับผู้แทนฝ่ายนายจ้าง และผู้แทนฝ่ายลูกจ้างฝ่ายละห้าคน เป็น กรรมการ ให้ข้าราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงานซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งเป็นเลขานุการ การได้มาซึ่งผู้แทนฝ่ายนายจ้างและผู้แทนฝ่าย ลูกจ้างตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศก าหนด โดยต้องค านึงถึงการมีส่วนร่วมของทั้งหญิงและ ชาย

มาตรา ๔๙

ให้น าบทบัญญัติมาตรา ๒๖ มาตรา ๒๗ และ มาตรา ๒๘ วรรคหนึ่ง วรรคสาม และวรรคสี่ มา ใช้บังคับกับการด ารงต าแหน่ง การพ้นจาก ต าแหน่ง การประชุมของคณะกรรมการบริหาร กองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการท างาน และให้น ามาตรา ๒๙ มาใช้บังคับกับการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ ของคณะกรรมการบริหารกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างาน โดยอนุโลม

มาตรา ๕๐

ให้คณะกรรมการบริหารกองทุนความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การท างานมีอ านาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) ก ากับการจัดการและบริหารกองทุน (๒) พิจารณาจัดสรรเงินกองทุนเพื่อการ ช่วยเหลือและการอุดหนุน การให้กู้ยืม การทด รองจ่ายและการสนับสนุนเงินในการด าเนินงาน ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการท างาน (๓) วางระเบียบเกี่ยวกับการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินกองทุน และการจัดหา ผลประโยชน์ของเงินกองทุน โดยความเห็นชอบ ของกระทรวงการคลัง (๔) วางระเบียบเกี่ยวกับหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขการให้เงินช่วยเหลือและเงินอุดหนุน การขอเงินช่วยเหลือและเงินอุดหนุน การอนุมัติ เงินทดรองจ่าย การขอเงินทดรองจ่าย การให้ กู้ยืมเงินและการช าระเงินคืนแก่กองทุน (๕) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่พระราชบัญญัตินี้ หรือกฎหมายอื่นบัญญัติให้เป็นอ านาจหน้าที่ ของคณะกรรมการบริหารกองทุนความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การท างานหรือตามที่รัฐมนตรีมอบหมาย

มาตรา ๕๑

ภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันสิ้นปีบัญชีให้ คณะกรรมการบริหารกองทุนความปลอดภัย อา ชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างาน เสนองบดุลและรายงานการรับจ่ายเงินกองทุนใน ปีที่ล่วงมาแล้วต่อส านักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เพื่อตรวจสอบรับรองและเสนอต่อคณะกรรมการ งบดุลและรายงานการรับจ่ายเงินดังกล่าว ให้ คณะกรรมการเสนอต่อรัฐมนตรีและให้รัฐมนตรี เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบและจัดให้มีการ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

หมวด ๗ สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชี วอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างาน

มาตรา ๕๒

ให้มีสถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนา มัย และสภาพแวดล้อมในการท างาน โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอ นามัย และสภาพแวดล้อมในการท างาน และมี อ านาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) ส่งเสริมและแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การท างาน (๒) พัฒนาและสนับสนุนการจัดท ามาตรฐาน เพื่อส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการท างาน (๓) ด าเนินการ ส่งเสริม สนับสนุน และร่วมด าเนินงานกับหน่วยงานด้านความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การท างานของภาครัฐและเอกชน (๔) จัดให้มีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการส่งเสริม ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการท างาน ทั้งในด้านการ พัฒนาบุคลากรและด้านวิชาการ (๕) อ านาจหน้าที่อื่นตามที่ก าหนดในกฎหมาย ให้กระทรวงแรงงานจัดตั้งสถาบันส่งเสริม ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการท างานโดยอยู่ภายใต้การ ก ากับดูแลของรัฐมนตรี ทั้งนี้ ภายในหนึ่งปีนับ แต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ

หมวด ๘ บทก าหนดโทษ

มาตรา ๕๓

นายจ้างผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐาน ที่ก าหนดในกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๘ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่ เกินสี่แสนบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๕๔

ผู้ใดมีหน้าที่ในการรับรอง หรือตรวจสอบเอกสารหลักฐาน หรือรายงานตามกฎกระทรวงที่ ออกตามมาตรา ๘ วรรคสอง กรอกข้อความอัน เป็นเท็จในการรับรองหรือตรวจสอบเอกสาร หลักฐานหรือรายงาน ต้องระวางโทษจ าคุกไม่ เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือ ทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๕๕

ผู้ใดให้บริการตรวจวัด ตรวจสอบ ทดสอบ รับรอง ประเมินความเสี่ยง จัดฝึกอบรม หรือให้ ค าปรึกษาโดยไม่ได้ขึ้นทะเบียนตามมาตรา ๙ หรือไม่ได้รับอนุญาตตามมาตรา ๑๑ ต้องระวาง โทษจ าคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินสอง แสนบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๕๖

นายจ้างผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๓ มาตรา ๑๖ หรือมาตรา ๓๒ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกิน หกเดือน หรือปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือทั้งจ า ทั้งปรับ

มาตรา ๕๗

นายจ้างผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๔ หรือ มาตรา ๓๔ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าหมื่น บาท

มาตรา ๕๘

นายจ้างผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๕ หรือ มาตรา ๑๗ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินสาม เดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจ าทั้ง ปรับ

มาตรา ๕๙

นายจ้างผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๘ วรรค หนึ่ง ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับ ไม่เกินสี่แสนบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๖๐

ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๘ วรรคสอง ต้อง ระวางโทษจ าคุกไม่เกินสามเดือน หรือปรับไม่ เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๖๑

ผู้ใดขัดขวางการด าเนินการของนายจ้างตาม มาตรา ๑๙ หรือขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่ของ พนักงานตรวจความปลอดภัย หรือบุคคลซึ่ง ได้รับมอบหมายตามมาตรา ๓๗ วรรคหนึ่ง โดย ไม่มีเหตุอันสมควร ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกิน หกเดือน หรือปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือทั้งจ า ทั้งปรับ

มาตรา ๖๒

ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๒๒ วรรคหนึ่ง หรือ มาตรา ๒๓ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินสาม เดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจ าทั้ง ปรับ

มาตรา ๖๓

ผู้ใดกระท าการเป็นผู้ช านาญการด้านความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การท างานโดยไม่ได้รับใบอนุญาตตามมาตรา ๓๓ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินหกเดือน หรือ ปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๖๔

ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อ านวยความสะดวกในการ ปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานตรวจความปลอดภัย ตามมาตรา ๓๕ หรือมาตรา ๓๖ วรรคสอง ต้อง ระวางโทษจ าคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกิน สองแสนบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๖๕

้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามค าสั่งของ พนักงานตรวจความปลอดภัยตามมาตรา ๓๖ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๖๖

ผู้ใดฝ่าฝืนหรือกระท าการอย่างหนึ่งอย่างใด เพื่อให้สิ่งที่พนักงานตรวจความปลอดภัยสั่งให้ ระงับการใช้หรือผูกมัดประทับตราไว้กลับใช้งาน ได้อีกระหว่างการปฏิบัติตามค าสั่งของพนักงาน ตรวจความปลอดภัยตามมาตรา ๓๖ วรรคสอง ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่ เกินแปดแสนบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ และปรับอีกเป็นรายวันไม่เกินวันละห้าพันบาทจนกว่าจะ ด าเนินการตามค าสั่

มาตรา ๖๗

นายจ้างผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๓๙ ต้อง ระวางโทษปรับครั้งละไม่เกินห้าหมื่นบาท

มาตรา ๖๘

นายจ้างผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๔๒ ต้องระวางโทษ จ าคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินสองแสน บาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๖๙

ในกรณีที่ผู้กระท าความผิดเป็นนิติบุคคล ถ้า การกระท าความผิดของนิติบุคคลนั้นเกิดจาก การสั่งการ หรือการกระท าของบุคคลใด หรือเกิด จากการไม่สั่งการ หรือไม่กระท าการอันเป็น หน้าที่ที่ต้องกระท าของกรรมการผู้จัดการหรือ บุคคลใดซึ่งรับผิดชอบในการด าเนินงานของนิติ บุคคลนั้น ผู้นั้นต้องรับโทษตามที่บัญญัติไว้ส าหรับความผิดนั้น ๆ ด้วย

มาตรา ๗๐

ผู้ใดเปิดเผยข้อเท็จจริงใดที่เกี่ยวกับกิจการของ นายจ้างอันเป็นข้อเท็จจริงที่ปกติวิสัยของ นายจ้างจะพึงสงวนไว้ไม่เปิดเผยซึ่งผู้นั้นได้หรือ ล่วงรู้ข้อเท็จจริงดังกล่าวมาเนื่องจากการ ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ต้องระวางโทษ จ าคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินสี่หมื่น บาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ เว้นแต่เป็นการเปิดเผยใน การปฏิบัติราชการเพื่อประโยชน์แห่ง พระราชบัญญัตินี้ หรือเพื่อประโยชน์แก่การ คุ้มครองแรงงาน การแรงงานสัมพันธ์ หรือการ สอบสวนหรือพิจารณาคดี

มาตรา ๗๑

บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ที่มีอัตรา โทษจ าคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินสี่แสน บาท ถ้าเจ้าพนักงานดังต่อไปนี้ เห็นว่าผู้กระท า ผิดไม่ควรได้รับโทษจ าคุกหรือไม่ควรถูกฟ้องร้อง ให้มีอ านาจเปรียบเทียบ ดังนี้(๑) อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมาย ส าหรับ ความผิดที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานคร (๒) ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้ซึ่งผู้ว่าราชการ จังหวัดมอบหมาย ส าหรับความผิดที่เกิดขึ้นใน จังหวัดอื่น ในกรณีที่มีการสอบสวน ถ้าพนักงานสอบสวน พบว่าบุคคลใดกระท าความผิดที่เจ้าพนักงานมี อ านาจเปรียบเทียบได้ตามวรรคหนึ่งและบุคคล นั้นยินยอมให้เปรียบเทียบ ให้พนักงานสอบสวน ส่งเรื่องให้อธิบดีหรือผู้ว่าราชการจังหวัด แล้วแต่ กรณี ภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่บุคคลนั้นแสดง ความยินยอมให้เปรียบเทียบ เมื่อผู้กระท าผิดได้ช าระเงินค่าปรับตามจ านวน ที่เปรียบเทียบภายในสามสิบวันนับแต่วันที่มีการ เปรียบเทียบแล้ว ให้ถือว่าคดีเลิกกันตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ถ้าผู้กระท าความผิดไม่ยินยอมให้เปรียบเทียบหรือเมื่อยินยอมแล้วไม่ช าระเงินค่าปรับภายใน ก าหนดเวลาตามวรรคสาม ให้ด าเนินคดีต่อไป

มาตรา ๗๒

การกระท าความผิดตามมาตรา ๖๖ ถ้า คณะกรรมการเปรียบเทียบ ซึ่งประกอบด้วย อธิบดี ผู้บัญชาการส านักงานต ารวจแห่งชาติ หรือผู้แทน และอัยการสูงสุดหรือผู้แทน เห็นว่า ผู้กระท าผิดไม่ควรได้รับโทษจ าคุกหรือไม่ควรถูก ฟ้องร้อง ให้มีอ านาจเปรียบเทียบได้ และให้น า มาตรา ๗๑ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่ มา ใช้บังคับโดยอนุโลม

บทเฉพาะกาล

มาตรา ๗๓

ในวาระเริ่มแรก ให้คณะกรรมการความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การท างานตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งด ารงต าแหน่งอยู่ในวันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ปฏิบัติหน้าที่ คณะกรรมการตามพระราชบัญญัตินี้ไปจนกว่า จะมีการแต่งตั้งคณะกรรมการตามพระราชบัญญัตินี้ ซึ่งต้องไม่เกินหนึ่งร้อยแปดสิบ วันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ

มาตรา ๗๔

ในระหว่างที่ยังมิได้ออกกฎกระทรวง ประกาศ หรือระเบียบเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติ นี้ ให้น ากฎกระทรวงที่ออกตามความในหมวด ๘ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม

ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี

อัตราค่าธรรมเนียม

(๑) ใบอนุญาตให้บริการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างาน ฉบับละ ๒๐,๐๐๐ บาท (๒) ใบอนุญาตผู้ช านาญการ ด้านความ ปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การท างาน ฉบับละ ๕,๐๐๐ บาท (๓) ใบส าคัญการขึ้นทะเบียนบุคลากรตามมาตรา ๙ และมาตรา ๑๓ ฉบับละ ๕,๐๐๐ บาท (๔) ใบแทนใบอนุญาต ฉบับละ ๕๐๐ บาท (๕) ใบแทนใบส าคัญการขึ้นทะเบียน ฉบับละ ๕๐๐ บาท (๖) การต่ออายุใบอนุญาตหรือใบส าคัญ ครั้งละเท่ากับค่าธรรมเนียมการขึ้นทะเบียน ส าหรับใบอนุญาติ หรือใบส าคัญนั้น

「2011년 직업안전보건환경법」

• 국가·지역: 태국 • 제 정 일: 2011년 1월 12일

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็นปีที่ ๖๖ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ท างาน พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับ การจ ากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๓ มาตรา ๔๑ และ มาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระท าได้โดยอาศัยอ านาจตาม บทบัญญัติแห่งกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยค าแนะน าและยินยอม ของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ 푸미폰 아둔야뎃 폐하께서 재위 66번째 해인 2011년(불기2554 년) 1월 12일에 하사하셨다. 푸미폰 아둔야뎃 폐하께서는 다 음과 같이 공포하도록 하셨다. 직업안전보건환경 관련 법률을 갖추는 것이 마땅하다. 이 법은 개인의 권리와 자유에 대한 제한과 관련한 일부 조항을 포함하고 있다. 이는 타이왕국헌 법 제33조와 제41조 및 제43조 와 연계하여 제29조를 법률의 규 정에 따른 권한에 의거하여 이행 할 수 있도록 규정한다. 그러므로 폐하께서 의회의 조언 을 통하여 다음과 같이 법률을 제정하도록 하셨다.

제1조

이 법은 "2011년 직업안전보 건환경법"이라고 한다.

제2조

이 법은 관보에 게재한 날부터 180일이 지난 날에 시행하도록 한다.

제3조

이 법은 다음 각 항에 대해서는 적용하지 아니하도록 한다. (1) 중앙행정기관과 지방행정기관 및 지역행정기관 (2) 부령에서 정하는 기타사업 전체 또는 일부 첫번째 단락에 따른 중앙행정 기관과 지방행정기관, 지역행정 기관 및 부령에서 정하는 기타사업은 이 법에 따른 직업안전보건환경 기준 이상의 직업안전 보건환경 분야 운영 및 처리 자 체 기준을 갖추도록 한다.

제4조

이 법에서 사용하는 용어의 뜻 은 다음과 같다. “직업안전보건환경”이란 근로 또는 근로와 관련하여 생명이나 신체, 정신 또는 보건 위생에 대한 위험을 유발하는 원인에서 벗어난 행위 또는 근로 조건을 말한다. “사용자”란 근로 보호 관련 법률에 따른 사용자를 말하며, 근로 또는 수익 창출이 사업자 책임에서의 생산 과정 또는 사업의 일부 또는 전부인지에 관계 없이, 어떤 사람에게 사업장에 근로 또는 수익을 제공하도록 하거나 사업장에서 근로하거나 수익을 창출하도록 승낙한 사업자를 포함하여 말하도록 한다. “피고용자”란 근로 보호 관련 법률에 따른 피고용자를 말하 며, 명칭에 관계없이 사업장에 근로 또는 수익을 제공하거나, 사업장에서 근로하거나 수익을 창출하도록 승낙을 받은 사람을 포함하여 말하도록 한다. “임원”이란 기관의 경영자급 이상의 피고용자를 말한다. “관리자”란 피고용자가 기관의 직무에 따라 근로하도록 관리하거나 감독, 통솔 또는 지시하는 직무를 수행하는 피고용자를 말 한다. “직업안전담당자”란 사용자가 이 법에 따라 직업안전보건환경분야의 직무를 수행하도록 임명한 피고용자를 말한다. “사업장”이란 기관에서 피고용자가 근무하는 사용자의 각 기관을 말한다. “위원회”란 직업안전보건환경위 원회를 말한다. “기금”이란 직업안전보건환경기금을 말한다. “안전조사관”이란 이 법에 따라 집행하도록 장관이 임명하는 사람을 말한다. “국장”이란 근로복지보호국장을 말한다. “장관”이란 이 법에 따른 주무장관을 말한다.

제5조

노동부 장관이 이 법을 관장하도록 하며, 이 법에 따른 집행을 위하여 안전조사관을 임명하 고, 부령과 고시 및 규칙과 아울러 이 법률에 첨부한 요율을 초과하지 아니하는 수수료를 정하고, 수수료를 면제하는 부령을 제정하는 권한을 갖도록 한다. 안전조사관 임명에서는 자격과 범위, 권한과 직무 및 직무 수행 조건을 함께 규정하여야 한다. 해당 부령과 고시 및 규칙은 관보에 게재하였을 때 시행하도록 한다.

제1장 총칙

제6조

사용자는 사업장 및 피고용자에게 안전하고 위생적인 근로 조건 및 근로 환경을 마련하고 관리하도록 하며, 아울러 피고용자가 생명과 신체, 정신 및 보건 위생에 대한 위험에 처하지 아니하도록 피고용자의 직무수행을 지원하도록 한다. 피고용자에게 사업장의 안전을 위하여 직업안전보건환경 분야의 이행 및 지원에 대하여 사용자와 협력할 의무를 부여한다.

제7조

이 법에서 사용자가 비용을 지불하여야 하는 어떤 이행을 하도록 규정하는 경우, 사용자가 그러한 이행을 위한 비용을 지불하도록 한다.

제2장 근로 중 안전과 직업 위생 및 환경 분야에서의 운영과 처리 및 이행

제8조

사용자는 부령에서 정하는 기 준에 따라 직업안전보건환경 분 야를 운영, 처리 및 이행한다. 첫번째 단락에 따른 기준 설정 은 사용자가 부령에서 정하는 개인 또는 법인의 검증 또는 인 증을 받아 서류를 작성하거나 보고하도록 한다. 피고용자에게 첫번째 단락에서 규정하는 기준에 따라 직업안전보건환경 분야의 원칙을 준수할 의무를 부여한다.

제9조

제8조에 따라 제정되는 부령에서 정하는 기준에 따라 직업안 전보건환경을 지원하기 위한 위험성 측정, 조사, 시험, 인증, 평가와 아울러 교육을 마련하거나 조언을 제공하고자 하는 사람은 근로복지보호국 근로안전사무소에 등록하여야 한다. 첫번째 단락에 따른 등록 신청자의 자격과 등록, 등록대체증서 발행, 등록 취소, 서비스 요금 책정 및 서비스 제공 절차는 부령에서 정하는 원칙과 절차 및 조건을 따르도록 한다.

제10조

근로복지보호국 근로안전사무 소가 제9조에 따른 등록을 거부 하거나 등록을 취소하는 경우, 등록 신청자 또는 등록이 취소 된 사람은 등록 접수 거부 또는 등록 취소 통지를 받은 날부터 30일 이내에 국장에게 서면으로 이의를 제기할 권리가 있다. 국장의 결정은 최종적인 것이 되도록 한다.

제11조

제8조에 따라 제정되는 부령에서 정하는 기준에 따라 직업안 전보건환경을 지원하기 위한 위험성 측정, 조사, 시험, 인증, 평가와 아울러 교육을 마련하거나 조언을 제공하고자 하는 법인은 국장으로부터 허가증을 취득하여야 한다. 첫번째 단락에 따른 허가 신청자의 자격과 허가 신청, 허가, 허가증 연장 신청, 허가증대체 증서 발급, 허가증 사용 정지 및 취소, 서비스 요금 책정 및 서비스 제공 절차는 부령에서 정하는 원칙과 절차 및 조건을 따르도록 한다.

제12조

국장이 제11조에 따라 법인에 게 제공하는 허가증 발급이나 허가증 기간 연장, 허가증대체증서 발급을 거부하거나 허가증에 대한 사용 정지 또는 취소를 하는 경우, 해당 법인은 국장의 허가증 발급 또는 허가증 기간 연장 거부나 허가증 취소 통지서를 받은 날부터 30일 이내에 위원회에 서면으로 이의를 신청할 권리가 있다. 위원회의 결정은 최종적인 것이 되도록 한다.

제13조

사용자는 부령에서 정하는 원칙과 절차 및 조건에 따라 사업장에서의 안전 분야 이행을 위하여 직업안전담당자나 인원, 부서 또는 단체를 갖추도록 한다. 첫번째 단락에 따른 직업안전 담당자 및 인원은 근로복지보호국에 등록하여야 한다. 제9조 두번째 단락 및 제10조의 규정을 직업안전담당관 등록에 준용하도록 한다.

제14조

사용자가 피고용자에게 피고용자의 생명이나 신체, 정신 또는 보건 위생에 위험할 수 있는 근로 조건 또는 근로 환경에서 근로하도록 하는 경우, 사용자는 피고용자가 업무를 시작하거나, 업무 또는 근무처를 변경하기 전에 피고용자에게 근로 중 발생할 수 있는 위험성을 알리고, 업무수행지침서를 배포하도록 한다

제15조

사용자가 이 법을 준수하도록하는 국장의 경고나 명령 또는 결정이나 안전조사관의 명령 또는 위원회의 결정을 받는 경우, 사용자는 해당 경고나 명령 또는 결정을 알리거나, 통지를 받은 날부터 15일 이상 사업장의 쉽게 볼 수 있는 장소에 게시하 도록 한다.

제16조

사용자는 직업안전보건환경 분야의 안전한 운영 및 이행을 하도록 하기 위하여 임원과 관리 자 및 모든 피고용자에게 직업안전보건환경 교육을 받도록 제공하도록 한다. 사용자의 피고용자 고용이나 업무 또는 근무처 변경, 기계 또는 장비 교체가 피고용자의 생명이나 신체, 정신 또는 보건 위생에 위험이 될 수 있는 경 우, 사용자는 업무를 시작하기 전에 모든 피고용자에게 교육을 제공하도록 한다. 첫번째 단락 및 두번째 단락에 따른 교육은 국장이 고시하는 원칙과 절차 및 조건을 따르도록 한다.

제17조

사용자는 국장이 고시하는 바에 따라 사용자와 피고용자의 권리 및 의무에 관한 안내문을 포함하는 직업안전보건환경 관련 위험 경고 표지 및 기호를 사업장의 보기 쉬운 곳에 부착하도록 한다.

제18조

어떤 장소에 다수의 사업장이 있는 경우, 해당 사업장의 모든 사용자는 이 법에 따른 직업환경보건환경 분야의 공동 이행 책임이 있다. 첫번째 단락에 따른 사업장에 서 근무하는 피고용자와 아울러 사용자의 소유가 아닌 다른 사 업장에서 근로하는 피고용자는 해당 사업장에서 적용하는 직업 안전보건환경 관련 원칙을 준수하여야 한다.

제19조

사용자가 건물이나 장소, 도구, 기계, 장비 또는 기타 물품을 임차하여 사업장에서 사용하는 경우, 사용자는 제8조에 따라 제정되는 부령에서 정하는 기준에 따라 임차한 건물이나 장소, 도구, 기계, 장비 또는 기타 물품과 관련한 직업안전보건환경 분야를 이행할 권한을 갖도록 한다. 첫번째 단락에 따른 이행은 임대한 건물이나 장소, 도구, 기 계, 장비 또는 물품 소유주 또는 임대인에게 어떠한 손해액 보상금 청구 및 임대차 계약 종료를 요구할 권리도 발생시키지 아니한다.

제20조

임원 또는 관리자에게 제8조와 제16조, 제18조 및 제22조를 준수하기 위하여 사용자 및 기타 직원을 지원하고 협력할 의무를 부여한다.

제21조

피고용자는 생명과 신체, 정신 및 보건 위생의 안전을 위하여 업무 상황 및 책임 구역을 고려하여 제8조에 따라 제정되는 부령에서 정하는 기준에 따라 업무 환경을 관리할 책임이 있다. 피고용자가 하자 또는 손상을 인지하였으며, 직접 해결할 수 없는 경우에는 직업안전담당자나 관리자 또는 임원에게 신고하도록 하며, 직업안전담당자나 관리자 또는 임원은 지체없이 사용자에게 신고하도록 한다. 관리자가 피고용자의 생명이나 신체, 정신 또는 보건 위생에 위험이 될 수 있는 하자 또는 손상에 대하여 인지한 경우, 인 지한 즉시 책임이 있거나 위임을 받은 범위 내에서 위험 방지 조치를 실시하여야 한다. 조치 할 수 없는 경우에는 임원 또는 사용자에게 즉시 알려 해결 조치를 하도록 한다.

제22조

사용자는 피고용자가 국장이 고시하는 바에 따른 기준에 맞 는 개인 안전 보호 장비를 착용하도록 조치하고 감독하도록 한다. 피고용자는 첫번째 단락에 따른 개인 안전 보호 장비를 착용 하고 업무 시간 동안 업무의 상황과 성격에 따라 계속 사용할 수 있도록 장비를 관리할 책임 이 있다. 피고용자가 해당 장비를 착용하지 아니하는 경우, 사용자는 피고용자에게 해당 장비를 착용할 때까지 업무 정지 명령을 하도록 한다.

제23조

근로 보호 관련 법률에 따른 원수급인 및 하도급자는 피고용 자의 직업안전보건환경 분야에서 사용자와 마찬가지로 조치할 의무가 있다. 사용자가 하도급자이며 상위 하도급자가 있는 경우, 같은 사업장에서 근로하는 피고용자가 있는 원수급인까지의 상위 하도 급자는 모든 피고용자의 안전을 위하여 함께 안전한 근로 상태 및 위생적인 근로 환경을 갖춘 근무처를 마련할 의무를 부여한다.

제3장 직업안전보건환경위원회

제24조

노동부 사무차관을 위원장으로 하고, 공해관리국장과 질병관리국장, 노동기술개발국장, 공공사업도시계획국장, 공장국장, 지방행정지원국장 및 근로복지보호국장을 위원으로 하고, 사용자 대표와 근로자 대표 각8인 및 장관이 임명하는 5인의 적임자를 위원으로 하는 “직업안전보건환경위원회”라는 명칭의 위원회 하나를 두도록 한다. 장관이 임명하는 근로복지보호국 공무원이 간사가 되도록 한다. 첫번째 단락에 따른 사용자 대표 및 피고용자 대표의 신임 및 이임은 장관이 고시하는 원칙과 절차 및 조건을 따르도록 하며, 남녀 모두의 참여를 고려하여야 한다. 적임자위원은 직업안전보건환경 관련 지식이나 전문성, 실적, 또는 경력을 갖춘 사람이어야 하며, 남녀 모두의 참여를 고려 하여야 한다.

제25조

위원회는 다음 각 항의 권한과 직무를 담당한다. (1) 장관에게 직업안전보건환경 정책이나 계획 또는 기준 관련 의견을 제출한다. (2) 장관에게 이 법에 따른 집행을 위한 부령과 고시 및 규칙 제정에 대한 의견을 제출한다. (3) 정부기관에 직업안전보건 환경 지원과 관련한 의견을 제공한다. (4) 제12조와 제33조 세번째 단락 및 제40조 두번째 단락에 따른 이의에 대하여 결정한다. (5) 이 법 또는 기타 법에서 위원회의 권한과 직무로 규정 하였거나 장관이 위임한 바에 따른 기타 사항을 집행한다.

제26조

적임자위원의 임기는 2년이며, 이임한 적임자위원은 재임명될 수 있다. 적임자위원이 임기 만료 전에 이임하는 경우, 장관은 보궐 위원을 임명하도록 하며, 임명된 위원은 본인이 대신하는 적임자 위원의 남아 있는 임기 동안 재 임하도록 한다. 적임자위원이 임기에 따라 이임하였으나 아직 새 위원을 임명하지 아니한 경우, 해당 위원은 임명되는 적임자위원이 취임 할 때까지 우선 직무를 수행하도록 한다.

제27조

적임자위원은 제26조에 따른 이임 이외에 다음 각 항의 어느 하나에 해당하는 때에 이임한다. (1) 사망한 때 (2) 사임한 때 (3) 정당한 이유 없이 3회 연속으로 회의에 불참하여 장관이 해임한 때 (4) 파산자가 된 때 (5) 정신이상자 또는 심신미약자가 된 때 (6) 금치산자 또는 한정치산자 가 된 때 (7) 이 법에 따른 위법 행위를 하였다는 판결을 받은 때 (8) 과실죄나 명예훼손죄 또는 경범죄에 대한 처벌을 제외하고, 최종심에서 자유형에 처하여 진 때

제28조

위원회의 회의는 사용자측 대표 및 피고용자측 대표가 각각 1인 이상 참석하여야 하며, 재 적 위원 과반수가 참석하여야 정족수가 된다. 어떤 이의에 대한 결정을 검토 하기 위한 회의에서 만약 첫번째 단락에서 정한 회의 정족수 가 되지 아니한다면, 첫 회의일 부터 15일 이내에 다시 회의를 개최하도록 한다. 다음 회의는 사용자측 대표 또는 피고용자측 대표가 불참하더라도 만약 재적 위원의 과반수가 참석한다면 정족수로 보도록 한다. 어떤 회의에 만약 위원장이 불참하거나, 직무를 수행할 수 없다면, 회의에 참석한 위원 1인 을 해당 회의의 의장으로 선정하도록 한다. 회의의 결정은 다수결을 따르 도록 한다. 위원 1인은 1개의 투표권을 가진다. 만약 득표수 가 같다면, 의장이 추가로 1표 의 결정표를 행사하도록 한다.

제29조

위원회는 위원회가 위임하는바에 따른 검토 또는 집행을 위한 소위원회를 임명할 권한이 있다. 위원회는 적합한 바에 따라 소위원회의 정족수와 업무 처리 절차를 규정하도록 한다.

제30조

이 법에 따른 집행을 하는 경 우, 위원과 소위원에게 재무부 의 승인을 통하여 장관이 정하 는 규칙에 따라 회의 수당과 기 타 혜택을 제공한다.

제31조

노동부 근로보호국이 위원회의 행정 사무를 책임지도록 하고, 다음 각 항의 권한과 직무를 담당하도록 한다. (1) 직업안전보건환경 분야 정책과 계획 및 프로젝트 수립을 위하여 직업안전보건환경 분야 자료를 선정하고, 수집 및 분 석하여 위원회에 제출한다. (2) 직업안전보건환경 기준 설 정 지침을 작성하여 위원회에 제출한다. (3) 연간 직업안전보건환경 분야 실행 계획을 작성하여 위원회에 제출한다. (4) 위원회와 소위원회와 아울러 관련 기관의 계획과 운영을 조정한다. (5) 위원회의 결정에 따른 이행 실적을 추적하고 평가한다. (6) 소위원회의 행정 사무를 담당한다. (7) 위원회 또는 소위원회가 위임하는 바에 따른 기타 직무 를 수행한다.

제4장 통제와 관리 및 감독

제32조

직업안전보건환경 분야 운영에 대한 통제와 관리 및 감독 목적을 위하여 사용자는 다음 각 항을 이행하도록 한다. (1) 위험성 평가를 준비한다. (2) 피고용자에게 영향을 미치는 직업 환경의 영향을 평가한 다. (3) 직업안전보건환경 분야 운영 계획과 피고용자 및 사업장 통제 계획을 작성한다. (4) 제(1)항과 제(2)항 및 제 (3)항에 따른 위험성 평가 결 과와 영향 연구, 운영 계획 및 통제 계획을 국장 또는 국장이 위임한 사람에게 제출한다. 첫번째 단락에 따른 이행의 원칙과 절차 및 조건, 이행하여야 하는 사업 유형과 사업 규모 및 이행 기간은 장관이 정하여 관보에 게재하는 바를 따르도록 한다. 첫번째 단락에 따른 이행에서 사용자는 직업안전보건환경 분야 전문가의 조언을 준수하고 결과에 대한 승인을 받아야 한다.

제33조

직업안전보건환경 분야 전문가로 활동할 사람은 이 법에 따라 국장으로부터 면허를 취득하여야 한다. 첫번째 단락에 따른 면허 신청과 면허 발급, 전문가의 자격, 면허를 취득한 전문가의 운영 감독, 면허 갱신, 면허대체증서 발급 및 면허 사용 정지와 취소는 부령에서 정하는 원칙과 절 차 및 조건을 따르도록 한다. 제12조를 직업안전보건환경 분야 전문가 면허 신청에 준용하도록 한다.

제34조

어떤 사업체에서 중대한 사고가 발생하거나 피고용자가 업무 상 위험에 처한 경우, 사용자는 다음 각 항의 조치를 취하도록 한다. (1) 피고용자가 사망한 경우, 사용자는 전화나 팩스 또는 충분한 상세 사항을 포함하는 기타 방법으로 안전조사관에게 즉시 알리도록 하며, 사용자가 사망한 날부터 7일 이내에 서면으로 상세 사항 및 사유를 신고하도록 한다. (2) 화재나 폭발, 화학물질 누 출 또는 기타 중대한 사고로 인하여 사업장이 피해를 입거나, 생산을 중지하여야 하거나, 사업장에서 위험에 처하거나 피해를 입은 사람이 있는 경우, 사용자는 전화나 팩스 또는 기타 방법으로 안전조사관에게 즉시 알리도록 하며, 사고가 발생한 날부터 7일 이내에 발생한 사고의 원인과 피해, 해결 및 예방 방법을 기재 하여 서면으로 신고하도록 한다. (3) 보상금 관련 법률에 따라 위험에 처하거나 질병에 걸린 피고용자가 있는 경우에는 사용자가 해당 법률에 따라 사회 보장사무소에 위험 또는 질병 신고를 완료한 7일 이내에 사용자가 안전조사관에게 해당 신고서 사본을 제출하도록 한다. 첫번째 단락에 따른 서면 신고는 국장이 고시하는 바를 따르도록 하며, 안전조사관이 신고를 접수한 때에는 신속하게 조사를 실시하고 위험 예방 방법을 모색하도록 한다.

제5장 안전조사관

제35조

이 법에 따른 직무 수행에서는 안전조사관이 다음 각 항의 권 한을 갖도록 한다. (1) 업무 시간 중 또는 재해가 발생하였을 때 사용자의 사업 장이나 사무실을 방문한다. (2) 직업안전보건환경과 관련 한 근로 환경을 조사하거나 동 영상으로 기록한다. (3) 사업장의 기계 또는 장비 측량 또는 검사 도구를 사용한 다. (4) 안전과 관련한 분석을 위 하여 자재 또는 제품 샘플을 채취한다. (5) 권한의 범위 내에서 어떤 사건에 대하여 사실관계를 심 문하거나 조사하며, 관련자에 대한 소환 진술과 아울러 조사 를 실시하고 관련 증거 서류를 제출하도록 하며, 국장에게 위 험 방지 수단에 대하여 신속하 게 건의한다.

제36조

안전조사관이 사용자나 피고용자 또는 어떤 관련자가 이 법률 또는 이 법률에 따라 제정된 부령을 위반하거나 준수하지 아니하였다는 것을 발견하거나, 피고용자가 사용하는 근로 환경이나 건물, 장소, 기계 또는 장비가 피고용자에게 불안전을 야기 할 수 있다는 것을 발견하는 경우, 안전조사관은 해당자에게 30일 이내에 위반 행위에 대한 중지나, 시정, 개선 또는 올바르거나 적합하게 준수하도록 명령 할 권한을 갖도록 한다. 만약 불가피한 이유가 있다면 해당 기한 내에 이행을 완료하지 아니할 수 있으며, 안전조사관은 해당 기한의 만료일부터 1회당 30일의 기간을 2회를 초과하지 아니하여 연장할 수 있다. 필요한 경우에는 국장 또는 국장이 위임한 사람의 승인을 받은 때에 안전조사관이 임시로 기계나 장비, 건물 또는 장소에 대한 사용 중지를 명령하거나, 피고용자에게 심각한 위험을 야 기할 수 있는 물품의 전부 또는 일부를 봉인할 권한을 갖도록 한다. 안전조사관의 명령을 이행하는 기간 동안 사용자가 첫번째 단락에 따른 안전조사관의 명령에 따라 올바르게 시정한 때에는 사용자는 국장 또는 국장이 위임한 사람에게 통지하여 명령 취소를 검토하도록 한다.

제37조

사용자가 제36조에 따른 안전 조사관의 명령을 준수하지 아니 하는 경우, 만약 근로복지보호 국이 개입하여 대신 이행하여야 할 심각한 위험을 초래할 사유 가 있다면, 국장 또는 국장이 위임한 사람은 그러한 명령을 따르도록 하기 위하여 안전조사 관에게 명령하거나 다른 사람을 위임하여 시정 조치에 개입하도 록 명령할 권한을 갖도록 한다. 이와 같은 경우, 사용자는 실제 로 지출된 금액에 따라 그러한 시정 조치 비용을 납부하여야 한다. 국장 또는 국장이 위임한 사람 은 첫번째 단락에 따른 이행 전 에 사용자에게 기한 내에 안전 조사관의 명령을 준수하도록 서 면으로 경고하여야 한다. 그러한 경고장은 안전조사관의 명령 서와 함께 발부할 수도 있다. 첫번째 단락에 따른 이행에서 는 근로복지보호국이 이행 지급 금으로 기금에서 보조금을 신청 할 수 있으며, 사용자가 납부를 완료한 때에는 수납한 보조금은 기금에 상환하도록 한다.

제38조

국장은 제37조에 따른 이행 비용을 지불하지 아니한 사용자의 자산을 압수, 압류 및 경매하도록 서면 명령서를 발부할 권한을 갖도록 한다. 이와 관련하여 실제로 지출한 금액에 따라, 개입하여 시정 조치한 비용으로 처리하기 위하여 필요한 만큼의 금액에 한한다. 첫번째 단락에 따른 자산 압수 또는 압류 명령은 기한 내에 사용자가 비용을 납부하도록 서면 통보한 때에 이행할 수 있으나, 사용자가 해당 서면을 수령하고 기한 내에 납부하지 아니한 날 부터 30일 이상 경과하여야 한다. 첫번째 단락에 따른 자산 압수와 압류 및 경매 원칙과 절차 및 조건은 장관이 정하는 규칙 을 따르도록 한다. 이와 관련하여 「민사소송법전」에 따른 원칙과 절차 및 조건을 준용하도록 한다. 자산 경매로 취득한 금전은 압수와 압류 및 경매 비용을 차감 하도록 하며, 사용자가 제37조에 따라 납부하여야 하는 비용 을 지불하도록 한다. 만약 잔액이 있다면, 안전조사관은 잔액 반환 신청을 하도록 하기 위하여 통지서를 등기 우편으로 사용자에게 신속하게 송부하도록 한다. 만약 사용자가 통지서를 수령한 날부터 5년 이내에 반환 신청을 하지 아니한다면, 해당 금액은 기금에 귀속되도록 한다.

제39조

제36조를 따라 업무를 중단하거나 생산 공정을 중단하는 동안에는 사업자가 그러한 업무 중지 또는 생산 공정 중지와 관련한 피고용자에게 피고용자가 받아야 하는 임금 또는 기타 이권에 상당하는 금전을 지급하도록 한다. 다만, 그러한 피고용자 가 고의로 업무 중지 또는 생산 공정 중지의 원인이 되는 행위를 한 경우는 제외한다.

제40조

안전조사관이 제36조 첫번째 단락에 따라 명령하는 경우, 만 약 사용자나 피고용자 또는 관련자가 동의하지 아니한다면 명령을 인지한 날부터 30일 이내에 국장에게 서면으로 이의를 제기할 권리를 갖도록 하며, 국장은 이의를 접수한 날부터 30일 이내에 이의에 대한 결정을 하도록 한다. 국장의 결정은 최종적인 것이 되도록 한다. 안전조사관이 제36조 두번째 단락에 따라 명령하는 경우, 만약 사용자나 피고용자 또는 관련자가 동의하지 아니한다면 명 령을 인지한 날부터 30일 이내 에 국장에게 서면으로 이의를 제기할 권리를 갖도록 하며, 국장은 이의를 접수한 날부터 30 일 이내에 이의에 대한 결정을 하도록 한다. 국장의 결정은 최종적인 것이 되도록 한다. 이의 제기는 안전조사관의 명령에 따른 이행을 유예하지 아니한다. 다만, 경우에 따라 국장이나 위원회가 다르게 명령하는 것은 제외한다.

제41조

직무를 수행하는 경우, 안전조사관은 관련자가 요청하는 때에는 신분증을 제시하여야 한다. 안전조사관의 신분증은 장관이 고시하는 양식을 따르도록 한다.

제42조

직업안전보건환경과 관련하여 이 법에 따른 안전조사관이나 위원회 또는 법원에 제소하거나, 증인이 되거나, 증거를 제출하거나 자료를 제공하였다는 이유로 사용자가 피고용자를 해고 하거나 피고용자의 직무를 변경하는 것을 금지한다.

제43조

사용자나 피고용자 또는 관계 자가 기한 내에 제36조에 따른 안전조사관의 명령을 준수한 경 우, 사용자나 피고용자 또는 관 련자에 대한 형사 소송은 종결 되도록 한다.

제6장 직업안전보건환경기금

제44조

이 법에 따른 직업안전보건환경 부문에서의 이행에 지출하기 위한 용도로 근로복지보호국 내에 “직업안전보건환경기금”이라는 명칭의 기금 하나를 설치하도록 한다.

제45조

기금은 다음 각 항으로 구성된다. (1) 정부가 배정하는 개시 자금 (2) 보상금 관련 법률에 따른 보상기금에서 할당된 연금 기금(3) 이 법에 따른 위법 행위자 처벌로 취득한 벌금 (3) 정부 보조금 (5) 기부된 금전이나 자산 (6) 기금에서 취득한 수익 (7) 제9조와 제11조, 제13조 및 제33조에 따른 허가증 및 등록 증명서 수수료 (8) 기금의 금전 또는 자산에서 발생한 이자 (9) 기타 소득

제46조

기금은 다음 각 항의 사업에 사용하도록 한다. (1) 직업안전보건환경기금운영 위원회의 승인을 통하여 직업 안전보건환경 증진 캠페인 및 직업안전보건환경 개발과 개선 및 운영에 사용한다. (2) 직업안전보건환경 부문 진흥과 연구 지원 및 개발 이행 프로젝트 또는 계획을 제출하는 정부기관이나 협회, 재단, 민간 단체 또는 개인을 지원하 고 보조하는 데에 사용한다. (3) 기금 운영 및 제30조에따른 비용으로 사용한다. (4) 적합성에 따라 직업안전보건환경진흥원의 연간 운영 지원에 사용한다. (5) 불안전한 상황 개선이나 사고 및 직업병 예방을 위하여 사용자에게 대출을 제공한다. (6) 제37조에 따른 이행에 대 한 선급금으로 사용한다. 제(1)항과 제(2)항, 제(3)항, 제 (4)항, 제(5)항 및 제(6)항에 따른 이행은 직업안전보건환경기 금운영위원회가 규정하는 원칙과 절차 및 조건을 따르도록 하 며, 기금의 연간 수익의 75퍼센 트를 초과하지 아니하는 기금의 수익은 제(1)항과 제(2)항 및 제 (3)항에 따른 비용으로 사용할 수 있다.

제47조

제45조에 따라 취득한 기금의 금전 및 자산은 세입으로 재무 부에 송금할 필요가 없다.

제48조

근로복지보호국장을 위원장으로 하고, 재무부 대표와 사회보 장사무처 대표, 예산실 대표 및 장관이 임명하는 1명의 적격자 와 각 5인의 사용자측 대표 및 피고용자측 대표를 위원으로 하 여 구성되는 “직업안전보건환경 기금기금운영위원회”라는 명칭 의 위원회 하나를 갖추도록 한 다. 장관이 임명하는 근로복지보호 국 공무원이 간사가 되도록 한 다. 첫번째 단락에 따른 사용자측 대표 및 피고용자측 대표 참여 는 남녀 모두의 참여를 고려하 여 장관이 고시하는 원칙과 절 차 및 조건을 따르도록 한다.

제49조

제26조와 제27조, 제28조 첫 번째 단락과 세번째 단락 및 네 번째 단락을 직업안전보건환경 기금운영위원회의 재임과 이임 및 회의에 적용하도록 한다. 또 한, 제29조를 직업안전보건환경 기금운영위원회의 소위원회 임 명에 준용하도록 한다.

제50조

직업안전보건환경기금운영위원회는 다음 각 항의 권한과 직무를 담당하도록 한다. (1) 기금 관리와 처리 및 운영 을 담당한다. (2) 직업안전보건환경 부문의 운영을 위한 지원 및 보조와 대출 또는 선급금 용도의 기금 배정을 담당한다. (3) 재무부의 승인을 통하여 기금의 유지 및 기금의 수익 추구와 관련한 규칙을 정한다. (4) 지원금 및 보조금 제공과 지원금 및 보조금 신청, 선급금 승인, 선급금 신청, 대출 및 기금으로 상환하는 것과 관련한 원칙과 절차 및 조건을 설정한다. (5) 이 법 또는 기타 법률에서 직업안전보건환경기금운영위원 회의 권한과 직무로 규정하거 나 장관이 위임하는 바에 따른 기타 업무를 수행한다.

제51조

직업안전보건환경위원회기금운영위원회는 검증과 인증 및 위원회 제출을 위하여 회계연도 마지막 날부터 120일 이내에 전년도 대차대조표와 기금 취득 및 지출 보고서를 감사원에 제출하도록 한다. 해당 대차대조표와 기금 취득 및 지출 보고서는 위원회가 장관에게 제출하도록 하며, 장관은 내각에 제출하여 알리고, 관보에 게재하도록 조치를 하도록 한다.

제7장 직업안전보건환경진흥원

제52조

직업안전보건환경진흥원은 다음 각 항의 권한과 직무를 담당 하도록 한다. (1) 직업안전보건환경 관련 문제에 대하여 지원하고 해결한다. (2) 직업안전보건환경 촉진을 위한 기준 설정을 위한 개발 및 지원을 한다. (3) 정부 및 민간의 직업안전보건환경 분야 기관에 대한 조치와 촉진 및 지원을 실시하고 공동으로 업무를 진행한다. (4) 직업안전보건환경 촉진과 관련하여 인재 개발 분야 및 학술 분야 연구를 주선한다. (5) 부령에서 정하는 바에 따라 기타 권한과 직무를 담당한다. 노동부가 장관의 관리 및 감독 하에서 이 법의 시행일부터 1년 이내에 직업안전보건환경진흥원을 설립하도록 한다.

제8장 벌칙

제53조

제8조에 따라 제정되는 부령에서 정하는 기준을 위반하거나 준수하지 아니하는 사용자는 1년 이하의 금고형 또는 40만바트 이하의 벌금형에 처하거나, 금고형과 벌금형을 병과한다.

제54조

증거 서류나 보고서 인증 또는 검증에서 허위 내용을 기재하는, 제8조 두번째 단락에 따라 제정되는 부령에 의거한 증거 서류나 보고서 인증 또는 검증 책임자는 6개월 이하의 금고형 또는 20만바트 이하의 벌금형에 처하거나, 금고형과 벌금형을 병과한다.

제55조

제9조에 따라 등록하지 아니하 거나, 제11조에 따라 허가증을 취득하지 아니하고, 위험성을 측정 또는 조사, 검사, 인증하거 나, 교육 또는 조언을 제공하는 사람은 6개월 이하의 금고형 또 는 20만바트 이하의 벌금형에 처하거나, 금고형과 벌금형을 병과한다.

제56조

제13조나 제16조 또는 제32조 를 준수하지 아니하는 사용자는 6개월 이하의 금고형 또는 20 만바트 이하의 벌금형에 처하거나, 금고형과 벌금형을 병과한다.

제57조

제14조 또는 제34조를 준수하지 아니하는 사용자는 5만바트 이하의 벌금형에 처한다.

제58조

제15조 또는 제17조를 준수하지 아니하는 사용자는 3개월 이하의 금고형 또는 10만바트 이하의 벌금형에 처하거나, 금고형과 벌금형을 병과한다.

제59조

제18조 첫번째 단락을 준수하지 아니하는 사용자는 1년 이하의 금고형 또는 40만바트 이하의 벌금형에 처하거나, 금고형과 벌금형을 병과한다.

제60조

제18조 두번째 단락을 준수하지 아니하는 사람은 3개월 이하의 금고형 또는 10만바트 이하의 벌금형에 처하거나, 금고형과 벌금형을 병과한다.

제61조

정당한 이유 없이 제19조에 따른 사용자의 이행을 방해하거나, 안전조사관 또는 제37조 첫번째 단락에 따라 위임을 받은 사람의 직무 수행을 방해하는 사람은 6개월 이하의 금고형 또는 20만바트 이하의 벌금형에 처하거나, 금고형과 벌금형을 병과한다.

제62조

제22조 첫번째 단락 또는 제 23조를 준수하지 아니하는 사람은 3개월 이하의 금고형 또는 10만바트 이하의 벌금형에 처하거나, 금고형과 벌금형을 병과 한다

제63조

제33조에 따른 허가증을 취득하지 아니하고 직업안전보건환경 분야 전문가로 활동하는 사람은 6개월 이하의 금고형 또는 20만바트 이하의 벌금형에 처하거나, 금고형과 벌금형을 병과 한다.

제64조

제35조 또는 제26조 두번째 단락에 따른 안전조사관의 직무 수행을 방해하거나 편의를 제공하지 아니하는 사람은 6개월 이하의 금고형 또는 20만바트 이하의 벌금형에 처하거나, 금고형과 벌금형을 병과한다.

제65조

제36조 첫번째 단락에 따른 안전조사관의 명령을 위반하거나 준수하지 아니하는 사람은 6개월 이하의 금고형 또는 20만바트 이하의 벌금형에 처하거나, 금고형과 벌금형을 병과한다.

제66조

제36조 두번째 단락에 따라 안전조사관의 명령에 따른 수행 기간 동안 안전조사관이 사용 중지 명령을 하거나, 봉인한 물품을 다시 사용하기 위한 위반이나 어떠한 행위를 하는 사람은 2년 이하의 금고형 또는 80 만바트 이하의 벌금형에 처하거나, 금고형과 벌금형을 병과하며, 명령을 이행할 때까지 하루에 5천바트 이하의 가산금을 부과한다.

제67조

제39조를 준수하지 아니하는 사용자는 1회에 5만바트 이하의 벌금형에 처한다.

제68조

제42조를 위반하는 사용자는 6개월 이하의 금고형 또는 20만바트 이하의 벌금형에 처하거나, 금고형과 벌금형을 병과한다.

제69조

위법 행위자가 법인인 경우, 만약 그러한 법인의 위법 행위가 어떠한 사람의 지시 또는 행위로 인하여 발생하거나, 상무 이사 또는 그러한 법인의 운영에 대한 책임이 있는 책임자가 반드시 행하여야 하는 책임인 지시 또는 행위를 하지 아니하여 발생한다면, 해당자는 그러한 위법 행위에 대하여 규정한바에 따라 처벌된다.

제70조

이 법에 따른 직무 수행으로 인하여 취득하거나 사전 인지한, 통상적으로 사용자가 공개하지 아니하고 비밀을 유지하는 사실관계인 사용자의 업무 관련 사실관계를 공개하는 사람은 1개월 이하의 금고형 또는 4만바트 이하의 벌금형에 처하거나, 금고형과 벌금형을 병과한다. 다만, 이 법의 이익이나 근로보호 또는 근로관계의 이익이나 사건 조사 또는 재판을 위한 공무 집행에 따른 공개인 것은 제외한다.

제71조

형량이 1년 이하의 금고형 또 는 40만바트 이하의 벌금형에 해당하는 이 법에 따른 모든 위법 행위에 관하여, 만약 다음 각 항의 어느 하나에 해당하는 담당관이 금고형에 처하지 아니 하여야 하거나 기소되지 아니하여야 한다고 판단한다면, 다음과 같은 사람에게 조정권을 갖도록 한다. (1) 방콕에서 발생한 위법 행위에 대해서는 국장 또는 국장 이 위임한 사람 (2) 기타 도에서 발생한 위법 행위에 대해서는 도지사 또는 도지사가 위임한 사람 수사가 진행되는 경우, 만약 수사관이 어떤 사람에 대하여 첫번째 단락에 의거하여 담당관 이 조정권을 가진 위법 행위를 하였다는 것을 적발하였으며, 해당자가 조정에 동의한다면, 수사관은 해당자가 조정 동의 의사를 표시한 날부터 7일 이내에 경우에 따라 수사관이나 도지사에게 사건을 회부하도록 한다. 위법 행위자가 조정일부터 30일 이내에 조정된 금액에 따라 과태료를 납부한 때에는 「형사 소송법전」에 따라 사건이 종결 된 것으로 보도록 한다. 만약 위법행위자가 조정에 동의하지 아니하거나, 동의하였으나 세번째 단락에 따른 기한 내에 과태료를 납부하지 아니한다면, 계속하여 법적 절차를 집행하도록 한다.

제72조

제66조에 따른 위법 행위가 만약 국장과 경찰청창 또는 대리인 및 검찰총장 또는 대리인으로 구성되는 조정위원회가 위법 행위자에 대하여 금고형에 처하지 아니하여야 하거나, 기소되지 아니하여야 한다고 판단한다면, 조정권을 갖도록 하고, 제 71조 두번째 단락과 세번째 단락 및 네번째 단락을 준용하도 록 한다.

경과 규정

제73조

초기에는 이 법의 시행일에 재임 중인 「1998년 근로보호 법」에 따른 직업안전보건환경 위원회가 이 법의 시행일부터 180일을 초과하지 아니하여야 하는 이 법에 따른 위원회 임명 이 있을 때까지 이 법에 따른 위원회 직무를 수행하도록 한다.

제74조

이 법에 따른 집행을 위한 부령이나 고시 또는 규칙이 아직 제정되지 아니한 동안에는 이 법에 따른 집행을 위하여 「1988년 근로보호법」의 제8조의 내용에 따라 제정된 부령을 준용하도록 한다.

부서 아피씻 웨차치와 총리

수수료

(1) 직업안전보건환경 분야 서비스 제공 허가증 1부당 20,000바트 (2) 직업안전보건환경 분야 전문가 면허증 1부당 5,000바트 (3) 제9조 및 제13조에 따른 인사 등록 증명서 1부당 5,000바트 (4) 허가증대체증서 1부당 500바트 (5) 등록증명서대체증명서 1부당 500바트 (6) 허가증 또는 증명서 기간 연장 해당 허가증 또는 증명서의 1회 등록 수수료와 동일