「민상법전」
• 국 가 ‧ 지 역: 태국 • 제 정 일: 1926년 1월 1일 • 최종 개정일: 2015년 10월 31일(일부개정)
เมื่อบุคคลใดตาย มรดกของบุคคลนั้นตกทอด แก่ทายาท ทายาทอาจเสียไปซึ่งสิทธิในมรดกได้แต่โดย บทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี้หรือ กฎหมายอื่น
ภายใต้บังคับของบทบัญญัติแห่งประมวล กฎหมายนี้ กองมรดกของผู้ตายได้แก่ทรัพย์สิน ทุกชนิดของผู้ตาย ตลอดทั้งสิทธิหน้าที่และ ความรับผิดต่าง ๆ เว้นแต่ตามกฎหมายหรือว่า โดยสภาพแล้ว เป็นการเฉพาะตัวของผู้ตายโดย แท
ทายาทไม่จ าต้องรับผิดเกินกว่าทรัพย์มรดกที่ ตกทอดได้แก่ตน
เมื่อบุคคลใดต้องถือว่าถึงแก่ความตายตาม ความในมาตรา ๖๒ แห่งประมวลกฎหมายนี้ มรดกของบุคคลนั้นตกทอดแก่ทายาท ถ้าพิสูจน์ได้ว่าบุคคลนั้นยังคงมีชีวิตอยู่ หรือ ตายในเวลาอื่นผิดไปจากเวลาดังระบุไว้ใน ค าสั่งที่สั่งให้เป็นคนสาบสูญ ให้ใช้บทบัญญัติ มาตรา ๖๓ แห่งประมวลกฎหมายนี้บังคับแก่ ทายาทของบุคคลนั้น [เลขมาตรา ๖๒ มาตรา ๖๓ แก้ไขเพิ่มเติมโดย มาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ บทบัญญัติบรรพ ๑ แห่งประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ที่ได้ตรวจช าระใหม่ พ.ศ. ๒๕๓๕]
กองมรดกย่อมตกทอดแก่ทายาทโดยสิทธิตาม กฎหมายหรือโดยพินัยกรรม ทายาทที่มีสิทธิตามกฎหมาย เรียกว่า “ทายาท โดยธรรม” ทายาทที่มีสิทธิตามพินัยกรรม เรียกว่า “ผู้รับ พินัยกรรม”
บุคคลธรรมดาจะเป็นทายาทได้ก็ต่อเมื่อมี สภาพบุคคลหรือสามารถมีสิทธิได้ตามมาตรา ๑๕ แห่งประมวลกฎหมายนี้ ในเวลาที่เจ้า มรดกถึงแก่ความตาย เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี้ ให้ถือว่าเด็กที่เกิด มารอดอยู่ภายในสามร้อยสิบวันนับแต่เวลาที่ เจ้ามรดกถึงแก่ความตายนั้น เป็นทารกใน ครรภ์มารดาอยู่ในเวลาที่เจ้ามรดกถึงแก่ความ ตาย
ทายาทคนใดยักย้าย หรือปิดบังทรัพย์มรดก เท่าส่วนที่ตนจะได้หรือมากกว่านั้นโดยฉ้อฉล หรือรู้อยู่ว่า ตนท าให้เสื่อมประโยชน์ของ ทายาทคนอื่น ทายาทคนนั้นต้องถูกก าจัดมิให้ ได้มรดกเลย แต่ถ้าได้ยักย้ายหรือปิดบังทรัพย์ มรดกน้อยกว่าส่วนที่ตนจะได้ ทายาทคนนั้น ต้องถูกก าจัดมิให้ได้มรดกเฉพาะส่วนที่ได้ยัก ย้ายหรือปิดบังไว้นั้น มาตรานี้มิให้ใช้บังคับแก่ผู้รับพินัยกรรม ซึ่ง ผู้ตายได้ท าพินัยกรรมยกทรัพย์สินให้เฉพาะสิ่ง เฉพาะอย่าง ในอันที่จะได้รับทรัพย์สินนั้น
บุคคลดังต่อไปนี้ต้องถูกก าจัดมิให้รับมรดกฐาน เป็นผู้ไม่สมควร คือ
การถูกก าจัดมิให้รับมรดกนั้นเป็นการเฉพาะตัว ผู้สืบสันดานของทายาทที่ถูกก าจัดสืบมรดก ต่อไปเหมือนหนึ่งว่าทายาทนั้นตายแล้ว แต่ใน ส่วนทรัพย์สินซึ่งผู้สืบสันดานได้รับมรดกมา เช่นนี้ ทายาทที่ว่านั้นไม่มีสิทธิที่จะจัดการและ ใช้ดังที่ระบุไว้ในบรรพ ๕ ลักษณะ ๒ หมวด ๓ แห่งประมวลกฎหมายนี้ ในกรณีเช่นนั้นให้ใช้ มาตรา ๑๕๔๘ บังคับโดยอนุโลม
เจ้ามรดกจะตัดทายาทโดยธรรมของตนคนใดมิ ให้รับมรดกก็ได้แต่ด้วยแสดงเจตนาชัดแจ้ง
การแสดงเจตนาตัดมิให้รับมรดกนั้นจะถอน เสียก็ได้ ถ้าการตัดมิให้รับมรดกนั้นได้ท าโดยพินัยกรรม จะถอนเสียได้ก็แต่โดยพินัยกรรมเท่านั้น แต่ถ้า การตัดมิให้รับมรดกได้ท าเป็นหนังสือมอบไว้ แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ การถอนจะท าตามแบบ ใดแบบหนึ่งดังบัญญัติไว้ในมาตรา ๑๖๐๘ (๑) หรือ (๒) ก็ได
ถ้ามรดกตกทอดแก่ผู้เยาว์ หรือบุคคลวิกลจริต หรือบุคคลผู้ไม่สามารถจะจัดท าการงานของ ตนเองได้ตามความหมายแห่งมาตรา ๓๒ แห่ง ประมวลกฎหมายนี้ และบุคคลนั้นยังไม่มี ผู้แทนโดยชอบธรรม หรือผู้อนุบาล หรือผู้ พิทักษ์ เมื่อผู้มีส่วนได้เสีย หรือพนักงานอัยการ ร้องขอ ก็ให้ศาลตั้งผู้ปกครอง ผู้อนุบาล หรือผู้ พิทักษ์ แล้วแต่กรณี [เลขมาตรา ๓๒ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติบรรพ ๑ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ได้ ตรวจช าระใหม่ พ.ศ. ๒๕๓๕]
ทายาทซึ่งเป็นผู้เยาว์ บุคคลวิกลจริต หรือ บุคคลผู้ไม่สามารถจะจัดท าการงานของตนเอง ได้ตามความหมายแห่งมาตรา ๓๒ แห่ง ประมวลกฎหมายนี้ จะท าการดังต่อไปนี้ไม่ได้ เว้นแต่จะได้รับความยินยอมของบิดามารดา ผู้ปกครอง ผู้อนุบาล หรือผู้พิทักษ์ แล้วแต่กรณี และได้รับอนุมัติจากศาลแล้วคือ
การสละมรดกนั้น ต้องแสดงเจตนาชัดแจ้งเป็น หนังสือมอบไว้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ หรือท า เป็นสัญญาประนีประนอมยอมความ
การสละมรดกนั้น จะท าแต่เพียงบางส่วน หรือ ท าโดยมีเงื่อนไข หรือเงื่อนเวลาไม่ได้ การสละมรดกนั้น จะถอนเสียมิได
ถ้าทายาทสละมรดกด้วยวิธีใดโดยที่รู้อยู่ว่าการ ที่ท าเช่นนั้นจะท าให้เจ้าหนี้ของตนเสียเปรียบ เจ้าหนี้มีสิทธิที่จะร้องขอให้เพิกถอนการสละ มรดกนั้นเสียได้ แต่ความข้อนี้มิให้ใช้บังคับ ถ้า ปรากฏว่าในขณะที่สละมรดกนั้น บุคคลซึ่งเป็น ผู้ได้ลาภงอกแต่การนั้นมิได้รู้เท่าถึงข้อความ จริงอันเป็นทางให้เจ้าหนี้ต้องเสียเปรียบนั้นด้วย แต่หากกรณีเป็นการสละมรดกโดยเสน่หา เพียงแต่ทายาทผู้สละมรดกเป็นผู้รู้ฝ่ ายเดียว เท่านั้นก็พอแล้ว ที่จะขอเพิกถอนได้ เมื่อได้เพิกถอนการสละมรดกแล้ว เจ้าหนี้จะ ร้องขอให้ศาลสั่ง เพื่อให้ตนรับมรดกแทนที่ ทายาทและในสิทธิของทายาทนั้นก็ได้ ในกรณีเช่นนี้ เมื่อได้ช าระหนี้ของทายาทนั้น ให้แก่เจ้าหนี้แล้ว ถ้าส่วนของทายาทนั้นยังมี เหลืออยู่อีก ก็ให้ได้แก่ผู้สืบสันดานของทายาท นั้น หรือทายาทอื่นของเจ้ามรดก แล้วแต่กรณ
การที่ทายาทสละมรดกนั้น มีผลย้อนหลังไปถึง เวลาที่เจ้ามรดกตาย เมื่อทายาทโดยธรรมคนใดสละมรดก ผู้สืบสันดานของทายาทคนนั้นสืบมรดกได้ตาม สิทธิของตน และชอบที่จะได้รับส่วนแบ่งเท่ากับ ส่วนแบ่งที่ผู้สละมรดกนั้นจะได้รับ แต่ ผู้สืบสันดานนั้นต้องไม่ใช่ผู้ที่บิดามารดา ผู้ปกครอง หรือผู้อนุบาล แล้วแต่กรณี ได้บอก สละมรดกโดยสมบูรณ์ในนามของผู้สืบสันดาน นั้น
ถ้าผู้สืบสันดานของผู้สละมรดกได้มรดกมา ดังกล่าวไว้ในมาตรา ๑๖๑๕ แล้ว ผู้ที่ได้สละ มรดกนั้นไม่มีสิทธิในส่วนทรัพย์สินอัน ผู้สืบสันดานของตนได้รับมรดกมา ในอันที่จะ จัดการและใช้ดังที่ระบุไว้ในบรรพ ๕ ลักษณ๒ หมวด ๓ แห่งประมวลกฎหมายนี้ และให้ใช้ มาตรา ๑๕๔๘ บังคับโดยอนุโลม
ผู้รับพินัยกรรมคนใดสละมรดก ผู้นั้นรวมตลอด ทั้งผู้สืบสันดานไม่มีสิทธิจะรับมรดกที่ได้สละ แล้วนั้น
ถ้าทายาทโดยธรรมผู้ที่ได้สละมรดกไม่มี ผู้สืบสันดานที่จะรับมรดกได้ หรือผู้รับ พินัยกรรมได้สละมรดก ให้ปันส่วนแบ่งของผู้ที่ ได้สละมรดกนั้น ๆ แก่ทายาทอื่นของเจ้ามรดก ต่อไป
้ใดจะสละหรือจ าหน่ายจ่ายโอนโดยประการ ใด ซึ่งสิทธิอันหากจะมีในภายหน้าในการสืบมรดกผู้ที่ยังมีชีวิตอยู่นั้นไม่ได้
ถ้าผู้ใดตายโดยไม่ได้ท าพินัยกรรมไว้หรือท า พินัยกรรมไว้แต่ไม่มีผลบังคับได้ ให้ปันทรัพย์ มรดกทั้งหมดแก่ทายาทโดยธรรมของผู้ตายนั้น ตามกฎหมาย ถ้าผู้ใดตายโดยได้ท าพินัยกรรมไว้ แต่ พินัยกรรมนั้นจ าหน่ายทรัพย์หรือมีผลบังคับได้ แต่เพียงบางส่วนแห่งทรัพย์มรดก ให้ปันส่วนที่ มิได้จ าหน่ายโดยพินัยกรรม หรือส่วนที่ พินัยกรรมไม่มีผลบังคับให้แก่ทายาทโดยธรรม ตามกฎหมาย
เว้นแต่ผู้ท าพินัยกรรมจะได้แสดงเจตนาก าหนด ไว้ในพินัยกรรมเป็นอย่างอื่น แม้ทายาทโดย ธรรมคนใดจะได้รับทรัพย์สินอย่างหนึ่งอย่างใด ตามพินัยกรรม ทายาทคนนั้นก็ยังมีสิทธิที่จะ เรียกเอาส่วนโดยธรรมของตนจากทรัพย์มรดก ส่วนที่ยังไม่ได้จ าหน่ายโดยพินัยกรรมจนเต็ม อีกก็ได้
พระภิกษุนั้น จะเรียกร้องเอาทรัพย์มรดกใน ฐานะที่เป็นทายาทโดยธรรมไม่ได้ เว้นแต่จะได้ สึกจากสมณเพศมาเรียกร้องภายในก าหนด อายุความตามมาตรา ๑๗๕๔ แต่พระภิกษุนั้น อาจเป็นผู้รับพินัยกรรมได้
ทรัพย์สินของพระภิกษุที่ได้มาในระหว่างเวลาที่ อยู่ในสมณเพศนั้น เมื่อพระภิกษุนั้นถึงแก่ มรณภาพให้ตกเป็นสมบัติของวัดที่เป็น ภูมิล าเนาของพระภิกษุนั้น เว้นไว้แต่พระภิกษุ นั้นจะได้จ าหน่ายไปในระหว่างชีวิตหรือโดย พินัยกรรม
ทรัพย์สินใดเป็นของบุคคลก่อนอุปสมบทเป็น พระภิกษุ ทรัพย์สินนั้นหาตกเป็นสมบัติของวัด ไม่ และให้เป็นมรดกตกทอดแก่ทายาทโดย ธรรมของบุคคลนั้น หรือบุคคลนั้นจะจ าหน่าย โดยประการใดตามกฎหมายก็ได้
ถ้าผู้ตายเป็นผู้สมรสแล้ว การคิดส่วนแบ่งและ การปันทรัพย์สินระหว่างผู้ตายกับคู่สมรสที่ยังมี ชีวิตอยู่นั้นให้เป็นไปดังนี้
เมื่อได้ปฏิบัติตามมาตรา ๑๖๒๕ (๑) แล้ว ให้ คิดส่วนแบ่งทรัพย์มรดกระหว่างทายาทโดย ธรรม ดังต่อไปนี้
บุตรนอกกฎหมายที่บิดาได้รับรองแล้วและบุตร บุญธรรมนั้น ให้ถือว่าเป็นผู้สืบสันดาน เหมือนกับบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย ตาม ความหมายแห่งประมวลกฎหมายนี้
สามีภริยาที่ร้างกัน หรือแยกกันอยู่โดยยังมิได้ หย่าขาดจากกันตามกฎหมาย มิได้สิ้นไปซึ่ง สิทธิโดยธรรมในการสืบมรดกซึ่งกันและกัน
ทายาทโดยธรรมมีหกล าดับเท่านั้น และภายใต้ บังคับแห่งมาตรา ๑๖๓๐ วรรค ๒ แต่ละล าดับ มีสิทธิได้รับมรดกก่อนหลังดังต่อไปนี้คือ
ตราบใดที่มีทายาทซึ่งยังมีชีวิตอยู่ หรือมีผู้รับ มรดกแทนที่ยังไม่ขาดสาย แล้วแต่กรณีใน ล าดับหนึ่งๆ ที่ระบุไว้ในมาตรา ๑๖๒๙ ทายาทผู้ที่อยู่ในล าดับถัดลงไปไม่มีสิทธิใน ทรัพย์มรดกของผู้ตายเลย แต่ความในวรรคก่อนนี้มิให้ใช้บังคับในกรณี เฉพาะที่มีผู้สืบสันดานคนใดยังมีชีวิตอยู่หรือมี ผู้รับมรดกแทนที่กัน แล้วแต่กรณีและมีบิดา มารดายังมีชีวิตอยู่ ในกรณีเช่นนั้นให้บิดา มารดาได้ส่วนแบ่งเสมือนหนึ่งว่าเป็นทายาทชั้น บุตร
ในระหว่างผู้สืบสันดานต่างชั้นกันนั้น บุตรของ เจ้ามรดกอันอยู่ในชั้นสนิทที่สุดเท่านั้นมีสิทธิรับ มรดก ผู้สืบสันดานที่อยู่ในชั้นถัดลงไปจะรับ มรดกได้ก็แต่โดยอาศัยสิทธิในการรับมรดก แทนที่
ภายใต้บังคับแห่งมาตรา ๑๖๒๙ วรรคสุดท้าย การแบ่งส่วนมรดกของทายาทโดยธรรมใน ล าดับญาติให้เป็นไปตามบทบัญญัติในส่วนที่ ๑ แห่งหมวดนี้
ทายาทโดยธรรมในล าดับเดียวกัน ในล าดับ หนึ่งๆ ที่ระบุไว้ในมาตรา ๑๖๒๙ นั้น ชอบที่จะ ได้รับส่วนแบ่งเท่ากัน ถ้าในล าดับหนึ่งมีทายาท โดยธรรมคนเดียว ทายาทโดยธรรมคนนั้นมี สิทธิได้รับส่วนแบ่งทั้งหมด
ระหว่างผู้สืบสันดานที่รับมรดกแทนที่กันใน ส่วนแบ่งของสายหนึ่งๆ ตามบทบัญญัติใน ลักษณะ ๒ หมวด ๔ นั้น ให้ได้รับส่วนแบ่ง มรดกดังนี
ล าดับและส่วนแบ่งของคู่สมรสที่ยังมีชีวิตอยู่ใน การรับมรดกของผู้ตายนั้น ให้เป็นไปดังต่อไปน
ถ้าเจ้ามรดกมีภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายก่อนใช้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ ๕ หลายคนยังมีชีวิตอยู่ ภริยาเหล่านั้นทั้งหมด รวมกันมีสิทธิได้รับมรดกตามล าดับชั้นและ ส่วนแบ่งดังระบุไว้ในมาตรา ๑๖๓๕ แต่ใน ระหว่างกันเองให้ภริยาน้อยแต่ละคนมีสิทธิ ได้รับมรดกกึ่งส่วนที่ภริยาหลวงจะพึงได้รับ
้าคู่สมรสฝ่ ายใดที่ยังมีชีวิตอยู่เป็นผู้รับ ประโยชน์ตามสัญญาประกันชีวิต คู่สมรสฝ่ าย นั้นมีสิทธิรับจ านวนเงินทั้งหมดที่ได้ตกลงไว้กับ ผู้รับประกันภัย แต่จ าต้องเอาจ านวนเบี้ย ประกันภัย เพียงเท่าที่พิสูจน์ได้ว่าสูงกว่า จ านวนเงินที่ผู้ตายจะพึงส่งใช้เป็นเบี้ย ประกันภัยได้ตามรายได้หรือฐานะของตนโดย ปกติไปชดใช้สินเดิมของคู่สมรสอีกฝ่ ายหนึ่ง หรือสินสมรส แล้วแต่กรณี ถึงอย่างไรก็ดีจ านวนเงินเบี้ยประกันภัยซึ่งจะ พึงส่งคืนตามบทบัญญัติข้างต้นนั้น รวมทั้งสิ้น ต้องไม่เกินจ านวนเงินที่ผู้รับประกันภัยได้ช าระ ให้
เมื่อคู่สมรสทั้งสองฝ่ ายได้ลงทุนออกเงินในการท าสัญญาและตามสัญญานั้นทั้งสองฝ่ าย จะต้องได้รับเงินปีในขณะที่ยังมีชีวิตอยู่ร่วมกัน และเมื่อฝ่ ายหนึ่งฝ่ ายใดตาย ฝ่ ายที่ยังมีชีวิตอยู่ ยังจะต้องได้รับเงินปีต่อไปตลอดอายุฝ่ ายที่ยัง มีชีวิตอยู่จ าต้องชดใช้สินเดิมของอีกฝ่ ายหนึ่ง หรือสินสมรสแล้วแต่กรณีสุดแต่ว่าได้เอาเงิน สินเดิม หรือสินสมรสไปใช้ในการลงทุนนั้น เงิน ที่จะต้องชดใช้สินเดิมหรือสินสมรสดังว่านี้ให้ ชดใช้เท่าจ านวนเงินซึ่งผู้จ่ายเงินรายปีจะเรียก ให้ใช้เพิ่มขึ้นเป็นพิเศษ เพื่อผู้จ่ายจะได้จ่ายเงิน รายปีให้แก่คู่สมรสฝ่ ายที่ยังมีชีวิตอยู่นั้นต่อไป
ถ้าบุคคลใดซึ่งจะเป็นทายาทตามมาตรา ๑๖๒๙ (๑) (๓) (๔) หรือ(๖) ถึงแก่ความตาย หรือถูกก าจัดมิให้รับมรดกก่อนเจ้ามรดกตาย ถ้าบุคคลนั้นมีผู้สืบสันดานก็ให้ผู้สืบสันดานรับ มรดกแทนที่ ถ้าผู้สืบสันดานคนใดของบุคคล นั้นถึงแก่ความตายหรือถูกก าจัดมิให้รับมรดก เช่นเดียวกัน ก็ให้ผู้สืบสันดานของผู้สืบสันดาน นั้นรับมรดกแทนที่และให้มีการรับมรดกแทนที่ กันเฉพาะส่วนแบ่งของบุคคลเป็นราย ๆ สืบต่อ กันเช่นนี้ไปจนหมดสาย
เมื่อบุคคลใดต้องถือว่าถึงแก่ความตายตาม ความในมาตรา ๖๕ แห่งประมวลกฎหมายนี้ ให้มีการรับมรดกแทนที่กันได้
ถ้าบุคคลใดซึ่งจะเป็นทายาทตามมาตรา ๑๖๒๙ (๒) หรือ(๕) ถึงแก่ความตาย หรือถูก ก าจัดมิให้รับมรดกก่อนเจ้ามรดกตาย ถ้ามี ทายาทในล าดับเดียวกันยังมีชีวิตอยู่ ก็ให้ส่วน แบ่งทั้งหมดตกได้แก่ทายาทนั้นเท่านั้น ห้ามมิ ให้มีการรับมรดกแทนที่กันต่อไป
การรับมรดกแทนที่กันนั้น ให้ใช้บังคับแต่ใน ระหว่างทายาทโดยธรรม
สิทธิที่จะรับมรดกแทนที่กันนั้นได้เฉพาะแก่ ผู้สืบสันดานโดยตรง ผู้บุพการีหามีสิทธิดังนั้น ไม่
ผู้สืบสันดานจะรับมรดกแทนที่ได้ต่อเมื่อมีสิทธิ บริบูรณ์ในการรับมรดก
การที่บุคคลใดสละมรดกของบุคคลอีกคนหนึ่ง นั้น ไม่ตัดสิทธิของผู้สละที่จะรับมรดกแทนที่ บุคคลอีกคนหนึ่งนั้นในการสืบมรดกบุคคลอื่น
บุคคลใดจะแสดงเจตนาโดยพินัยกรรม ก าหนดการเผื่อตายในเรื่องทรัพย์สินของตนเอง หรือในการต่างๆอันจะให้เกิดเป็นผลบังคับได้ ตามกฎหมายเมื่อตนตายก็ได
การแสดงเจตนาก าหนดการเผื่อตายนั้นย่อมท า ได้ด้วยค าสั่งครั้งสุดท้ายก าหนดไว้ในพินัยกรรม
พินัยกรรมนั้นต้องท าตามแบบซึ่งระบุไว้ใน หมวด ๒ แห่งลักษณะน
ผู้จัดการมรดกซึ่งผู้ตายตั้งไว้ย่อมมีอ านาจและ หน้าที่ในอันที่จะจัดการท าศพของผู้ตาย เว้น แต่ผู้ตายจะได้ตั้งบุคคลอื่นไว้โดยเฉพาะให้ จัดการดังว่านั้น ถ้าผู้ตายมิได้ตั้งผู้จัดการมรดกหรือบุคคลใดไว ให้เป็นผู้จัดการท าศพ หรือทายาทมิได้ มอบหมายตั้งให้บุคคลใดเป็นผู้จัดการท าศพ บุคคลผู้ได้รับทรัพย์มรดกโดยพินัยกรรมหรือ โดยสิทธิโดยธรรมเป็นจ านวนมากที่สุด เป็นผู้มี อ านาจและตกอยู่ในหน้าที่ต้องจัดการท าศพ เว้นแต่ศาลจะเห็นเป็นการสมควรตั้งบุคคลอื่น ให้จัดการเช่นนั้น ในเมื่อบุคคลผู้มีส่วนได้เสีย คนใดคนหนึ่งร้องขอขึ้น
ค่าใช้จ่ายเกิดมีหนี้เป็นคุณแก่บุคคลใดในการ จัดการท าศพนั้น ให้เรียกเอาได้ตามบุริมสิทธิที่ ระบุไว้ในมาตรา ๒๕๓ (๒) แห่งประมวล กฎหมายนี้ ถ้าการจัดการท าศพ ต้องชักช้าไปด้วยประการ ใด ๆให้บุคคลผู้มีอ านาจตามความในมาตรา ก่อนกันเงินเป็นจ านวนอันสมควรจากสินทรัพย์ แห่งกองมรดกเพื่อใช้ในการนี้โดยให้บุคคลผู้มี ส่วนได้เสียคนใดคนหนึ่งร้องต่อศาลได้ในกรณี ที่ไม่ตกลงหรือคัดค้านการกันเงินจ านวนนั้น กรณีจะเป็นอย่างไรก็ตาม เงินค่าใช้จ่าย หรือ เงินที่กันไว้อันเกี่ยวกับการจัดการท าศพนั้น ให้ กันไว้ได้แต่เพียงจ านวนตามสมควรแก่ฐานะใน สมาคมของผู้ตาย แต่จะต้องไม่เป็นการเสื่อม เสียต่อสิทธิของเจ้าหนี้ของผู้ตาย
ภายใต้บังคับบทบัญญัติลักษณะ ๔
บุคคลผู้อยู่ในความปกครองนั้น จะท า พินัยกรรมยกทรัพย์มรดกของตนให้แก่ ผู้ปกครองหรือคู่สมรส บุพการีหรือ ผู้สืบสันดาน หรือพี่น้องของผู้ปกครองไม่ได้ จนกว่าผู้ปกครองจะได้ท าค าแถลงการณ์ ปกครองตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๑๕๗๗ และมาตราต่อๆไป แห่งประมวลกฎหมายนี้ เสร็จสิ้นแล้ว
ผู้เขียน หรือพยานในพินัยกรรมจะเป็นผู้รับ ทรัพย์ตามพินัยกรรมนั้นไม่ได้ ให้ใช้บทบัญญัติในวรรคก่อนบังคับแก่คู่สมรส ของผู้เขียนหรือพยานในพินัยกรรมด้วย พนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งได้จดข้อความแห่ง พินัยกรรมที่พยานน ามาแจ้งตามมาตรา ๑๖๖๓ ให้ถือว่าเป็นผู้เขียนพินัยกรรมตาม ความหมายแห่งมาตรานี้
ความสามารถของผู้ท าพินัยกรรมนั้นให้ พิจารณาแต่ในเวลาที่ท าพินัยกรรมเท่านั้น ความสามารถของผู้รับพินัยกรรมนั้น ให้ พิจารณาแต่ในเวลาที่ผู้ท าพินัยกรรมตาย เท่านั้น
พินัยกรรมนั้น จะท าได้ก็แต่ตามแบบใดแบบ หนึ่งดังที่บัญญัติไว้ในหมวดนี้
พินัยกรรมนั้น จะท าตามแบบดังนี้ก็ได้ กล่าวคือต้องท าเป็นหนังสือลงวัน เดือน ปี ในขณะที่ท าขึ้น และผู้ท าพินัยกรรมต้องลง ลายมือชื่อไว้ต่อหน้าพยานอย่างน้อยสองคน พร้อมกัน ซึ่งพยานสองคนนั้นต้องลงลายมือชื่อ รับรองลายมือชื่อของผู้ท าพินัยกรรมไว้ใน ขณะนั้น การขูดลบ ตก เติม หรือการแก้ไขเปลี่ยนแปลง อย่างอื่นซึ่งพินัยกรรมนั้นย่อมไม่สมบูรณ์เว้น แต่จะได้ปฏิบัติตามแบบอย่างเดียวกับการท า พินัยกรรมตามมาตราน
พินัยกรรมนั้น จะท าเป็นเอกสารเขียนเองทั้ง ฉบับก็ได้กล่าวคือผู้ท าพินัยกรรมต้องเขียน ด้วยมือตนเองซึ่งข้อความทั้งหมด วัน เดือน ปี และลายมือชื่อของตน การขูดลบ ตก เติม หรือการแก้ไขเปลี่ยนแปลง อย่างอื่นซึ่งพินัยกรรมนั้นย่อมไม่สมบูรณ์เว้น แต่ผู้ท าพินัยกรรมจะได้ท าด้วยมือตนเองและ ลงลายมือชื่อก ากับไว้ บทบัญญัติมาตรา ๙ แห่งประมวลกฎหมายนี้ มิให้ใช้บังคับแก่พินัยกรรมที่ท าขึ้นตามมาตราน
พินัยกรรมนั้น จะท าเป็นเอกสารฝ่ ายเมืองก็ได้ กล่าวคือ
การท าพินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ ายเมืองนั้น จะท านอกที่ว่าการอ าเภอก็ได้เมื่อมีการร้องขอ เช่นนั้น
พินัยกรรมนั้น จะท าเป็นเอกสารลับก็ได้ กล่าวคือ
ถ้าบุคคลผู้เป็นทั้งใบ้และหูหนวกหรือผู้ที่พูด ไม่ได้มีความประสงค์จะท าพินัยกรรมเป็นแบบ เอกสารลับ ให้ผู้นั้นเขียนด้วยตนเองบนซอง พินัยกรรมต่อหน้ากรมการอ าเภอและพยานซึ่ง ข้อความว่าพินัยกรรมที่ผนึกนั้นเป็นของตน แทนการให้ถ้อยค าดังที่ก าหนดไว้ในมาตรา ๑๖๖๐ (๓) และถ้าหากมีผู้เขียนก็ให้เขียนชื่อ กับภูมิล าเนาของผู้เขียนพินัยกรรมนั้นไว้ด้วย ให้กรมการอ าเภอจดลงไว้บนซองเป็นส าคัญว่า ผู้ท าพินัยกรรมได้ปฏิบัติตามข้อความในวรรค ก่อนแล้วแทนการจดถ้อยค าของผู้ท า พินัยกรรม
พินัยกรรมซึ่งได้ท าเป็นแบบเอกสารฝ่ ายเมือง หรือเอกสารลับนั้น กรมการอ าเภอจะเปิดเผย แก่บุคคลอื่นใดไม่ได้ในระหว่างที่ผู้ท า พินัยกรรมยังมีชีวิตอยู่และผู้ท าพินัยกรรมจะ เรียกให้กรมการอ าเภอส่งมอบพินัยกรรมนั้นแก่ ตนในเวลาใด ๆ กรมการอ าเภอจ าต้องส่งมอบ ให้ ถ้าพินัยกรรมนั้นท าเป็นแบบเอกสารฝ่ ายเมือง ก่อนส่งมอบพินัยกรรม ให้กรมการอ าเภอคัด ส าเนาพินัยกรรมไว้แล้วลงลายมือชื่อ ประทับตราต าแหน่งเป็นส าคัญ ส าเนา พินัยกรรมนั้นจะเปิดเผยแก่บุคคลอื่นใดไม่ได้ ในระหว่างที่ผู้ท าพินัยกรรมยังมีชีวิตอยู่
เมื่อมีพฤติการณ์พิเศษซึ่งบุคคลใดไม่สามารถ จะท าพินัยกรรมตามแบบอื่นที่ก าหนดไว้ได้ เช่น ตกอยู่ในอันตรายใกล้ความตาย หรือเวลา มีโรคระบาด หรือสงคราม บุคคลนั้นจะท า พินัยกรรมด้วยวาจาก็ได้ เพื่อการนี้ผู้ท าพินัยกรรมต้องแสดงเจตนา ก าหนดข้อพินัยกรรมต่อหน้าพยานอย่างน้อย สองคนซึ่งอยู่พร้อมกัน ณ ที่นั้น พยานสองคนนั้นต้องไปแสดงตนต่อกรมการ อ าเภอโดยมิชักช้าและแจ้งข้อความที่ผู้ท า พินัยกรรมได้สั่งไว้ด้วยวาจานั้น ทั้งต้องแจ้งวัน เดือน ปีสถานที่ที่ท าพินัยกรรมและพฤติการณ์ พิเศษนั้นไว้ด้วย ให้กรมการอ าเภอจดข้อความที่พยานแจ้งนั้นไว้ และพยานสองคนนั้นต้องลงลายมือชื่อไว้หรือ มิฉะนั้น จะให้เสมอกับการลงลายมือชื่อได้ก็แต่ ด้วยลงลายพิมพ์นิ้วมือโดยมีพยานลงลายมือ ชื่อรับรองสองคน
ความสมบูรณ์แห่งพินัยกรรมซึ่งท าขึ้นตาม มาตราก่อนนั้นย่อมสิ้นไปเมื่อพ้นก าหนดหนึ่ง เดือนนับแต่เวลาผู้ท าพินัยกรรมกลับมาสู่ฐานะ ที่จะท าพินัยกรรมตามแบบอื่นที่ก าหนดไว้ได้
เมื่อผู้ท าพินัยกรรมจะต้องลงลายมือชื่อตาม มาตรา ๑๖๕๖, ๑๖๕๘, ๑๖๖๐ จะให้เสมอกับ ลงลายมือชื่อได้ก็แต่ด้วยลงลายพิมพ์นิ้วมือ โดยมีพยานลงลายมือชื่อรับรองไว้ด้วยสองคน ในขณะนั้น
บทบัญญัติมาตรา ๙ วรรคสองแห่งประมวล กฎหมายนี้มิให้ใช้บังคับแก่พยานผู้ที่จะต้องลง ลายมือชื่อตามมาตรา ๑๖๕๖, ๑๖๕๘, ๑๖๖๐ [เลขมาตรา ๙ วรรคสองแก้ไขเพิ่มเติมโดย มาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ บทบัญญัติบรรพ ๑ แห่งประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ที่ได้ตรวจช าระใหม่ พ.ศ. ๒๕๓๕]
เมื่อคนในบังคับไทยจะท าพินัยกรรมใน ต่างประเทศ พินัยกรรมนั้นอาจท าตามแบบซึ่ง กฎหมายของประเทศที่ท าพินัยกรรมบัญญัติไว้ หรือตามแบบที่กฎหมายไทยบัญญัติไว้ก็ได้ เมื่อท าพินัยกรรมตามแบบที่กฎหมายไทย บัญญัติไว้อ านาจและหน้าที่ของกรมการ อ าเภอตามมาตรา ๑๖๕๘, ๑๖๖๐, ๑๖๖๑, ๑๖๖๒, ๑๖๖๓ ให้ตกแก่บุคคลดังต่อไปนี้คือ
ผู้ท าพินัยกรรมไม่จ าเป็นต้องเปิดเผยข้อความ ในพินัยกรรมนั้นให้พยานทราบ เว้นแต่ กฎหมายจะได้ระบุไว้เป็นอย่างอื่น
ในระหว่างเวลาที่ประเทศตกอยู่ในภาวะการรบ หรือการสงคราม บุคคลที่รับราชการทหารหรือ ท าการเกี่ยวข้องอยู่กับราชการทหาร จะท า พินัยกรรมตามแบบที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๑๖๕๘ มาตรา ๑๖๖๐ หรือมาตรา ๑๖๖๓ ก็ได้ ในกรณีเช่นว่านั้น ให้นายทหารหรือข้าราชการ ฝ่ ายทหารชั้นสัญญาบัตรมีอ านาจและหน้าที่ เช่นเดียวกับกรมการอ าเภอ บทบัญญัติวรรคก่อนให้น ามาใช้บังคับแก่กรณี ที่บุคคลที่รับราชการทหารหรือท าการเกี่ยวข้อง อยู่กับราชการทหารท าพินัยกรรมใน ต่างประเทศในระหว่างที่ปฏิบัติการเพื่อ ประเทศในภาวะการรบหรือการสงครามใน ต่างประเทศโดยอนุโลม และในกรณีเช่นว่านี้ ให้นายทหารหรือข้าราชการฝ่ ายทหารชั้น สัญญาบัตรมีอ านาจและหน้าที่เช่นเดียวกับ พนักงานทูตหรือกงสุลฝ่ ายไทย ถ้าผู้ท าพินัยกรรมตามความในสองวรรคก่อน นั้นป่ วยเจ็บหรือต้องบาดเจ็บ และอยู่ใน โรงพยาบาล ให้แพทย์แห่งโรงพยาบาลนั้นมี อ านาจและหน้าที่เช่นเดียวกับกรมการอ าเภอ หรือพนักงานทูต หรือกงสุลฝ่ ายไทย แล้วแต่ กรณีด้วย
บุคคลต่อไปนี้จะเป็นพยานในการท าพินัยกรรม ไม่ได้
เมื่อบุคคลใดนอกจากผู้ท าพินัยกรรมเป็น ผู้เขียนข้อความแห่งพินัยกรรม บุคคลนั้นต้อง ลงลายมือชื่อของตนทั้งระบุว่าเป็นผู้เขียน ถ้าบุคคลนั้นเป็นพยานด้วย ให้เขียนข้อความ ระบุว่าตนเป็นพยานไว้ต่อท้ายลายมือชื่อของ ตนเช่นเดียวกับพยานอื่น ๆ
ห้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กลาโหม และต่างประเทศ มีอ านาจและหน้าที่เท่าที่ เกี่ยวกับกระทรวงนั้น ๆ ที่จะออกกฎกระทรวง เพื่อให้การเป็นไปตามประมวลกฎหมายบรรพ นี้รวมทั้งก าหนดอัตราค่าฤชาธรรมเนียมอัน เกี่ยวกับการนั้น
ิทธิและหน้าที่ใด ๆอันเกิดขึ้นตามพินัยกรรม ให้มีผลบังคับเรียกร้องกันได้ตั้งแต่ผู้ท า พินัยกรรมตายเป็นต้นไป เว้นแต่ผู้ท าพินัยกรรม จะได้ก าหนดเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลาให้มีผล บังคับเรียกร้องกันได้ภายหลัง
ถ้าข้อก าหนดพินัยกรรมมีเงื่อนไขและเงื่อนไข นั้นส าเร็จเสียก่อนเวลาที่ผู้ท าพินัยกรรมตาย หากว่าเป็นเงื่อนไขบังคับก่อน ข้อก าหนด พินัยกรรมนั้นมีผลเมื่อผู้ท าพินัยกรรมตาย หาก ว่าเป็นเงื่อนไขบังคับหลังข้อก าหนดพินัยกรรม นั้นเป็นอันไร้ผล ถ้าเงื่อนไขบังคับก่อนส าเร็จภายหลังที่ผู้ท า พินัยกรรมตาย ข้อก าหนดพินัยกรรมมีผลตั้งแต่ เวลาเงื่อนไขส าเร็จ ถ้าเงื่อนไขบังคับหลังส าเร็จภายหลังที่ผู้ท า พินัยกรรมตาย ข้อก าหนดพินัยกรรมมีผลตั้งแต่ เวลาที่ผู้ท าพินัยกรรมตาย แต่ตกเป็นอันไร้ผล ในเมื่อเงื่อนไขนั้นส าเร็จ แต่ถ้าผู้ท าพินัยกรรมได้ก าหนดไว้ในพินัยกรรม ว่า ในกรณีที่กล่าวมาในสองวรรคก่อนนั้น ให้ ความส าเร็จแห่งเงื่อนไขมีผลย้อนหลังไปถึง เวลาที่ผู้ท าพินัยกรรมตาย ก็ให้เป็นไปตาม เจตนาของผู้ท าพินัยกรรมนั้
เมื่อพินัยกรรมมีเงื่อนไขบังคับก่อน ผู้รับ ประโยชน์ตามข้อความแห่งพินัยกรรมนั้นจะ ร้องต่อศาลขอให้ตั้งผู้จัดการทรัพย์สินที่ยกให้ โดยพินัยกรรมนั้นจนกว่าจะถึงเวลาที่เงื่อนไข ส าเร็จ หรือจนกว่าความส าเร็จแห่งเงื่อนไขตก เป็นอันพ้นวิสัยก็ได้ ถ้าศาลเห็นเป็นการสมควรจะตั้งผู้ร้องนั้นเป็น ผู้จัดการทรัพย์สินเสียเอง และเรียกให้ผู้ร้องนั้น วางประกันตามที่สมควรก็ได้
พินัยกรรมจะท าขึ้นโดยให้บุคคลใดตกอยู่ใน ภาระติดพันที่จะต้องก่อตั้งมูลนิธิหรือจะสั่ง จัดสรรทรัพย์สินไว้โดยตรง เพื่อประโยชน์อย่าง ใดอย่างหนึ่งตามบทบัญญัติมาตรา ๑๑๐ แห่ง ประมวลกฎหมายนี้ก็ได้ [เลขมาตรา ๑๑๐ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติบรรพ ๑ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ได้ ตรวจช าระใหม่ พ.ศ. ๒๕๓๕]
เมื่อมีพินัยกรรมก่อตั้งมูลนิธิขึ้นตามมาตราก่อน ให้เป็นหน้าที่ของทายาทหรือผู้จัดการมรดก แล้วแต่กรณีที่จะต้องร้องขอให้รัฐบาลให้ อ านาจจัดตั้งขึ้นเป็นนิติบุคคลตามมาตรา ๑๑๔ แห่งประมวลกฎหมายนี้เว้นแต่จะได้มี ข้อก าหนดไว้ในพินัยกรรมเป็นอย่างอื่น ถ้าบุคคลดังกล่าวแล้วมิได้ร้องขอให้รัฐบาลให้ อ านาจ บุคคลผู้มีส่วนได้เสียคนหนึ่งคนใดหรือ พนักงานอัยการจะเป็นผู้ร้องขอก็ได้ [เลขมาตรา ๑๑๔ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติบรรพ ๑ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ได้ ตรวจช าระใหม่ พ.ศ. ๒๕๓๕]
เมื่อมูลนิธิใดซึ่งก่อตั้งขึ้นโดยพินัยกรรมได้ตั้งขึ้น เป็นนิติบุคคลแล้ว ให้ถือว่าทรัพย์สินซึ่งผู้ท า พินัยกรรมจัดสรรไว้เพื่อการนั้น ตกเป็นของนิติ บุคคลนั้นตั้งแต่เวลาซึ่งพินัยกรรมมีผล เว้นแต่ จะมีข้อก าหนดไว้ในพินัยกรรมเป็นอย่างอื่น
ถ้าจัดตั้งมูลนิธิขึ้นไม่ได้ตามวัตถุที่ประสงค์ให้ ทรัพย์สินตกทอดไปตามที่ระบุไว้ในพินัยกรรม ถ้าพินัยกรรมไม่ได้ระบุไว้เมื่อทายาทหรือ ผู้จัดการมรดก หรือพนักงานอัยการ หรือบุคคล ผู้มีส่วนได้เสียคนใดคนหนึ่งร้องขอให้ศาล จัดสรรทรัพย์สินนั้นให้แก่นิติบุคคลอื่นซึ่ง ปรากฏว่ามีวัตถุที่ประสงค์ใกล้ชิดที่สุดกับความ ประสงค์ของผู้ท าพินัยกรรม ถ้าหากว่าจัดสรรทรัพย์สินอย่างนี้ไม่ได้ก็ดีหรือ ว่ามูลนิธินั้นตั้งขึ้นไม่ได้เพราะเป็นการขัดต่อ กฎหมาย หรือขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือ ศีลธรรมอันดีของประชาชนก็ดีข้อก าหนด พินัยกรรมในการจัดตั้งมูลนิธินั้นเป็นอันไร้ผล
เจ้าหนี้ของผู้ท าพินัยกรรมมีสิทธิที่จะร้องขอให้ เพิกถอนข้อก าหนดพินัยกรรมซึ่งก่อตั้งมูลนิธิ นั้นได้เพียงเท่าที่ตนต้องเสียประโยชน์เนื่องแต่ การนั้น
ถ้าทรัพย์สินซึ่งเป็นวัตถุแห่งพินัยกรรมนั้นได้ สูญหาย ท าลาย หรือบุบสลายไป และ พฤติการณ์ทั้งนี้เป็นผลให้ได้ทรัพย์สินอื่นมา แทน หรือได้สิทธิเรียกร้องเอาค่าสินไหม ทดแทนทรัพย์สินนั้น ผู้รับพินัยกรรมจะเรียกให้ ส่งมอบของแทนซึ่งได้รับมานั้น หรือจะเรียกร้อง เอาค่าสินไหมทดแทนเสียเองก็ได้แล้วแต่กรณ
เมื่อพินัยกรรมท าขึ้นเป็นการปลดหนี้หรือโอน สิทธิเรียกร้อง พินัยกรรมนั้นมีผลเพียงจ านวน ซึ่งคงค้างช าระอยู่ในเวลาที่ผู้ท าพินัยกรรมตาย เว้นแต่ผู้ท าพินัยกรรมจะได้ก าหนดไว้เป็นอย่าง อื่น ถ้ามีเอกสารอันเป็นหลักฐานแห่งหนี้ที่ปลดให้ หรือสิทธิเรียกร้องที่โอนไปนั้น ก็ให้ส่งมอบแก่ ผู้รับพินัยกรรมและให้ใช้มาตรา ๓๐๓ ถึง ๓๑๓, ๓๔๐ แห่งประมวลกฎหมายนี้บังคับโดย อนุโลม แต่ถ้าผู้ท าพินัยกรรมจะต้องกระท าการ หรือด าเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งตามมาตรา นั้น ๆแล้ว บุคคลผู้ต้องจัดการตามพินัยกรรม หรือผู้รับพินัยกรรมจะกระท าการหรือ ด าเนินการนั้น ๆแทนผู้ท าพินัยกรรมก็ได้
พินัยกรรมที่บุคคลท าให้แก่เจ้าหนี้คนใดของตน นั้น ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่า มิได้ท าขึ้นเพื่อ ช าระหนี้อันค้างช าระแก่เจ้าหนี้คนนั้น
เมื่อความข้อใดข้อหนึ่งในพินัยกรรมอาจ ตีความได้เป็นหลายนัย ให้ถือเอาตามนัยที่จะ ส าเร็จผลตามความประสงค์ของผู้ท าพินัยกรรม นั้นได้ดีที่สุด
ในกรณีที่ผู้ท าพินัยกรรมได้ก าหนดผู้รับ พินัยกรรมไว้โดยคุณสมบัติที่ทราบตัวแน่นอน ได้ถ้ามีบุคคลหลายคนทรงไว้ซึ่งคุณสมบัติที่จะ เป็นผู้รับพินัยกรรมตามที่ผู้ท าพินัยกรรม ก าหนดไว้ดังนั้นได้ในกรณีที่มีข้อสงสัย ให้ถือ ว่าทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับส่วนปันเท่า ๆ กัน
อันว่าทรัสต์นั้น จะก่อตั้งขึ้นโดยตรงหรือโดย ทางอ้อมด้วยพินัยกรรมหรือด้วยนิติกรรมใด ๆ ที่มีผลในระหว่างชีวิตก็ดีหรือเมื่อตายแล้วก็ดี หามีผลไม่ เว้นแต่โดยอาศัยอ านาจตาม บทบัญญัติแห่งกฎหมายเพื่อการก่อตั้งทรัสต์ เท่านั้น
ถ้าผู้ท าพินัยกรรมประสงค์จะยกทรัพย์สินให้แก่ ผู้เยาว์หรือผู้ซึ่งศาลได้สั่งให้เป็นคนไร้ ความสามารถ หรือเสมือนไร้ความสามารถ หรือแก่ผู้ซึ่งต้องรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล เพราะเหตุวิกลจริต แต่ต้องการมอบการเก็บ รักษาและจัดการทรัพย์สินนั้นแก่บุคคลอื่น นอกจากบิดามารดา ผู้ปกครอง ผู้อนุบาล หรือ ผู้พิทักษ์ของบุคคลเช่นนั้น ผู้ท าพินัยกรรมต้อง ตั้งผู้ปกครองทรัพย์ขึ้น การตั้งผู้ปกครองทรัพย์นี้ห้ามมิให้ตั้งขึ้นเป็น เวลาเกินกว่าก าหนดแห่งการเป็นผู้เยาว์หรือ ก าหนดที่ศาลได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ หรือเสมือนไร้ความสามารถ หรือก าหนดที่ต้อง รักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล แล้วแต่กรณ
การตั้งผู้ปกครองทรัพย์นั้น ในส่วนที่เกี่ยวด้วย อสังหาริมทรัพย์หรือทรัพยสิทธิใด ๆอัน เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ย่อมไม่บริบูรณ์เว้น แต่จะได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ บทบัญญัติที่กล่าวมาในวรรคก่อนนี้ให้ใช้ บังคับแก่เรือมีระวางตั้งแต่ห้าตันขึ้นไป ทั้งแพ และสัตว์พาหนะด้วย
นอกจากบุคคลที่ระบุไว้ในมาตรา ๑๕๕๗ แห่ง ประมวลกฎหมายนี้นิติบุคคล หรือบุคคล ธรรมดาที่มีความสามารถบริบูรณ์จะรับตั้งเป็น ผู้ปกครองทรัพย์ก็ได้
ผู้ปกครองทรัพย์นั้น ย่อมตั้งขึ้นได้โดย
เว้นแต่ผู้ท าพินัยกรรมจะได้ก าหนดไว้เป็นอย่าง อื่นในพินัยกรรมผู้ปกครองทรัพย์จะท า พินัยกรรมตั้งบุคคลอื่นให้ท าการสืบแทนตนก็ ได้
เว้นแต่ผู้ท าพินัยกรรมจะได้ก าหนดไว้ใน พินัยกรรมเป็นอย่างอื่น ในส่วนที่เกี่ยวด้วย ทรัพย์สินที่ได้รับมอบไว้ผู้ปกครองทรัพย์มีสิทธิ และหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ปกครองตาม ความหมายในบรรพ ๕ แห่งประมวลกฎหมาย นี้
ผู้ท าพินัยกรรมจะเพิกถอนพินัยกรรมของตน เสียทั้งหมด หรือแต่บางส่วนในเวลาใดก็ได้
ถ้าจะเพิกถอนพินัยกรรมฉบับก่อนเสียทั้งหมด หรือแต่บางส่วนด้วยพินัยกรรมฉบับหลัง การ เพิกถอนจะสมบูรณ์ต่อเมื่อพินัยกรรมฉบับหลัง นั้นได้ท าตามแบบใดแบบหนึ่งที่กฎหมาย บัญญัติไว้
ถ้าพินัยกรรมได้ท าเป็นต้นฉบับแต่ฉบับเดียว ผู้ท าพินัยกรรมอาจเพิกถอนพินัยกรรมนั้น ทั้งหมดหรือบางส่วนได้โดยท าลายหรือขีดฆ่า เสียด้วยความตั้งใจ ถ้าพินัยกรรมได้ท าเป็นต้นฉบับหลายฉบับ การ เพิกถอนนั้นไม่บริบูรณ์เว้นแต่จะได้กระท าแก่ ต้นฉบับเหล่านั้นทุกฉบับ
ถ้าพินัยกรรมได้ท าเป็นต้นฉบับแต่ฉบับเดียว ผู้ท าพินัยกรรมอาจเพิกถอนพินัยกรรมนั้น ทั้งหมดหรือบางส่วนได้โดยท าลายหรือขีดฆ่า เสียด้วยความตั้งใจ ถ้าพินัยกรรมได้ท าเป็นต้นฉบับหลายฉบับ การ เพิกถอนนั้นไม่บริบูรณ์เว้นแต่จะได้กระท าแก่ ต้นฉบับเหล่านั้นทุกฉบับ
ถ้าผู้ท าพินัยกรรมมิได้แสดงเจตนาไว้ใน พินัยกรรมเป็นอย่างอื่น และปรากฏว่า พินัยกรรมฉบับก่อนกับฉบับหลังขัดกัน ให้ถือ ว่าพินัยกรรมฉบับก่อนเป็นอันเพิกถอนโดย พินัยกรรมฉบับหลัง เฉพาะในส่วนที่มีข้อความ ขัดกันนั้นเท่านั้น
ข้อก าหนดพินัยกรรมนั้น ย่อมตกไป
ถ้าพินัยกรรม หรือข้อก าหนดในพินัยกรรม เกี่ยวกับทรัพย์สินรายใดเป็นอันไร้ผลด้วย ประการใด ๆ ทรัพย์สินรายนั้นตกทอดแก่ ทายาทโดยธรรมหรือได้แก่แผ่นดิน แล้วแต่ กรณ
ภายใต้บังคับแห่งบทบัญญัติในหมวดนี้บุคคล จะจ าหน่ายทรัพย์สินใด ๆโดยนิติกรรมที่มีผล ในระหว่างชีวิต หรือเมื่อตายแล้ว โดยมี ข้อก าหนดห้ามมิให้ผู้รับประโยชน์โอนทรัพย์สิน นั้นก็ได้แต่ต้องมีบุคคลใดบุคคลหนึ่งนอกจาก ผู้รับประโยชน์ก าหนดไว้ส าหรับเป็นผู้จะได้รับ ทรัพย์สินนั้นเป็นสิทธิเด็ดขาด ในเมื่อมีการ ละเมิดข้อก าหนดห้ามโอน ผู้ซึ่งก าหนดขึ้นดังกล่าวนั้นต้องเป็นผู้สามารถ จะมีสิทธิต่างๆได้อยู่ในขณะที่การจ าหน่าย ทรัพย์สินนั้นมีผลบังคับ ถ้ามิได้ก าหนดบุคคลที่จะเป็นผู้รับทรัพย์สินใน เมื่อมีการละเมิดข้อก าหนดห้ามโอนไว้ให้ถือว่า ข้อก าหนดห้ามโอนนั้นเป็นอันไม่มีเลย
ข้อก าหนดห้ามโอนตามมาตราก่อนนั้นจะให้มี ก าหนดเวลาหรือตลอดชีวิตของผู้รับประโยชน์ก็ ได้ ถ้าไม่ได้ก าหนดเวลาห้ามโอนไว้ในกรณีที่ผู้รับ ประโยชน์เป็นบุคคลธรรมดา ให้ถือว่า ข้อก าหนดห้ามโอนมีระยะเวลาอยู่ตลอดชีวิต ของผู้รับประโยชน์แต่ในกรณีที่ผู้รับประโยชน์ เป็นนิติบุคคล ให้มีระยะเวลาเพียงสามสิบปี ถ้าได้ก าหนดเวลาห้ามโอนไว้ก าหนดนั้นมิให้ เกินสามสิบปีถ้าก าหนดไว้นานกว่านั้น ก็ให้ ลดลงมาเป็นสามสิบปี
ข้อก าหนดห้ามโอนอันเกี่ยวกับสังหาริมทรัพย์ ซ่งึไม่อาจจดทะเบียนกรรมสิทธิ์ไดน้ นั้ ให้ถือว่า เป็นอันไม่มีเลย ข้อก าหนดห้ามโอนเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ หรือทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์นั้น ไม่บริบูรณ์เว้นแต่จะได้ท าเป็นหนังสือและจด ทะเบียนการห้ามโอนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ บทบัญญัติในวรรคก่อนนี้ให้ใช้บังคับแก่เรือมี ระวางตั้งแต่ห้าตันขึ้นไป ทั้งแพและสัตว์พาหนะ ด้วย
พินัยกรรมซึ่งบุคคลที่มีอายุยังไม่ครบสิบห้าปี บริบูรณ์ท าขึ้นนั้น เป็นโมฆะ
พินัยกรรมซึ่งบุคคลผู้ถูกศาลสั่งให้เป็นคนไร้ ความสามารถท าขึ้นนั้น เป็นโมฆะ พินัยกรรมซึ่งบุคคลผู้ถูกอ้างว่าเป็นคนวิกลจริต แต่ศาลยังไม่ได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ ท าขึ้นนั้น จะเป็นอันเสียเปล่าก็แต่เมื่อพิสูจน์ได้ ว่าในเวลาที่ท าพินัยกรรมนั้นผู้ท าจริตวิกลอยู
พินัยกรรมหรือข้อก าหนดพินัยกรรมนั้น ถ้าได้ ท าขึ้นขัดต่อบทบัญญัติแห่งมาตรา ๑๖๕๒, ๑๖๕๓, ๑๖๕๖, ๑๖๕๗, ๑๖๕๘, ๑๖๖๐, ๑๖๖๑ หรือ ๑๖๖๓ ย่อมเป็นโมฆะ
ข้อก าหนดพินัยกรรมเป็นโมฆะ
ถ้าข้อก าหนดพินัยกรรมตั้งผู้รับพินัยกรรมโดยมี เงื่อนไขว่าให้ผู้รับพินัยกรรมจ าหน่ายทรัพย์สิน ที่ยกให้โดยพินัยกรรมนั้นแก่บุคคลอื่น ให้ถือว่า เงื่อนไขนั้นเป็นอันไม่มีเลย
เมื่อผู้ท าพินัยกรรมตายแล้ว บุคคลผู้มีส่วนได้ เสียคนใดคนหนึ่งจะร้องขอให้ศาลสั่งเพิกถอน พินัยกรรมซึ่งได้ท าขึ้นเพราะเหตุข่มขู่ก็ได้แต่ หากผู้ท าพินัยกรรมยังมีชีวิตอยู่ต่อมาเกินหนึ่งปี นับแต่ผู้ท าพินัยกรรมพ้นจากการข่มขู่แล้วจะมี การร้องขอเช่นว่านั้นไม่ได
เมื่อผู้ท าพินัยกรรมตายแล้ว บุคคลผู้มีส่วนได้ เสียคนใดคนหนึ่งจะร้องขอให้ศาลสั่งเพิกถอน พินัยกรรมซึ่งได้ท าขึ้นเพราะส าคัญผิดหรือกล ฉ้อฉลได้ก็ต่อเมื่อความส าคัญผิดหรือกลฉ้อฉล นั้นถึงขนาด ซึ่งถ้ามิได้มีความส าคัญผิดหรือกล ฉ้อฉลเช่นนั้น พินัยกรรมนั้นก็จะมิได้ท าขึ้น ความในวรรคก่อนนี้ให้ใช้บังคับ แม้ถึงว่ากล ฉ้อฉลนั้น บุคคลซึ่งมิใช่เป็นผู้รับประโยชน์ตาม พินัยกรรมได้ก่อขึ้น แต่พินัยกรรมซึ่งได้ท าขึ้นโดยส าคัญผิดหรือกล ฉ้อฉลย่อมมีผลบังคับได้เมื่อผู้ท าพินัยกรรม มิได้เพิกถอนพินัยกรรมนั้นภายในหนึ่งปีนับแต่ ที่ได้รู้ถึงการส าคัญผิดหรือกลฉ้อฉลนั้น
คดีฟ้องขอให้เพิกถอนข้อก าหนดพินัยกรรมนั้น มิให้ฟ้องเมื่อพ้นก าหนดดังน
ผู้จัดการมรดกนั้นรวมตลอดทั้งบุคคลที่ตั้งขึ้น โดยพินัยกรรมหรือโดยค าสั่งศาล
ผู้จัดการมรดกโดยพินัยกรรมอาจตั้งขึ้นได้
ทายาทหรือผู้มีส่วนได้เสียหรือพนักงานอัยการ จะร้องต่อศาลขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกก็ได้ใน กรณีดังต่อไปนี้
เมื่อศาลตั้งให้ผู้ใดเป็นผู้จัดการมรดกเพื่อการใด โดยเฉพาะ ผู้นั้นไม่จ าต้องท าบัญชีทรัพย์มรดก เว้นแต่จะจ าเป็นเพื่อการนั้น หรือศาลสั่งให้ท า
ผู้ท าพินัยกรรมจะตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลาย คนให้เป็นผู้จัดการมรดกก็ได้ เว้นแต่จะมีข้อก าหนดไว้ในพินัยกรรมเป็นอย่าง อื่น ถ้ามีผู้จัดการมรดกหลายคน แต่ผู้จัดการ เหล่านั้นบางคนไม่สามารถ หรือไม่เต็มใจที่จะ จัดการและยังมีผู้จัดการมรดกเหลืออยู่แต่คน เดียว ผู้นั้นมีสิทธิที่จะจัดการมรดกได้โดยล าพัง แต่ถ้ามีผู้จัดการมรดกเหลืออยู่หลายคน ให้ สันนิษฐานไว้ก่อนว่า ผู้จัดการเหล่านั้นแต่ละ คนจะจัดการโดยล าพังไม่ได้
หน้าที่ผู้จัดการมรดกที่ศาลตั้ง ให้เริ่มนับแต่ วันที่ได้ฟังหรือถือว่าได้ฟังค าสั่งศาลแล้ว
ในเวลาใด ๆ ภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่เจ้ามรดก ตาย แต่ต้องเป็นเวลาภายหลังที่เจ้ามรดกตาย แล้วสิบห้าวัน ทายาทหรือผู้มีส่วนได้เสียคนใด คนหนึ่งจะแจ้งความถามไปยังผู้ที่ถูกตั้งเป็น ผู้จัดการมรดกโดยพินัยกรรมว่าจะรับเป็น ผู้จัดการมรดกหรือไม่ก็ได้ ถ้าผู้ที่ได้รับแจ้งความมิได้ตอบรับเป็นผู้จัดการ มรดกภายในหนึ่งเดือนนับแต่วันรับแจ้งความ นั้น ให้ถือว่าผู้นั้นปฏิเสธแต่การรับเป็น ผู้จัดการมรดกนั้น จะท าภายหลังหนึ่งปีนับแต่ วันที่เจ้ามรดกตายไม่ได้เว้นแต่ศาลจะอนุญาต
บุคคลต่อไปนี้จะเป็นผู้จัดการมรดกไม่ได้
ผู้จัดการมรดกมีสิทธิและหน้าที่ที่จะท าการอัน จ าเป็น เพื่อให้การเป็นไปตามค าสั่งแจ้งชัดหรือ โดยปริยายแห่งพินัยกรรม และเพื่อจัดการ มรดกโดยทั่วไป หรือเพื่อแบ่งปันทรัพย์มรดก
เมื่อเกี่ยวกับบุคคลภายนอก ให้ใช้มาตรา ๘๓๑ บังคับโดยอนุโลม
ผู้จัดการมรดกไม่มีสิทธิที่จะได้รับบ าเหน็จจาก กองมรดก เว้นแต่พินัยกรรม หรือทายาทโดย จ านวนข้างมากจะได้ก าหนดให้ไว้
ผู้จัดการมรดกจะท านิติกรรมใด ๆซึ่งตนมีส่วน ได้เสียเป็นปฏิปักษ์ต่อกองมรดกหาได้ไม่ เว้น แต่พินัยกรรมจะได้อนุญาตไว้หรือได้รับ อนุญาตจากศาล
ผู้จัดการมรดกต้องจัดการโดยตนเอง เว้นแต่จะ ท าการโดยตัวแทนได้ตามอ านาจที่ให้ไว้ชัดแจ้ง หรือโดยปริยายในพินัยกรรม หรือโดยค าสั่ง ศาล หรือในพฤติการณ์เพื่อประโยชน์แก่กอง มรดก
ทายาทย่อมมีความผูกพันต่อบุคคลภายนอก ในกิจการทั้งหลายอันผู้จัดการมรดกได้ท าไป ภายในขอบอ านาจในฐานะที่เป็นผู้จัดการ มรดก ถ้าผู้จัดการมรดกเข้าท านิติกรรมกับ บุคคลภายนอก โดยเห็นแก่ทรัพย์สินอย่างใด ๆ หรือประโยชน์อย่างอื่นใด อันบุคคลภายนอกได้ ให้หรือได้ให้ค ามั่นว่าจะให้เป็นลาภส่วนตัว ทายาทหาต้องผูกพันไม่ เว้นแต่ทายาทจะได้ ยินยอมด้วย
ผู้จัดการมรดกต้องสืบหาโดยสมควรซึ่งตัวผู้มี ส่วนได้เสียและแจ้งไปให้ทราบถึงข้อก าหนด พินัยกรรมที่เกี่ยวกับผู้มีส่วนได้เสียนั้นภายใน เวลาอันสมควร
ถ้าผู้จัดการมรดกมีหลายคน การท าการตาม หน้าที่ของผู้จัดการมรดกนั้นต้องถือเอาเสียง ข้างมาก เว้นแต่จะมีข้อก าหนดพินัยกรรมเป็น อย่างอื่น ถ้าเสียงเท่ากัน เมื่อผู้มีส่วนได้เสียร้อง ขอ ก็ให้ศาลเป็นผู้ชี้ขาด
ผู้มีส่วนได้เสียคนหนึ่งคนใดจะร้องขอให้ศาลสั่ง ถอนผู้จัดการมรดก เพราะเหตุผู้จัดการมรดก ละเลยไม่ท าการตามหน้าที่ หรือเพราะเหตุ อย่างอื่นที่สมควรก็ได้แต่ต้องร้องขอเสียก่อนที่ การปันมรดกเสร็จสิ้นลง แม้ถึงว่าจะได้เข้ารับต าแหน่งแล้วก็ดีผู้จัดการ มรดกจะลาออกจากต าแหน่งโดยมีเหตุอัน สมควรก็ได้แต่ต้องได้รับอนุญาตจากศาล
ผู้จัดการมรดกต้องลงมือจัดท าบัญชีทรัพย์ มรดกภายในสิบห้าวัน
ผู้จัดการมรดกต้องจัดท าบัญชีทรัพย์มรดกให้ แล้วเสร็จภายในหนึ่งเดือนนับแต่เวลาที่ระบุไว้ ในมาตรา ๑๗๒๘ แต่ก าหนดเวลานี้เมื่อ ผู้จัดการมรดกร้องขอก่อนสิ้นก าหนดเวลาหนึ่ง เดือน ศาลจะอนุญาตให้ขยายต่อไปอีกก็ได้ บัญชีนั้นต้องท าต่อหน้าพยานอย่างน้อยสอง คน ซึ่งต้องเป็นผู้มีส่วนได้เสียในกองมรดกนั้น ด้วย บุคคลซึ่งจะเป็นพยานในการท าพินัยกรรม ไม่ได้ตามมาตรา ๑๖๗๐ จะเป็นพยานในการ ท าบัญชีใด ๆ ที่ต้องท าขึ้นตามบทบัญญัติแห่ง ประมวลกฎหมายนี้ไม่ได้
ให้น ามาตรา ๑๕๖๓, ๑๕๖๔ วรรค ๑ และ ๒ และ ๑๕๖๕ แห่งประมวลกฎหมายนี้มาใช้ บังคับโดยอนุโลม ในระหว่างทายาทกับ ผู้จัดการมรดกโดยพินัยกรรมและในระหว่าง ศาลกับผู้จัดการมรดกที่ศาลตั้ง
ถ้าผู้จัดการมรดกมิได้จัดท าบัญชีภายในเวลา และตามแบบที่ก าหนดไว้หรือถ้าบัญชีนั้นไม่ เป็นที่พอใจแก่ศาล เพราะความประมาท เลินเล่ออย่างร้ายแรง หรือการทุจริต หรือความ ไม่สามารถอันเห็นประจักษ์ของผู้จัดการมรดก ศาลจะถอนผู้จัดการมรดกเสียก็ได้
ผู้จัดการมรดกต้องจัดการตามหน้าที่และท า รายงานแสดงบัญชีการจัดการและแบ่งปัน มรดกให้เสร็จภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่ระบุไว้ใน มาตรา ๑๗๒๘ เว้นแต่ผู้ท าพินัยกรรม ทายาท โดยจ านวนข้างมาก หรือศาลจะได้ก าหนดเวลา ให้ไว้เป็นอย่างอื่น
การให้อนุมัติการปลดเปลื้องความรับผิด หรือ ข้อตกลงอื่น ๆอันเกี่ยวกับรายงานแสดงบัญชี การจัดการมรดกดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๑๗๓๒ นั้น จะสมบูรณ์ต่อเมื่อรายงานแสดง บัญชีนั้นได้ส่งมอบล่วงหน้าแก่ทายาทพร้อม ด้วยเอกสารอันเกี่ยวกับการนั้นไม่น้อยกว่าสิบ วันก่อนแล้ว คดีเกี่ยวกับการจัดการมรดกนั้น มิให้ทายาท ฟ้องเกินกว่าห้าปีนับแต่การจัดการมรดกสิ้นสุด ลง
เจ้าหนี้กองมรดกชอบแต่จะได้รับการช าระหนี้ จากทรัพย์สินในกองมรดกเท่านั้น
ทายาทจ าต้องบอกทรัพย์มรดกและหนี้สินของ ผู้ตายตามที่ตนรู้ทั้งหมดแก่ผู้จัดการมรดก
ตราบใดที่เจ้าหนี้กองมรดก หรือผู้รับพินัยกรรม ที่ปรากฏตัว ยังไม่ได้รับช าระหนี้หรือส่วนได้ ตามพินัยกรรมแล้วทุกคน ให้ถือว่าทรัพย์มรดก ยังคงอยู่ในระหว่างจัดการ ในระหว่างเวลาเช่นว่านั้น ผู้จัดการมรดกชอบที่ จะท าการใด ๆในทางจัดการตามที่จ าเป็นได้ เช่นฟ้องคดีหรือแก้ฟ้องในศาลและอื่น ๆอนึ่ง ผู้จัดการมรดกต้องท าการทุกอย่างตามที่ จ าเป็น เพื่อเรียกเก็บหนี้สินซึ่งค้างช าระอยู่แก่ กองมรดกภายในเวลาอันเร็วที่สุดที่จะท าได้ และเมื่อเจ้าหนี้กองมรดกได้รับช าระหนี้แล้ว ผู้จัดการมรดกต้องท าการแบ่งปันมรดก
เจ้าหนี้กองมรดกจะบังคับสิทธิเรียกร้องต่อ ทายาทคนใดก็ได้แต่ถ้ามีผู้จัดการมรดก ให้ เจ้าหนี้เรียกเข้ามาในคดีด้วย
ก่อนแบ่งมรดก เจ้าหนี้กองมรดกจะบังคับช าระ หนี้เต็มจ านวนจากกองมรดกก็ได้ในกรณีเช่นน ทายาทคนหนึ่งๆอาจเรียกให้ช าระหนี้จาก ทรัพย์มรดกของเจ้ามรดก หรือให้เอาเป็น ประกันก็ได้จนถึงเวลาแบ่งมรดก เมื่อแบ่งมรดกแล้ว เจ้าหนี้อาจเรียกให้ทายาท คนใดคนหนึ่งช าระหนี้ได้เพียงไม่เกินทรัพย์ มรดกที่ทายาทคนนั้นได้รับไป ในกรณีเช่นนี้ ทายาทคนใดซึ่งได้ช าระหนี้แก่เจ้าหนี้กองมรดก เกินกว่าส่วนที่ตนจะต้องเฉลี่ยใช้หนี้ทายาทคน นั้นมีสิทธิไล่เบี้ยจากทายาทคนอื่นได้
ให้ช าระหนี้ที่กองมรดกค้างช าระตามล าดับ ต่อไปนี้และตามบทบัญญัติแห่งประมวล กฎหมายนี้ว่าด้วยบุริมสิทธิโดยต้องไม่เป็นที่ เสื่อมเสียแก่บรรดาเจ้าหนี้ผู้มีบุริมสิทธิพิเศษ ตามประมวลกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่น และ บรรดาเจ้าหนี้ที่มีประกันโดยการจ าน าหรือการ จ านอง
เว้นแต่เจ้ามรดกหรือกฎหมายจะได้ก าหนดไว้ เป็นอย่างอื่น ให้จัดสรรทรัพย์สินของเจ้ามรดก เพื่อช าระหนี้ตามล าดับต่อไปนี้
(๕) อสังหาริมทรัพย์ซึ่งเจ้ามรดกท าพินัยกรรม ให้โดยลักษณะทั่วไปดังบัญญัติไว้ในมาตรา ๑๖๕๑
เจ้าหนี้กองมรดกคนใดคนหนึ่งจะคัดค้านการ ขายทอดตลาดหรือการตีราคาทรัพย์สินดังระบุ ไว้ในมาตราก่อน โดยเสียค่าใช้จ่ายของตนเองก็ ได้ถ้าเจ้าหนี้ได้ร้องคัดค้านแล้ว ยังได้กระท า การขายทอดตลาด หรือตีราคาไป จะยกการ ขายทอดตลาดหรือตีราคานั้นขึ้นยันต่อเจ้าหนี้ผู้ ร้องคัดค้านแล้วนั้นหาได้ไม
ถ้าในการช าระหนี้ซึ่งค้างช าระอยู่แก่ตน เจ้าหนี้ คนใดคนหนึ่งได้รับตั้งในระหว่างที่ผู้ตายมีชีวิต อยู่ ให้เป็นผู้รับประโยชน์ในการประกันชีวิต เจ้าหนี้คนนั้นชอบที่จะได้รับเงินทั้งหมด ซึ่งได้ ตกลงไว้กับผู้รับประกัน อนึ่ง เจ้าหนี้เช่นว่านั้น จ าต้องส่งเบี้ยประกันภัยคืนเข้ากองมรดกก็ ต่อเมื่อเจ้าหนี้คนอื่น ๆ พิสูจน์ได้ว่า
ทายาทโดยธรรม หรือผู้รับพินัยกรรมโดย ลักษณะทั่วไปไม่จ าต้องปฏิบัติตามข้อก าหนด ในพินัยกรรมลักษณะเฉพาะเกินกว่าจ านวน ทรัพย์มรดกที่ตนได้รับ
ผู้จัดการมรดกไม่จ าต้องส่งมอบทรัพย์มรดก หรือส่วนใดส่วนหนึ่งแห่งทรัพย์มรดกให้แก่ ทายาทก่อนปีหนึ่งนับแต่วันที่เจ้ามรดกถึงแก่ ความตาย เว้นแต่เจ้าหนี้กองมรดกและผู้รับ พินัยกรรมที่ปรากฏตัวได้รับช าระหนี้และส่วน ได้ตามพินัยกรรมแล้วทุกคน
ถ้ามีทายาทหลายคน ทายาทเหล่านั้นมีสิทธิ และหน้าที่เกี่ยวกับทรัพย์มรดกร่วมกันจนกว่า จะได้แบ่งมรดกกันเสร็จแล้ว และให้ใช้มาตรา ๑๓๕๖ ถึงมาตรา ๑๓๖๖ แห่งประมวล กฎหมายนี้บังคับ เพียงเท่าที่ไม่ขัดกับ บทบัญญัติแห่งบรรพนี้
ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย หรือข้อความใน พินัยกรรมถ้าหากมีให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่า ผู้ เป็นทายาทด้วยกันมีส่วนเท่ากันในกองมรดกที่ ยังไม่ได้แบ่ง
การที่ทายาทคนใดได้รับทรัพย์สินอย่างหนึ่ง อย่างใด หรือประโยชน์อย่างอื่นใดจากเจ้า มรดกโดยการให้หรือโดยการอย่างอื่นใด ซึ่งท า ให้โดยเสน่หาในระหว่างเวลาที่เจ้ามรดกยังมี ชีวิตอยู่นั้น หาท าให้สิทธิในการแบ่งปันทรัพย์ มรดกของทายาทคนนั้น ต้องเสื่อมเสียไปแต่ โดยประการใดไม่
ทายาทคนใดครอบครองทรัพย์มรดกซึ่งยังมิได้ แบ่งกัน ทายาทคนนั้นมีสิทธิที่จะเรียกร้องให้ แบ่งทรัพย์มรดกนั้นได้แม้ว่าจะล่วงพ้นก าหนด อายุความตามมาตรา ๑๗๕๔ แล้วก็ดี สิทธิที่จะเรียกให้แบ่งทรัพย์มรดกตามวรรค ก่อน จะตัดโดยนิติกรรมเกินคราวละสิบปีไม่ได้
ถ้ามีคดีฟ้องเรียกทรัพย์มรดก ผู้ซึ่งอ้างว่าตน เป็นทายาทมีสิทธิในทรัพย์มรดกนั้น จะร้อง สอดเข้ามาในคดีก็ได้ แต่ศาลจะเรียกทายาทอื่น นอกจากคู่ความ หรือผู้ร้องสอด ให้เข้ามารับส่วนแบ่ง หรือกัน ส่วนแห่งทรัพย์มรดกไว้เพื่อทายาทอื่นนั้นไม่ได้
การแบ่งปันทรัพย์มรดกนั้น อาจท าได้โดย ทายาทต่างเข้าครอบครองทรัพย์สินเป็นส่วน สัด หรือโดยการขายทรัพย์มรดกแล้วเอาเงินที่ ขายได้มาแบ่งปันกันระหว่างทายาท ถ้าการแบ่งปันมิได้เป็นไปตามวรรคก่อน แต่ได้ ท าโดยสัญญาจะฟ้องร้องให้บังคับคดีหาได้ไม่ เว้นแต่จะมีหลักฐานเป็นหนังสืออย่างหนึ่ง อย่างใด ลงลายมือชื่อฝ่ ายที่ต้องรับผิดหรือ ตัวแทนของฝ่ ายนั้นเป็นส าคัญ ในกรณีเช่นนี้ให้ น ามาตรา ๘๕๐, ๘๕๒ แห่งประมวลกฎหมาย นี้ว่าด้วยประนีประนอมยอมความมาใช้บังคับ โดยอนุโลม
ภายหลังที่ได้แบ่งมรดกกันแล้ว ถ้าทรัพย์สิน ทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่งทายาทคนใดคนหนึ่ง ได้รับตามส่วนแบ่งปันนั้น หลุดมือไปจาก ทายาทคนนั้นเนื่องจากการรอนสิทธิทายาท คนอื่น ๆจ าต้องใช้ค่าทดแทน หนี้เช่นว่านั้น เป็นอันระงับเมื่อมีการตกลงกันไว้ เป็นอย่างอื่น หรือการรอนสิทธิเป็นผล เนื่องมาจากความผิดของทายาทผู้ถูกรอนสิทธิ หรือเนื่องมาจากเหตุซึ่งเกิดขึ้นภายหลังการ แบ่งปัน ทายาทคนอื่น ๆ ต้องใช้ค่าทดแทนให้แก่ทายาท ผู้ถูกรอนสิทธิตามส่วนแห่งส่วนแบ่งของตน แต่ ให้หักจ านวนที่เป็นส่วนเฉลี่ย ซึ่งทายาทผู้ถูก รอนสิทธิจะต้องออกกับเขาด้วยนั้นออกเสีย แต่ ถ้าทายาทคนใดคนหนึ่งเป็นคนหนี้สินล้นพ้นตัว ทายาทคนอื่น ๆ ต้องรับผิดในส่วนของทายาท คนนั้นตามส่วนเฉลี่ยเช่นเดียวกัน แต่ให้หัก จ านวนที่เป็นส่วนเฉลี่ยซึ่งทายาทผู้ที่จะได้รับ ค่าทดแทนจะต้องออกแทนทายาทผู้ที่มีหนี้สิน ล้นพ้นตัวนั้นออกเสีย บทบัญญัติในวรรคก่อน ๆ มิให้ใช้บังคับแก่ผู้รับ พินัยกรรมลักษณะเฉพาะ
คดีฟ้องให้รับผิดเนื่องจากการรอนสิทธิตาม มาตรา ๑๗๕๑ นั้น มิให้ฟ้องเมื่อพ้นก าหนด สามเดือนนับแต่เมื่อถูกรอนสิทธิ
ภายใต้บังคับแห่งสิทธิของเจ้าหนี้กองมรดก เมื่อบุคคลใดถึงแก่ความตายโดยไม่มีทายาท โดยธรรมหรือผู้รับพินัยกรรม หรือการตั้งมูลนิธิ ตามพินัยกรรม มรดกของบุคคลนั้นตกทอดแก่ แผ่นดิน
ห้ามมิให้ฟ้องคดีมรดกเมื่อพ้นก าหนดหนึ่งปี นับแต่เมื่อเจ้ามรดกตาย หรือนับแต่เมื่อทายาท โดยธรรมได้รู้หรือควรได้รู้ถึงความตายของเจ้า มรดก คดีฟ้องเรียกตามข้อก าหนดพินัยกรรม มิให้ ฟ้องเมื่อพ้นก าหนดหนึ่งปีนับแต่เมื่อผู้รับ พินัยกรรมได้รู้หรือควรได้รู้ถึงสิทธิซึ่งตนมีอยู่ ตามพินัยกรรม ภายใต้บังคับแห่งมาตรา ๑๙๓/๒๗ แห่ง ประมวลกฎหมายนี้ถ้าสิทธิเรียกร้องของ เจ้าหนี้อันมีต่อเจ้ามรดกมีก าหนดอายุความ ยาวกว่าหนึ่งปีมิให้เจ้าหนี้นั้นฟ้องร้องเมื่อพ้น ก าหนดหนึ่งปีนับแต่เมื่อเจ้าหนี้ได้รู้หรือควรได้ รู้ถึงความตายของเจ้ามรดก ถึงอย่างไรก็ดีสิทธิเรียกร้องตามที่ว่ามาในวรรค ก่อน ๆ นั้น มิให้ฟ้องร้องเมื่อพ้นก าหนดสิบปี นับแต่เมื่อเจ้ามรดกตาย [เลขมาตรา ๑๙๓/๒๗ แก้ไขเพิ่มเติมโดย มาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ บทบัญญัติบรรพ ๑ แห่งประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ที่ได้ตรวจช าระใหม่ พ.ศ. ๒๕๓๕]
อายุความหนึ่งปีนั้น จะยกขึ้นต่อสู้ได้ก็แต่โดย บุคคลซึ่งเป็นทายาท หรือบุคคลซึ่งชอบที่จะใช้ สิทธิของทายาท หรือโดยผู้จัดการมรดก
「민상법전」
• 국 가 ‧ 지 역: 태국 • 제 정 일: 1926년 1월 1일 • 최종 개정일: 2015년 10월 31일(일부개정)
어떠한 사람이 사망하였을 때, 그 사람의 유산은 상속인에게 상속 된다. 상속인은 이 법전 또는 기타 법 률의 규정에 의하여만 유산에 대한 권리를 상실할 수 있다.
법률 또는 상황에 따르는 것을 제외하고, 이 법전 조항의 적용 하에서, 사망자의 유산들 즉, 각 종 권리 의무 및 책임에 이르는 사망자의 모든 종류의 자산은 순 전히 사망자의 개인적인 것이다.
상속인은 자신에게 상속된 유산 자산을 초과하는 책임을 질 필요 가 없다.
어떠한 사람이 이 법전 제62조의 내용에 의거하여 사망하였다고 간주되는 때에 해당자의 유산은 상속인에게 상속된다. 만약 해당자가 아직 생존해 있거나, 행불자로 명하도록 명령서에 기재한 시간과 다른 시간에 사망 하였다고 증명할 수 있다면, 이 법전 제63조의 규정을 해당자의 상속인에게 적용하도록 한다. ❲제62조 제63조 번호 1992년에 개정된 「민상법전의 제1권을 시 행하도록 하는 법」 제15조에 의 하여 개정되었다.❳
유산은 법률에 따른 권리 또는 유언에 의하여 마땅히 상속인에 게 상속된다. 법률에 따라 권리를 가지는 상속 인은 “법정상속인”이라고 칭한다. 유언에 따라 권리를 가지는 상속 인은 “수증자”라고 칭한다.
자연인은 피상속인이 사망한 때 에 법전 제15조에 의거하여 인격 을 갖추었으며 권리를 가질 능력 이 있는 때 상속인이 될 수 있다. 이 조의 목적을 위하여, 피상속인 이 사망한 날부터 310일 이내에 출생한 아이는, 피상속인이 사망 한 때에 태아로 존재하였다고 간 주하도록 한다.
어떠한 상속인이 기망하거나 본 인이 다른 상속인의 이익을 침해 하는 것을 인식하고, 본인의 몫 또는 그 이상에 해당하는 유산을 이전하거나 은폐한다면, 해당 상 속인은 유산을 상속받지 못하도 록 제한되어야 한다. 그러나 만 약, 본인의 몫보다 적은 부분을 이전하거나 은폐하였다면, 이전하거나 은폐한 부문에 대한 유산을 상속받지 못하도록 제한되어야 한다. 이 조는 해당 재산을 취득하는 데에 있어서 사망자가 유언장을 작성하여 특정한 자산을 유증 받 는 수증자에게는 적용하지 아니 한다.
다음 각 항에 해당하는 사람은 부적격자로서 유산을 상속받지 못하도록 배제되어야 한다.
유산을 상속받지 못하도록 배제 하는 것은 사적인 것이다. 배제된 상속인의 비속은 해당 상속인이 사망한 것과 같다. 그러나, 이와 같이 비속이 유산 상속받은 재산 부분에 대하여, 배제된 상속인은 이 법전의 제5권 제2편 제3장에 명시해 둔 것과 같이 처리하거나 사용할 권리가 없다. 이와 같은 경우, 제1548조를 준용하도록 한 다.
피상속인은 (다음 각 항에 해당하 는 방법으로) 의지를 명확히 표시 하여야만 자신의 어떠한 법정상속인이 유산을 상속받지 못하도 록 할 수 있다.
상속을 배제하는 의사 표시는 철 회될 수도 있다. 만약, 상속의 배제가 유언을 통하 여 행하여 졌다면, 유언에 의하여 만 철회될 수 있다. 그러나 만약 상속의 배제를 문서로 작성하여 담당관에게 위임하여 두었다면, 철회는 제1608조 제(1)항 또는 제(2)항에 규정해 놓은 것 중 어 떠한 한 가지 양식에 따라 철회 할 수도 있다.
만약 유산이 미성년자나 정신이 상자 또는 이 법전 제32조의 의 미에 의거하여 자신의 업무를 처 리할 능력이 없는 사람에게 상속 되고 해당자에게 법정대리인이나 후견인 또는 관리인이 없다면, 이 해관계자 또는 검사가 요청하는 때에 법원이 경우에 따라 보호자 나 후견인 또는 관리인을 임명하 도록 한다. ❲제32조 번호 1992년에 개정된 「민상법전의 제1권을 시행하도록하는 법」 제15조에 의하여 개정 되었다.❳
미성년자나 정신이상자 또는 이 법전 제32조의 의미에 의거하여 자신의 업무를 처리할 능력이 없 는 사람인 상속인은 다음 각 항 에 해당하는 행위를 할 수 없다. 다만, 경우에 따라 부모나 보호 자, 후견인 또는 관리자의 승낙과 법원의 허가를 받은 경우는 제외 한다
유산의 포기는 서면으로 명확하 게 의사를 표시하여 담당관에게 위임하여 두거나 타협계약서로 작성하여야 한다.
유산은 일부만 포기하거나 조건 또는 기한을 두어 포기할 수 없 다. 유산의 포기는 철회할 수 없다.
만약 상속인이 해당 행위가 자신 의 채권자를 불리하게 만든다는 것을 인지하고 어떠한 방법으로 유산을 포기하였다면, 채권자는 유산의 포기를 철회하도록 요청 할 권리가 있다. 그러나 이 내용 은, 만약 유산을 포기하는 때에 해당 행위에서 추가 이익을 얻은사람이, 채권자가 불리한 방법이 되는 사실까지는 인지하지 못하 였다면, 적용하지 않도록 한다. 그러나 만약 애정에 의한 유산 포기의 경우, 유산을 포기하는 상 속인이 혼자만 인지하고 있어도 철회 요청을 하기에 충분한다. 유산의 포기를 철회하였을 때, 채 권자는 자신이 상속인과 상속인 의 권리에서 대신하여 유산을 취 득하기 위하여 법원이 명령하도 록 요청할 수도 있다. 이와 같은 경우, 해당 상속인의 채무가 채권자에게 청산되었을 때, 만약, 해당 상속인의 몫이 남 아 있다면, 경우에 따라 해당 상 속인의 비속이나 피상속인의 다 른 상속인에게 지급할 수 있다.
상속인이 유산을 포기하는 것은피상속인이 사망한 시간까지 소 급 효과가 있다. 어떠한 법정상속인이 유산을 포 기하였을 때, 해당 상속인의 비속 은 자신의 권리에 의거하여 유산 을 상속할 수 있으며, 유산을 포 기한 사람이 상속할 몫만큼의 몫 을 받아야 한다. 그러나, 비속은 경우에 따라 부모나 보호자 또는 후견인이 해당 비속의 명의에서 온전하게 유산 포기를 통지한 사 람이 아니어야 한다.
만약 유산을 포기한 사람의 비속 이 제1615조에 따라 해당 유산을 상속하였다면, 유산을 포기한 사 람은 이 법전 제5권 제2편 제3장 에서 명시해 둔 바와 같이, 자신 의 비속이 상속받은 유산인 재산 부분에 대하여 처리하고 사용할권리가 없으며, 제1548조를 준용 하도록 한다.
어떠한 수증자가 유산을 포기한 사람은 그 비속을 포함하여 이미 포기한 유산에 대하여 수증할 권 리가 없다.
만약 유산을 포기한 법정상속인 에게 유산을 상속받을 비속 또는 유산을 포기한 수증자가 없다면, 유산을 포기한 사람의 몫을 피상 속인의 다른 상속인에게 이어서 배분하도록 한다.
생존하고 있는 사람의 유산 상속 에서 장래에 혹시 있을 권리인 어떠한 요소에 의하여 포기 또는분배 양도할 수 없다.
만약 어떠한 사람이 유언을 작성 해 두지 않거나 효력이 없는 유 언을 작성하고 사망하였다면, 법 률에 의거하여, 사망자의 법정상 속인에게 유산 전부를 배분하도 록 한다. 만약, 어떠한 사람이 유언을 작성 하고 사망하였으나 해당 유언이 재산 전부를 분배하거나 유산의 일부분에 대하여서만 효력이 있 는 것이라면, 유언에 의하여 분배 하지 않은 몫 또는 유언이 효력 이 없는 부분을 법률에 의거하여 법정상속인에게 배분하도록 한다.
유언 작성자가 유언장에 다르게 의지를 표시하여 규정해 둔 것을 제외하고, 비록 어떠한 법정상속 인은 유언에 따라 어떠한 유산을 상속받더라도, 해당 법정상속인은 유언에 의하여 분배되지 않은 유 산 부분에서 자신의 유류분을 추 가로 온전하게 요구할 수도 있다.
승려는 법정상속인의 자격에서의 유산을 요구할 수 없다. 다만, 제 1754조에 의거한 시효 내에 승려 의 신분에서 환속하여 요구하는 것은 예외로 한다. 그러나 승려가 수증자가 되는 것 은 가능할 수 있다.
승려의 신분에 있는 기간 동안 수증한 승려의 재산은 해당 승려 가 사망하였을 때 해당 승려가 적을 두고 있는 사원의 자산이 된다. 다만, 해당 승려가 생존해 있는 동안 또는 유언에 의하여 분배하는 것은 예외로 한다.
승려로 출가하기 전의 사유재산 은 사원의 소유가 되지 않으며, 해당자의 법정상속인에게 유산으 로 상속되도록 하거나 해당자가 법률에 따른 어떠한 사항에 의하 여 배분할 수도 있다.
만약 사망자가 기혼자라면, 사망 자와 생존해 있는 배우자 간 분 할 부분의 계산과 재산의 배분은 다음 각 항을 따르도록 한다.
제1625조 제(1)항에 따라 이행을 완료하였을 때에는 다음 각 항에 따라 법정상속인 간의 분할 부분 을 계산하도록 한다.
아버지의 인지를 얻은 혼외자 및 양자는 이 법전의 의미에 따라 합법적 자녀와 마찬가지로 비속 으로 간주하도록 한다.
아직 법에 따라 이혼하여 결별하 지 안고 별거하거나 헤어진 부부 는 상호간의 유산 상속에서 법적 권리가 소멸되지 아니한다.
법정상속인은 오직 6개의 순위만 있으며, 제1630조 두번째 단락 하에서 각 순위의 유산상속권의 우선 순위는 다음 각 항과 같다.
제1629조에 명시해 놓은 각 순위에 생존해 있는 상속인이 존재하 거나 대습상속인이 단절되지 않 는 한 후순위에 있는 사람은 고 인의 재산에 대한 권리가 전혀 없다. 그러나 이전 단락의 내용은 경우 에 따라 어떠한 상속인이 생존해 있거나 대습상속인이 있으며, 부 모가 생존해 있는 특별한 경우에 는 적용하지 않도록 한다. 그와 같은 경우 부모가 자녀 순위 상 속인과 마찬가지의 분할분을 갖 도록 한다.
순위가 다른 상속인 중에서 가장 우선에 있는 피상속인의 자녀만 이 유산을 상속받을 권리가 있다. 후순위에 있는 상속인은 대습상 속에 의하여서만 유산을 상속받 을 수 있다
제1629조 마지막 단락의 적용 하 에 친족 순위에서의 법정상속인 의 상속분 분할은 이 장 제1절의 조항에 따르도록 한다.
제1629조에 명시한 각각의 순위 에서의 동순위 법정상속인은 같 은 분할분을 상속받아야 한다. 만 약 한 순위에 1인의 법정상속인 이 있다면, 해당 법정상속인은 분 할분 전부를 상속받을 권리가 있 다.
제2장 제4절에 따른 각각 계통의 분할분에서 대습상속하는 비속 간에는 다음 각 항에 해당하는 분할분을 상속하도록 한다
고인의 유산을 상속하는데 있어서 생존배우자의 순위 및 분할분 은 다음 각 항에 따르도록 한다.
만약 피상속인이 민상법전 제5권 을 시행하기 이전 여러 명의 합 법적인 처(妻)가 생존하고 있다 면, 그 처들 전원은 함께 제1635 조에 명시한 순위와 분할분에 따 라 유산을 상속받을 권리가 있다. 그러나 그들 사이에서 첩(妾)은 각기 처가 받아야 하는 몫의 절 반을 상속받을 권리를 갖도록 한 다.
만약 아직 생존해 있는 배우자 어느 일방이 생명보험계약에 따 라 수익자가 된다면, 해당 배우자 측은 보험사와 합의했던 전액을 수령할 권리가 있다. 그러나 소득 또는 통상적인 본인의 신분에 따 라 고인이 보험료로 지불해야 하 는 금액 이상이라는 것이 증명 가능한 보험금으로 배우자 중 다 른 일방의 경우에 따라 혼인 전 재산 또는 혼인 후 취득한 재산 을 보상하여야 한다. 위의 규정에 따라 반환하여야 하 는 보험금액은 모두 합산하여 보 험회사가 지불하는 금액을 초과 하지 않아야 한다.
배우자 양측이 계약하는 데 투자 하였고 해당 계약에 따라 양측이함께 생활할 때에 연금을 수령하 여야 하며 어떠한 일방이 사망하 였을 때에 아직 생존하고 있는 다른 일방이 평생 연금을 수령해 야 할 때에 생존하고 있는 다른 일방은 해당 투자에 사용된 혼인 전 재산 또는 혼인 후 취득한 재 산만큼 경우에 따라 다른 일방의 혼인 전 재산 또는 혼인 후 취득 한 재산을 보상하여야 한다. 이와 같이 혼인 전 재산 또는 혼인 후 취득한 재산을 보상해야 하는 금 액은, 연금지급인이 생존하고 있 는 배우자 측에 계속하여 연금을 지불하도록 하기 위하여, 연금지 급인이 특별히 추가로 상환을 청 구하는 금액만큼 보상하도록 한 다.
제1629조 제(1)항이나 제(3)항, 제(4)항 또는 제(6)항에 따라 상 속인이 되는 어떠한 사람이 사망 하거나 피상속인 사망 전 유산을 상속받지 못하도록 제외되었다면, 만약 해당자가 비속이 있다면 비 속이 대습상속하도록 하고, 만약 해당자의 비속이 사망하였거나 마찬가지로 유산상속에서 제외되 었다면 해당 비속의 비속이 대습 상속하도록 하며 대습상속은 단 절될 때까지 개인의 특정한 분할 분은 항목 당으로 이와 같이 승 계하도록 한다.
이 법전 제65조에 의거하여 어떠 한 사람이 사망하였다고 간주되 어야 하는 때에는 대습상속을 할 수 있도록 한다.
만약 제1629조 제(2)항 또는 제 (5)항에 따라 비속이 되는 어떠한 사람이 사망하였거나 피상속인의 사망 전에 상속에서 제외되었다 면, 만약 같은 순위의 비속이 생 존하고 있다면 분할분 전부가 해 당 비속에게만 이양하도록 하며 다음의 대습상속은 하지 않도록 금지한다.
대습상속은 법정상속인 간에만 적용하도록 한다
대승상속권리는 직계비속에게만 가능하며 존속은 해당 권리가 없 다.
비속은 유산 상속에서 완전한 권 리가 있을 때에만 대습상속을 할 수 있다.
어떠한 사람이 또 한 사람의 유 산을 포기하는 것이 다른 사람의 유산 승계에서 그러한 또 한 사 람을 대습상속하는 권리를 박탈 하지 아니한다.
어떠한 사람이 본인의 재산 또는 여러가지 일에 관하여 사망할 것 을 대비한 유언으로 의지를 표명 하는 것은 본인이 사망하였을 때 법률에 의거하여 효력을 발생하 도록 할 수도 있다
사망할 것을 대비하여 의지를 표 명하는 것은 마땅히 최종 지시로 유언에 규정해 둘 수 있다.
해당 유언은 반드시 이 절의 제2 장에 명시해 놓은 양식에 따라야 한다.
고인이 임명해 둔 유산 관리인은 마땅히 고인의 장례를 준비하는 권리와 책임이 있다. 다만 고인이 다른 사람을 특별히 그와 같은 것을 처리하도록 임명한 것을 제 외한다. 만약 고인이 유산 관리인 또는 장례 처리인을 임명하지 않았거 나 상속인이 어떠한 사람을 장례 처리인으로 위임하여 임명하지 않았다면 유언 또는 법적 권리에 의하여 가장 많은 유산을 상속받 는 사람이 권한과 장례를 처리할 의무를 담당한다. 다만, 어떠한 이해당사자가 요청하였을 때, 법 원이 다른 사람이 그와 같은 것 을 처리하도록 하는 것이 타당하 다고 판단하는 것은 제외한다.
해당 장례를 처리함에 있어서 어 떠한 사람에게 혜택을 발생시키 는 비용은 이 법전의 제153조 제 (2)항에 명시해 둔 우선권에 따라 청구하도록 한다. 만약 장례 처리가 어떠한 사항에 의하여 지체되어야 한다면, 해당 이러한 목적에 사용하기 위하여 이전 조항에 따른 권한자가 유산 총액에서 타당한 금액을 방어하 도록 한다. 해당 방어 금액이 합 의되지 못하거나 이의가 제기되 는 경우, 어떠한 한 사람의 이해 당사자가 법원에 요청하도록 할 수 있다. 어떠한 경우라도 해당 장례를 처 리하는 것과 관련한 비용 및 방 어해 두는 금액은 고인의 사회적 지위에 타당한 금액만을 방어해 두도록 한다. 그러나 고인에 대한 채권자의 권리를 훼손하는 것이 되어서는 안 된다.
제4절 조항의 적용 하에서 다음 각 항을 따른다.
보호 하에 있는 사람은 보호자가 이 법전 제1577조 및 다음 조들 에 규정해 둔 바에 따라 보호 선 언문을 작성할 때까지 보호자나 배우자, 존속 또는 비속이나 보호자의 형제자매에게 본인 재산을 양도하는 유언을 작성할 수 없다.
유언 작성자 또는 증인은 해당 유언에 따른 유증자가 될 수 없 다. 위 단락의 규정을 유언 작성자 또는 증인의 배우자에게도 적용 하도록 한다. 제1663조에 따라 증인이 신고하 는 유언의 내용을 기록하는 담당 관은 이 조의 의의에 따른 유언 작성자로 간주하도록 한다.
유언자의 능력은 유언을 작성하 는 때에만 검토하도록 한다. 수증자의 능력은 유언자가 사망 하였을 때에만 검토하도록 한다.
유언은 이 장에서 규정하는 어떠 한 한가지 방식으로만 가능하다.
유언은 작성하는 때의 연월일을 기재한 문서로 작성하여야 하며, 유언자는 최소 2인 이상의 증인 면전에서 동시에 서명을 하여야 한다. 그때에, 해당 증인은 유언 자의 서명을 보증하는 서명을 하 여야 한다. 삭제, 누락, 삽입, 또는 수정하여 다르게 변경한 유언은 효력이 없 다. 다만, 이 조에 따라 작성한 유언과 같은 방식을 따른 것은 제외한다.
유언은 전체를 수기로 작성할 수 도 있다. 즉, 유언자가 자필로 전 체 항목과 연월일 그리고 자신의 서명을 기재하여야 하는 것이다. 삭제, 누락, 삽입 또는 수정하여 다르게 변경한 유언은 효력이 없 다. 다만, 유언자가 자필로 행하 고 자서한 것은 제외한다. 이 법전 제9조의 조문은 이 조에 따라 작성한 유언에는 적용하지 아니한다.
유언은 다음 각 항에 따라 공정 증서로 작성할 수도 있다.
กรมการอ าเภอ: 군행정국 (department of provincial administration)
공정 증서 형식으로 유언을 작성하는 것은, 요청이 있는 경우 티 와깐암퍼2 밖에서 작성할 수도 있 다.
유언은 다음 각 항에 따라 비밀 증서로 작성할 수도 있다.
ทีว่าการอ าเภอ: 군청 (district office)
만약 언어 장애인이며 청각 장애 인이거나 말을 할 수 없는 사람 이 비밀증서로 유언을 작성하고 자 한다면, 해당자는 제1660조 제(3)항에 규정한 진술 대신 끄롬 깐암퍼와 유언자 면전에서 밀봉 한 봉투가 자신의 것이라고 봉투 위에 자필로 기재하도록 하고, 만 약 작성자가 있다면 작성자도 유 언 작성자도 본인의 성명과 거주지를 기재하도록 한다. 끄롬깐암퍼는 유언자의 진술을 기록하는 대신 유언자가 전 단락 의 내용에 따라 이행하였다는 증 표로 봉투 위에 기록하도록 한다.
끄롬깐암퍼는 공정 증서 또는 비 밀증서로 작성된 문서를 유언자 의 생전에 다른 사람에게 공개할 수 없으며, 언제라도 유언자가 끄 롬깐암퍼에게 해당 유언을 송부 하도록 요청한다면 끄롬깐암퍼는 송부해 주어야 한다. 만약 유언이 공정 증서로 작성되 었다면, 유언을 송부하기 전 끄롬 깐암퍼는 유언을 복사하고 증표 로 서명하고 직인을 날인한다. 유 언의 사본은 유언자의 생전에 다 른 사람에게 공개할 수 없다.
목숨이 경각에 달린 위험에 처해 있거나 전염병이 있는 때 또는 전시와 같이, 어떠한 사람이 규정 해 둔 다름 방식에 따라 유언을 작성할 수 없는 사정이 있을 때 에는 해당자는 구수증서로 유언 할 수도 있다. 이를 위하여 유언자는 그곳의 최 소 2인 이상의 증인 면전에서 유 언을 정하는 의도를 밝혀야 한다. 해당 증인 2인은 지체없이 끄롬 깐암퍼에 출두하여 유언자가 구 두로 지시한 내용을 유언을 작성 한 연월일과 장소 및 특별한 사 정과 함께 신고하여야 한다. 끄롬깐암퍼는 증인이 신고한 내 용을 기록하도록 하며, 해당 증인 2인은 서명하도록 해야한다. 그렇 지 않다면 증인 2인의 보증 서명 을 받아 유언자의 지장을 날인하는 것으로 이에 갈음한다.
전 조에 따라 작성한 유언은 유 언자가 규정한 다른 방식으로 유 언을 작성할 수 있는 상태를 회 복한 날부터 1개월의 기한이 지 난 날 효력을 상실한다.
유언자가 제1656조, 제1658조, 제1660조에 따라 서명하여야 하 는 때에는 그 당시에 증인 2인의 보증 서명을 받아 유언자의 지장 을 날인하는 것으로 이에 갈음한 다.
이 법전 제9조 두번째 단락은 제 1656조, 제1658조, 제1660조에 따라 서명해야 하는 증인에게는 적용하지 아니한다. ❲제9조 두번째 단락 숫자는 1992년에 개정한 민상법전 제1권 의 조항을 적용하도록 하는 법 제15조에 의하여 개정되었다.❳
태국민이 외국에서 유언을 작성 하는 때에는 해당 유언은 유언을 작성하는 나라의 법률이 규정한 방식에 따르거나 태국 법률이 규 정한 방식에 따라 작성할 수도 있다. 태국 법률이 규정한 바에 따라 유언을 작성하는 때에는 제1658 조, 제1660조, 제1661조, 제1662 조, 제1663조에 따른 끄롬깐암퍼 의 권한과 책임은 다음 각 항에 해당하는 사람에게 속한다.
유언자가 유언의 내용을 증인에 게 공개하여 알릴 필요는 없다. 다만, 법률에 다르게 명시된 것은 제외한다.
국가가 전투 또는 전쟁 상황에 있는 때에는 군복무자 또는 군복 무와 관련한 일을 하고 있는 사 람은 제1658조나 1660조 또는 1663조에 규정한 형식에 따라 유 언을 작성할 수도 있다. 그와 같 은 경우 군장교 또는 고위직 군 무원이 끄롬깐암퍼와 같은 권한 과 책임을 갖도록 한다. 이전 조항을 국가를 위하여 전투 또는 전쟁 상황에 있는 외국에서 군복무 중이거나 군복무와 관련 한 일을 하는 사람이 외국에서 유언을 작성하는 경우에 준용하 도록 하며, 이와 같은 경우 군장 교 또는 고위 군무원이 태국 대 사관원 또는 영사관원과 같은 권 한과 책임을 갖는다. 만약 두 단락 전의 내용에 따른 유언자가 병에 걸리거나 부상을 입고 입원 중이라면, 해당 병원의 의사가 경우에 따라 끄롬깐암퍼 또는 태국 대사관원 또는 영사관 원과 같은 권한과 책임을 갖도록 한다.
다음 각 항에 해당하는 사람은 유언을 작성함에 있어서 증인이 될 수 없다.
유언자 이외의 사삼이 유언 내용 작성자인 경우, 해당자는 자신의 서명을 하고 작성자라고 명시하 여야 한다. 만약 해당자가 증인이라면 다른 증인과 마찬가지로 자신의 서명 말미에 자신이 증인이라고 명시 하는 내용을 기재하도록 한다.
내무부와 국방부 및 외무부장관 이 이 민상법전에 따르도록 하기 위하여 관련 비용을 규정하는 것 을 포함한 부령을 제정하는 해당 행정부와 관련한 것만큼의 권한 과 책임을 갖도록 한다.
유언에 의하여 발생하는 권리와 의무는 유언자가 사망한 때부터 요구할 효력이 발생하도록 한다. 다만, 유언자가 후에 요구할 효력 이 발생하도록 하는 조건 또는 기한을 정한 것은 제외한다.
만약 유언 규정이 조건이 있으며, 해항 조건이 유언자의 사망 전에 성취된다면, 정지 조건인 경우 해 당 유언 조항은 유언자가 사망하 였을 때 효력이 발생하며, 해제조 건인 경우 해당 유언 규정은 효 력이 소멸한다. 만약 정지 조건이 유언자 사후에 성취된다면 유언 규정은 조건이 성취된 때부터 효력이 발생한다. 만약 해제조건이 유언자 사후에 성취된다면 유언 규정은 유언자 가 사망한 때부터 효력이 발생한 다. 그러나 해당 조건이 성취되었 을 때 효력이 소멸한다. 그러나 만약 유언자가, 두 단락 전에 언급한 경우에 조건의 성취 가 유언자가 사망한 시점까지 소 급하여 효력이 발생한다고 규정 하였다면 해당 유언자의 의사에 따르도록 한다
유언에 정지 조건이 있을 때, 해 당 유언의 내용에 따른 수혜자는 조건이 성취되는 시각 또는 조건 의 성취가 불가능해질 때까지 해 당 유언에 의하여 양도할 재산관 리인 선임이 되도록 법원에 요청 할 수도 있다. 만약 법원이 타당하다고 판단한 다면 요청한 사람을 재산관리인 으로 선정하고 타당한 바에 따라 보증을 설정하도록 요청한 사람 을 소환한다.
유언은 이 법전 제110조의 조항 에 따른 어떠한 한가지의 이익을 위하여, 재단을 설립할 의무가 있 는 어떠한 사람에 의하여 작성되 거나 직접적으로 재산을 분배하 도록 지시한다. ❲제9조 두번째 단락 숫자는 1992년에 개정한 민상법전 제1권 의 조항을 적용하도록 하는 법 제15조에 의하여 개정되었다.❳
유언이 전항에 다른 재단 설립하 도록 하는 때에는 제114조에 따 라 법인으로 설립하는 권한을 부 여하도록 정부에 요청해야 하는 경우에 따라 상속인 또는 유산관 리인의 책임이 되도록 한다. 다만 유산에 다르게 정한 것은 제외한 다. 만약 해당자가 정부에 권한을 부 여하도록 요청하지 않는다면 이 해당사자 또는 검찰 담당관이 요 청할 수도 있다. ❲제9조 두번째 단락 숫자는 1992년에 개정한 민상법전 제1권 의 조항을 적용하도록 하는 법 제15조에 의하여 개정되었다.
어떠한 재단이 유언에 의하여 법 인으로 설립된 때에는, 유언에 다 른 규정이 있는 것을 제외하고,유언 작성자가 배분한 재산은 그 것을 위한 것으로 간주하도록 한 다.
만약 목적한 바에 따라 재단이 설립되지 못한다면, 재산을 유언 에 명시한대로 상속하도록 한다. 만약 유언이 명시하지 않았다면, 어떠한 1인의 상속인 또는 유산 관리인이나 검찰 담당관 또는 이 해당사자가 요청하였을 때, 법원 은 해당 재산을 유언자의 희망에 가장 가까운 목적을 가졌다고 나 타난 다른 재단에 분배하도록 한 다. 만약 법률에 위배되거나 국민의 안녕질서 또는 미풍양속에 반하 여 이러한 재산 분배가 되지 않 거나 재단이 설립되지 못한다면 재단 설립에 대한 유언 규정은 효력이 소멸한다.
유언자의 채권자는 그 일 때문에 자신이 손해를 입는 정도에 한해 서 재단을 설립하는 유언 규정을 취소하도록 요구할 권리가 있다.
만약 유언의 목적물인 재산이 멸 실이나 훼손 또는 파손되고, 이러 한 상황이 다른 재산을 획득하도 록 하거나 해당 재산을 대신할 보상금을 청구할 권리를 갖도록 하는 결과가 된다면, 상속인은 경 우에 따라 획득한 대체물을 인도 하도록 요구하거나 자신이 보상 금을 청구할 수도 있다.
유언이 채무 면제 또는 청구권 양도로 작성되었을 때 해당 유언 은 유언자가 사망한 때에 지불해 야하는 액수만큼 유효하다. 다만, 유언자가 다르게 정한 것은 제외 한다. 만약 채무 면제 또는 양도한 청 구권의 증거가 되는 서류가 있다 면 상속인에게 인도하고 이 법전 제303조부터 제313조, 제340를 준용하도록 한다. 그러나 만약 유 언자가 그러한 조에 따라 어떠한 행위 또는 이행을 하여야 한다면, 유언에 따라 처리해야 하는 사람 또는 상속인은 유언자를 대신하 여 해당 행위 또는 이행을 할 수 도 있다.
자신의 어떠한 채권자에게 작성 한 유언은 채권자에게 지불해야 할 부채를 청산하기 위하여 작성한 것이 아니라고 우선 추정하도 록 한다.
만약 유언의 어떠한 내용이 여러 가지 의미로 해석될 수도 있다면, 유언자의 목적을 가장 잘 달성할 수 있는 의미를 취하도록 한다.
유언자가 확실하게 인지할 수 있 는 자격을 통해 상속인을 규정한 경우, 만약 유언자가 정한 바에 따른 상속인이 될 자격이 있는 사람이 여러 명이라면, 의혹이 있 는 경우 모든 사람이 동일한 몫 을 받을 권리가 있다고 간주하도 록 한다.
신탁이란 생존하는 동안 효력이 발생되거나 사망하였을 때에 효 력이 상실되는 유언 또는 어떠한 법률 행위로 인하여 직접 또는 간접적으로 설정된다. 다만 신탁 을 설정하기 위하여 법률의 조항 에 따른 권한에 의거하는 것은 예외로 한다.
만약 유언자가 청소년 또는 법원 이 금치산나 한정치산자로 명한 사람이나 정신이상의 사유로 병 원에서 치료하여야 하는 사람에 게 재산을 양도하고자 하나, 그와 같은 사람의 부모, 보호자, 후견 인 또는 후원자 이외의 다른 사 람에게 해당 재산의 관리 및 처 리를 위임하고자 한다면 유언자 는 재산관리인을 임명하여야 한다. 재산관리인의 임명은 경우에 따 라 미성년자로 규정하는 기간 법 원이 금치산자 또는 한정치산자 가 되도록 명한 기한 또는 병원 에서 치료하여야 하는 기한을 초 과하여 임명하지 않도록 금지한 다.
부동산 관련 부분 또는 부동산과 관련한 어떠한 재산권에서의 재 산관리인 임명은 성립되지 않는 것이 마땅하다. 다만 담당관의 면 전에서 등기한 것은 예외로 한다. 이전 단락에서 언급한 규정을 5 톤 이상의 선박 및 수상가옥과 운송수단으로 사용되는 축생에도 적용한다.
이 법전의 제1557조에 명시한 사 람 이외에 법인 또는 온전한 능 력을 갖춘 자연인은 재산관리임 으로 임명될 수도 있다.
재산관리인은 다음 각 항에 의하 여 임명된다.
유언자가 유언장에 다르게 규정 해 둔 것을 제외하고 재산관리인 은 자신을 대신하여 이어서 일을 하도록 다른 사람을 임명하는 유 언을 작성할 수도 있다
유언자가 유언장에 다르게 규정해 둔 것을 제외하고 재산관리인 은 이 법전의 제5권의 의미에 따 른 보호자와 동일한 권리와 책임 이 있다.
유언자는 언제든 자신의 유언장 전체 또는 일부분을 철회할 수도 있다.
만약 새로운 유언장을 통해 기존 유언장 전체 또는 일부분을 철회 한다면, 철회는 새로운 유언장이 법률에서 규정하는 어떠한 한가 지 방식으로 작성되었을 때에 성 립된다.
만약 유언장이 원본 한 부만 작 성되었다면 유언자는 해당 유언 장 전체 또는 일부분을 고의로 파기하거나 지워서 철회할 수도 있다. 만약 유언장이 여러 부 작성되었 다면 모든 원본에 행하여 진 것 을 제외하고 철회가 성립되지 아 니한다.
만약 유언자가 고의로 어떠한 유 언장 조항의 목적물인 재산을 유 효하게 양도하였다면 해당 유언 규정은 철회된다. 이와 같은 방식은 유언자가 고의 로 재산을 멸실하는 때에도 적용 된다.
만약 유언자가 유언장에 다르게 의도를 밝히고 기존의 유언장과 새로운 유언장이 상반된다고 나 타난다면 상반되는 내용이 있는 부분에 한하여 새로운 유언장에 의하여 기존의 유언장이 철회된 다고 간주하도록 한다.
유언의 조항의 다음 각 항에 해 당하는 때에는 실효되는 것이 마 땅하다.
만약 유언장 또는 유언장의 조항 이 어떠한 사항으로 무효가 되는 재산과 관련되었다면 해당 재산 은 경우에 법적상속인 또는 국가 에 귀속된다.
이 장의 조항의 적용 하에서 개 인은 생존하는 동안 또는 사망하 였을 때 효력을 발생하는 법률 행위에 의하여 어떠한 재산을 처 리하며, 수혜자가 해당 재산을 양 도하지 못하도록 하는 금지 규정 을 설정할 수도 있으나 양도 금 지 규정에 대한 위반이 있는 때 에 절대권으로서 해당 재산을 취 득할 사람으로 수혜자 이외의 어 떠한 사람을 지정해 두어야 한다. 상기와 같이 지정된 사람은 해당 재산을 처리하는 행위가 효력이 발생하는 때에 각 권리를 가질 능력이 있는 사람이어야 한다. 만약 양도 금지 규정의 위반이 있는 때에 재산을 취득할 사람을 지정하지 않았다면 양도 금지 규 정은 존재하지 않는 것으로 간주 하도록 한다.
전 조항에 따른 양도 금지 규정 은 기한을 두거나 수혜자의 평생 으로 정할 수도 있다. 만약 양도 금지 기한을 정하지 아니 하였다면 수혜자가 자연인 인 경우에는 양도 금지 규정이 수혜자의 평생으로 기한을 둔 것 으로 간주하도록 한다. 그러나 수 혜자가 법인인 경우에는 단 3년 의 기한을 두도록 한다. 만약 양도 금지 기한을 설정하였 다면 해당 규정은 3년을 초과하 지 않도록 한다. 만약 그보다 장 기로 설정하였다면 3년으로 단축 하도록 한다.
소유권 등기를 할 수 없는 부동 산과 관련한 양도 금지 규정은 존재하지 않는 것으로 간주하도 록 한다. 부동산 또는 부동산 관련 재산권 에 대한 양도 금지 규정은 다만 문서로 작성하여 담당관의 면전 에서 양도 금지 등기한 것을 제 외하고는 성립되지 아니한다. 이전 단락의 규정을 5톤 이상의 선박 및 수상가옥과 운송수단으 로 사용되는 축생에도 적용한다.
만15세 이하인 사람이 작성한 유 언장은 무효가 된다
법원이 금치산자가 되도록 명한 사람이 작성한 유언장은 무효가 된다. 정신이상자라고 일컬어지는 사람 이나 법원에서 금치산자가 되도 록 명령하기 전이라면 해당 유언 장을 작성한 때에 작성한 사람이 정신이상 상태에 있었다고 증명 할 수 있을 때에만 무효가 된다.
유언장 또는 해당 유언장의 규정 이 만약 제1652조나 제1653조, 제1656조, 제1657조, 2ㅔ1658조, 제1660조, 제1661조 또는 제 1663조에 반하여 작성되었다면 당연히 무효가 된다.
유언장의 규정이 다음 각 항에 해당된다면 무효가 된다.
만약 수유자가 유언에 의하여 양 도하는 재산을 다른 사람에게 처 분하도록 하는 조건을 설정하여 수유자를 임명하는 규정이라면 해당 조건은 존재하지 않는 것으 로 간주하도록 한다.
유언자가 사망하였을 때에는 어 떠한 이해당사자라도 협박으로 인하여 작성된 유언장의 폐기를 명하도록 법원에 청원할 수도 있 다. 그러나 만약 유언자가 협박에 서 벗어난 날부터 1년 이상 계속 하여 생존하였다면 해당 청원을 하는 것은 있을 수 없다.
유언자가 사망하였을 때에는 어 떠한 이해당사자라도 만약 오해 또는 사기가 없었다면 해당 유언 장이 작성되지 않았을 정도의 오 해 또는 사기이 때에 대하여 요 해 또는 사기로 인하여 작성된 유언장의 폐기를 명하도록 법원 에 청원할 수도 있다. 이전 단락의 내용은 비록 해당 사기가 유언에 따른 수혜자가 아 닌 사람이 작성한 것이라도 적용 하도록 한다. 그러나 유언자가 오해 또는 사기 에 대하여 인지할 날부터 1년 이 내에 해당 유언장을 폐기하지 아 니 한 때에는 오해 또는 사기에 의하여 작성된 유언장은 당연히 구속력이 있다.
유언 규정을 폐기하도록 요청하 는 제소 사건은 다음 각 항의 기 한이 만료되었을 때에는 제소하 지 않도록 한다.
상속재산관리인은 유언 또는 법 원의 명령에 의하여 임명된 사람 을 모두 포함한다.
유언에 의한 상속재산관리인은 다음 각 항에 의하여 임명될 수도 있다.
다음 각 항에 해당하는 경우에는 상속인이나 이해당사자 또는 검 찰 담당관이 법원에 상속재산관 리인을 임명해 주도록 청원할 수 도 있다.
법원이 어떠한 사람을 특정한 업 무를 위한 상속재산관리인으로 임명한 때에 해당자는 상속재산 목록을 작성하여야 한다. 다만 그 러한 업무를 위하여 필요하거나 법원이 행하도록 명령한 것은 제 외한다.
유언자는 한 사람 또는 여러 사 람의 상속재산관리인을 임명할 수도 있다. 다만 유언장의 규정이 다르게 정한 것은 제외한다. 만약 상속재산관리인이 여러 사람이나 상속재산관리인 중 일부가 처리 할 능력이나 성의가 없고 상속재 산관리인이 한 사람만 남아 있다 면 해당자가 단독으로 유산을 관 리할 권리를 갖는다. 그러나 상속 재산관리인이 여러 사람 남아 있 다면 해당 관리인들 각자가 단독 으로 처리할 수 없다고 우선 가 정해 두도록 한다.
법원이 임명하는 상속재산관리인 의 임무는 법원의 명령을 청취하 였거나 청취하였다고 간주되는 날부터 착수하도록 한다.
유산의 소유자가 사망한날부터 1 년 이내이나 재산의 소유주가 사 망한 15일 이후의 어떠한 때에 상속인 또는 이해당사자 누구라 도 유언에 의하여 상속재산관리 인으로 임명된 사람에게 상속재 산관리인이 되는 것에 대한 수락 여부를 질문할 수도 있다. 만약 질문을 받은 사람이 질문을 받은 날부터 1개월 이내에 상속 재산관리인이 되는 것에 대하여 수락하는 답변을 하지 않는다면 해당자가 거절한 것으로 간주하 도록 한다. 그러나 상속재산관리 인이 되는 것에 대한 수락은 법 원이 허가하는 것을 제외하고 유 산의 소유주가 사망한 날부터 1 년이 지난 후에는 할 수 없다.
다음 각 항에 해당하는 사감은 상속재산관리인인 될 수 없다.
상속재산관리인은 유언장의 명확 하거나 함축적인 명령에 따르도 록 하고 유산을 전반적으로 처리 하거나 유산을 분배하기 위하여 필요한 일을 할 권리와 책임이 있다.
상속재산관리인은 이 법전의 제 809조부터 제812조, 제819조, 제 812조에서 규정한 바를 준용하여 상속인에 대하여 책임져야 하며 제3자가 관련된 때에는 제831조 를 준용하도록 한다
상속재산관리인은 유산에서 사례 금을 받을 권리가 없다. 다만 유 언 또는 대다수의 상속인이 정해 둔 것은 제외한다.
상속재산관리인은 자신이 유산에 대립하여 이해관계가 있는 어떠 한 법률 행위도 행할 수 없다. 다 만 유언이 허가하거나 법원으로 부터 허가를 받은 것은 제외한다.
상속재산관리인은 자신이 스스로 처리하여야 한다. 다만 유언에 명 확하거나 함축적으로 둔 권한에 따르거나 명령에 의하여 또는 유산에 이익이 되는 상황에서 대 리인에 의하여 행하여 지는 것은 제외한다.
상속인은 상속재산관리인이 상속 재산관리인의 자격 권한 범위 내 에서 행한 업무 전체에서 제3자 에 대하여 마땅히 연계성이 있다. 만약 제3자가 개인 소유로 제공 하였거나 제공할 것이고 약정한 어떠한 재산이나 기타 이익만을 위하여 상속재산관리인이 제3자 와 법률행위를 하였다면 상속인 은 연계성을 갖지 아니한다. 다만 상속인인 허용한 것은 제외한다.
상속재산관리인은 합당한 기간 내에 응당히 이해당사자를 찾아 야 하며 이해당사자와 관련된 유언 조항을 통지하여야 한다.
만약 상속재산관리인이 여러 사 람 있다면 상속재산관리인의 임 무에 따라 업무를 행하는 것은 다수결에 따라야 한다. 다만 유언 에 다르게 정한 것은 제외한다. 만약 동률이라면 이해당사자가 청원하는 때에는 법원이 판결하 도록 한다.
이해당사자는 상속재산관리인이 임무를 방기한 사유 또는 기타 합당한 사유로 법원에 상속재산 관리인의 해임을 청원할 수도 있 다. 그러나 유산 분할이 종료되기 전에 청원하여야 한다. 비록 직을 수락하였다고 하더라 도 상속재산관리인은 합당한 사유로 직에서 사임할 수도 있다. 그러나 법원으로부터 허가를 받 아야 한다.
상속재산관리인은 다음 각 항의 어느 하나에 해당하는 날부터 15 일 이내에 상속재산목록 작성을 착수하여야 한다.
상속재산관리인은 제1728조에 명 시한 시기에서 15일 이내에 상속 재산목록 작성을 완료하여야 한 다. 그러나 이 기한은 1개월의 기 한이 만료하기 전 상속재산관리 인이 요청하였을 때에는 법원이 연장하도록 허가할 수도 있다. 해당 장부는 유산에 대하여 이해 당사자가 되는 2인 이상 증인의 면전에서 작성되어야 한다. 제1670조에 의거하여 유언 작성 의 증인이 될 수 없는 사람은 이 법전의 조항에 따라 작성하여야 하는 어떠한 장부를 작성하는 데 에도 증인이 될 수 없다.
제1563조, 제1564조 첫번째 단락 과 두번째 단락 및 제1565조를 상속인과 유언에 의한 상속재산 관리인 간 그리고 법원과 법원이 임명한 상속재산관리인 간에 준 용한다.
만약 상속재산관리인이 기한 내 에 정한 양식대로 장부를 작성하 지 않거나 만약 중대한 과실이나 부정행위 또는 상속재산관리인의 자명한 무능력으로 인하여 해당 장부가 법원에 만족스럽지 못한 것이라면 법원은 해당 상속재산 관리인을 면직할 수 있다
상속재산관리인은 임무에 따라 처리하여야 하며 처리 목록을 표 시하는 보고서를 작성하여야 한 다. 또한 제1728조에 명시해 놓 은 날부터 1년 이내에 유산 분할을 완료하여야 한다. 다만 유언자 나 대다수의 상속인 또는 법원이 다르게 정한 기간은 예외로 한다.
제1732조에 규정한 유산 처리 목 록을 표시하는 보고서와 관련한 인가, 박탈, 책임 또는 기타 결정 은 해당 목록을 표시하는 보고서 가 그와 관련한 서류와 함께 최 소한 10일 이전에 상속인에게 사 전에 인도되었을 때에 성립된다. 유산 처리와 관련한 사건은 상속 인이 유산 처리가 종료된 날부터 5년을 초과하여 제소하지 않도록 한다.
유산에 대한 채권자는 유산 범위 내에서만 채무변제를 받을 수 있 다.
상속인은 자신이 알고 있는 사망 자의 모든 상속재산과 부채를 반 드시 상속재산관리인에게 고지하 여야 한다.
만약 채무 변제를 받지못하였거 나 유언에 따른 부분을 수령하지 못한 유산에 대한 채무자 또는 유증자가 나타난다면 유산에 대 한 처리가 완료되지 아니한 것으 로 간주하도록 한다. 이와 같은 때에는 상속재산관리 인이 소송의 제기 또는 소송의 정정과 같이 필요한 바에 따른 처리 방법에 있어서 어떠한 일을 할 정당한 권리가 있다. 한편 상 속재산관리인은 가능한 빠른 시 일 내에, 채무가 변제되지 아니한 유산에 대하여 채무를 변제하도 록 하기 위하여 필요에 따른 모 든 일을 하여야 하며, 유산에 대 한 채권자가 채무를 변제 받은 때에 유산을 분배한다.
채권자는 어떠한 상속인에 대하 여 청구권을 행사할 권리가 있으 나, 상속재산관리인이 있다면 채 권자가 소송에 참여하여 청구하 도록 한다
유산을 분배하기 전에 채권자는 유산에서 채무 전액을 변제하도 록 강제할 수도 있다. 이와 같은 경우 상속인은 유언자의 유산에 서 채무를 변제하도록 요청하거 나 유산을 분배할 때까지 담보로 갖도록 요구할 수도 있다. 유산 분배가 완료되었을 때에 채 권자는 상속인에게 해당 상속인 이 상속한 유산을 초과하지 아니 하는 부채에 대해서만 변제를 요 구할 수 있다. 이와 같은 경우, 유산에 대한 채권자에게 자신이 균분하여 변제해야 할 부분을 초 과하여 채무 변제한 상속인은 다 른 상속인으로부터 보상을 요구 할 수 있는 권리가 있다.
유산이 변제하지 아니한 채무는 이 법전 또는 기타 법률에 의거 하여 특별 우선권이 있는 모든 채권자와 담보 또는 저당에 의하 여 보장을 가진 모든 채권자 전 부에게 손해가 되지 아니하도록 하여, 다음과 같은 순서와 우선권 에 관한 이 법전의 조항에 따라 변제하도록 한다.
유언자 또는 법률이 다르게 규정 한 것을 제외하고 채무 변제를 위한 유언자의 재산을 다음 순서 에 따라 배분하도록 한다
유산에 대한 채권자는 자신의 비 용을 지불함으로써 이전 조에 명 시해 놓은 경매 또는 자산 가격 감정에 대한 이의를 제기할 수도 있다. 채권자의 이의 제기에도 불 구하고 감정이나 평가가 진행되 는 경우 해당 채권자의 이의 제 기에 반하는 감정이나 평가는 성 립되지 아니한다
만약 자신에게 변제되지 아니 한 채무의 변제에서 어떠한 채권자 가 사망자가 생존한 기간 동안에 생명보험의 수혜자로 설정되었다 면, 해당 채권자는 보험자와 합의 한 전액을 수령할 정당한 권리가 갖는다. 한편, 그와 같은 채권자 는 다른 채권자가 다음 각 항을 증명할 수 있는 때에는 반드시 보험금을 유산으로 반환하여야 한다.
법정상속인 또는 일반적인 형태 로 수증한 사람은 본인이 받은 유산 액수를 넘는 특정 형태 유언의 규정을 이행할 필요가 없다
상속재산관리인은 유언자가 사망 한 날부터 1년 이전에는 상속인 에게 유산 또는 유산의 일부분을 인도할 필요가 없다. 다만 채권자 와 유증자가 출현하여 유언에 따 른 채무 변제와 몫을 수령하는 것은 예외로 한다.
만약 다수의 상속인이 존재한다 면 해당 상속인들은 유산 분할이 완료되기까지 유산과 관련한 공 동 권리와 책임이 있으며, 이 권 에 위배되지 아니하는 경우에 한 하여 이 법전의 제1354조부터 1366조까지를 적용하도록 한다.
법률 또는 만약 있다면 유언 내 용의 적용 하에서 상속인인 사람 들 간에는 아직 분배되지 않은 유산의 동일한 부분을 갖는다고 우선 추정해 두도록 한다.
유언자가 생존해 있는 동안의 호 의로 인한 수여 또는 다른 방법 으로 어떠한 상속인이 어떠한 재 산 또는 어떠한 혜택을 수령하는 것은 유산 분할에 있어서의 어떠 한 사항에 의하여서라도 해당 상 속인의 권리를 훼손시키지 아니 한다.
어떠한 상속인이 아직 분할되지 아니한 유산을 관리한다면, 비록 제1751조에 따른 시효를 벗어나 더라도, 해당 상속인은 유산 분할 을 요청할 권리가 있다. 이전 단락에 따라 유산 분할을 요청할 권리는 회당 10년을 초과 하는 법률행위에 의하여 배제될 수 없다
만약 유산 청구 소송이 있는 경 우 자신이 해당 유산에 대한 권 리를 가진 상속인이라고 주장하 는 사람은 소송에 참여하도록 요 구할 수도 있다. 그러나 법원은 소송 당사자 또는 참여를 요구한 사람 이외의 다른 상속인을 소환하여 유산 분할분 을 수령하도록 하거나 일부분을 보전해 두도록 할 수 없다.
유산 분할은 상속인 각자가 비율 로 재산 관리를 하거나 자산을 매각하여 매각 대금을 수령함으 로써 상속인 간에 유산을 분할할 수 있다. 만약 재산 분할이 이전 단락에 따르지 아니하였으나 약속에 따 라 행하여 진다면 그 집행을 요 구하는 소송을 제기할 수 없다. 다만, 책임자 또는 책임자가 서명 한 어떠한 문서를 물적 증거로 갖춘 것은 예외로 한다. 이와 같 은 경우 타협에 관한 이 법전의 제850조, 제852조를 준용하도록 한다.
유산 분할이 완료된 이후, 만약 어떠한 상속인 1인이 분할분에 따라 수령한 재산 전부 또는 일 부를 권리 박탈로 인하여 상실하였다면, 다른 상속인들이 보상금 을 지불해야한다. 다른 합의가 있었거나 권리의 박 탈이 권리를 박탈당한 상속인의 잘못 또는 분할 이후에 발생한 원인에 의한 결과인 때에는 그와 같은 보상이 중지된다. 다른 상속인들은 자신의 분할분 에 따라 권리가 박탈된 상속인에 게 보상금을 지불해야한다. 그러 나 권리를 박탈당한 상속인이 함 께 지급하여야 하는 평균 금액을 공제하도록 한다. 그러나 만약 어 떠한 상속인 1인이 감당할 수 없 는 부채가 있다면 다른 상속인들 이 마찬가지의 비율에 따라 해당 상속인의 부분에 대하여 책임을 져야한다. 그러나 보상금을 수령 할 상속인이 감당할 수 없는 부 채가 있는 상속인을 대신하여 지 불해야하는 평균 금액을 공제하도록 한다. 이전 규정들은 특정 유증자에게 는 적용하지 아니하도록 한다.
제1751조에 의거한 권리 박탈로 인한 책임을 지도록 하는 소송은 권리가 박탈당한 날부터 3개월의 기한이 만료한 때에는 제소하지 아니하도록 한다.
유산 채권자의 권리 적용 하에 어떠한 사람이 법정 상속인 또는 유증자가 없거나 유언에 따른 재 단의 설립이 없이 사망한 때에는 해당자의 유산이 국가의 소유가 된다.
유언자가 사망한 날 또는 법정상 속인이 유언자의 사망을 인지한 날이나 인지함이 마땅한 날부터 1년의 시효가 만료한 때에는 유 산 소송을 제기하지 아니하도록 금지한다. 유언의 규정에 따른 청구 소송은 유증자가 자신의 권리를 인지한 날 또는 인지함이 마땅한 날부터 1년의 기한이 만료한 때에는 소 송을 제기하지 아니하도록 한다. 이 법전 제193의27조 적용 하에 서 만약 유언자에 대한 채권자의 청구권은 1년의 시효보다는 기한 이 길다. 해당 채권자가 유언자의 사망에 대하여 인지한 날 또는 인지함이 마땅한 날부터 1년의 기한이 만료된 때에는 청구 소송을 제기하지 아니하도록 한다. 어떠한 경우이든 이전 단락에서 언급한 바에 따른 청구권은 유언 자가 사망한 날부터 10년의 기한 이 만료된 때에는 청구 소송을 제기하지 아니하도록 한다. ❲제193조의27조의 숫자는 1992 년에 새로 개정된 민상법전 제1 권을 적용하도록 하는 법의 제15 조에 의하여 정정 추가되었다.❳
1년의 시효는 상속인이나 상속인 의 권리를 정당하게 사용할 수 있는 사람 또는 상속재산관리인 에 의해서만 대응될 수 있다.