로고

พระราชบัญญัติ การส่งเสริมวิทยาศาสตร์ การวิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. ๒๕๖๒ 2019 년 과학과 연구 및 혁신 촉진법

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลง กรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นปีที่ ๔ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลง กรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรด เกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ การวิจัยและนวัตกรรม พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจ ากัด สิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๖ ประกอบกับ มาตรา ๓๒ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติ ให้กระท าได้โดยบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เหตุผลและความจ าเป็นในการจ ากัดสิทธิและเสรีภาพของ บุคคลตามพระราชบัญญัตินี้ เพื่อให้นโยบาย ยุทธศาสตร์ และ แผนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ น าไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม รวมทั้งการก ากับ ติดตาม และประเมินผลการด าเนินการดังกล่าวเป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพ ซึ่งการตราพระราชบัญญัตินี้สอดคล้องกับ เงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๒๖ ของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทยแล้ว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้ โดยค าแนะน าและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติท า หน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้ 마하 와치라롱껀 국왕 폐하께서 재위 4 번째 해인 2019(불기 2562)년 5 월 24 일에 하사하셨다. 마하 와치라롱껀 국왕께서는 다음과 같이 공포하도록 하셨다. 과학과 연구 및 혁신 촉진 관련 법률을 제정하는 것이 합당하다. 이 법은 개인의 권리와 자유를 제한하는 특정 조항이 포함되어 있으며 태국 「헌 법」 제 26 조는 제 32 조와 결부되어 법 의 규정에 따라 행하도록 정하고 있다. 이 법에 따른 개인의 권리와 자유의 제한 에 대한 이유와 필요성은 국가의 과학, 연구 및 혁신 분야의 정책, 전략 및 계획 을 구체적으로 운영하고 이에 대한 결과 를 효율적으로 감독·점검하며 평가하기 위함이다. 이 법의 제정은 「태국 헌법」 제 26 조에서 정한 조건과 부합한다. 이에 국왕께서는 의회의 조언과 동의를 받아 다음의 법률을 제정하는 바이다

มาตรา ๑

พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ การวิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. ๒๕๖๒”

มาตรา ๒

พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

มาตรา ๓

ในพระราชบัญญัตินี้ “การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี” หมายความว่า การ ด าเนินกิจการที่เป็นการเพิ่มพูนความรู้และความสามารถทาง วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ผ่านกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และวิศวกรรม เพื่อยกระดับความสามารถใน การผลิตและการบริการ ตลอดจนความสามารถในการ แข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศ และความเป็นอยู่ของ สังคม โดยรวมถึงการพัฒนาบุคลากรและโครงสร้างพื้นฐาน และการพัฒนาขีดความสามารถในการรับและถ่ายทอด เทคโนโลยีทั้งภายในและจากต่างประเทศเพื่อการพัฒนา ประเทศในทุกด้าน “การวิจัย” หมายความว่า การศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ หรือ ทดลองอย่างเป็นระบบ อันจะท าให้ได้มาซึ่งข้อเท็จจริง ความรู้ใหม่ หรือหลักการไปใช้ในการตั้งกฎ ทฤษฎี แนวทาง ในการปฏิบัติเพื่อเป็นพื้นฐานของการพัฒนาด้าน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และ ศิลปวิทยาการแขนงต่าง ๆ รวมทั้งเพื่อสร้างนวัตกรรม อันจะ สามารถน ามาใช้ประโยชน์ได้ “ระบบวิจัย” หมายความว่า การท างานร่วมกันอย่างเป็น ระบบของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านการวิจัยและนวัตกรรม เพื่อสร้างความเชื่อมโยงกันอย่างประสานสอดคล้องและ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อน าไปสู่การบรรลุเป้าหมาย ตามที่ก าหนด “มาตรฐานการวิจัย” หมายความว่า ข้อก าหนดเกี่ยวกับ คุณลักษณะและคุณภาพที่พึงประสงค์ของการวิจัยและ นวัตกรรมที่ต้องการให้เกิดขึ้นในทุกกระบวนการของการวิจัย และนวัตกรรมอย่างเป็นระบบและสอดคล้องกับ มาตรฐานสากล ทั้งนี้ รวมถึงจริยธรรมที่นักวิจัยพึงปฏิบัติด้วย “ข้อมูลการวิจัย” หมายความว่า ข้อมูลที่เกี่ยวกับโครงการ และผลงานการวิจัยและนวัตกรรม งบประมาณ บุคลากร ทรัพย์สินทางปัญญาที่เกิดจากการวิจัยและนวัตกรรม และ ข้อมูลอื่นที่เกี่ยวกับการวิจัยและนวัตกรรม “นวัตกรรม” หมายความว่า ผลิตภัณฑ์ สิ่งประดิษฐ์ บริการ กรรมวิธีที่เกี่ยวกับการผลิต การจัดโครงสร้างองค์กร ระบบ บริหารจัดการ การบริหารการเงิน ธุรกิจ การตลาด หรือใน การอื่นใด ทั้งนี้ ซึ่งเป็นสิ่งใหม่หรือพัฒนาให้ดีขึ้นกว่าเดิม อย่างมีนัยส าคัญ และน าไปใช้ประโยชน์ได้ในวงกว้างทั้ง ใน เชิงพาณิชย์และสาธารณะ “หน่วยงานในระบบวิจัยและนวัตกรรม” หมายความว่า หน่วยงานของรัฐและเอกชน รวมทั้งสถาบันอุดมศึกษาที่ ด าเนินการเกี่ยวกับการวิจัยและนวัตกรรม “นโยบาย” หมายความว่า นโยบายและยุทธศาสตร์ด้าน วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ “งบประมาณ” หมายความว่า งบประมาณส่งเสริม วิทยาศาสตร์ การวิจัยและนวัตกรรม “บุคลากร” หมายความว่า บุคลากรวิจัยและนวัตกรรม “หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม ส่วน ราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม ราชการส่วน ภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ องค์การ มหาชน และหน่วยงานอื่นของรัฐ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะอยู่ใน บังคับบัญชาหรือก ากับดูแลของฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ าย บริหาร ฝ่ายตุลาการ องค์กรอัยการ หรือองค์กรอิสระ “สภานโยบาย” หมายความว่า สภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติตามกฎหมายว่า ด้วยสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรมแห่งชาติ “กสว.” หมายความว่า คณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมตามกฎหมายว่าด้วยสภานโยบายการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาต “ส านักงานการวิจัยแห่งชาติ” หมายความว่า ส านักงานการ วิจัยแห่งชาติตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม “สอวช.” หมายความว่า ส านักงานสภานโยบายการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติตาม กฎหมายว่าด้วยสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ “สกสว.” หมายความว่า ส านักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมตามกฎหมายว่าด้วยสภา นโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม แห่งชาติ “กองทุน” หมายความว่า กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรมตามกฎหมายว่าด้วยสภานโยบายการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ “กระทรวง” หมายความว่า กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

มาตรา ๔

ให้นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม รักษาการตาม พระราชบัญญัตินี้ และให้มีอ านาจออกกฎกระทรวงและ ระเบียบเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงและระเบียบนั้น เมื่อประกาศในราชกิจจา นุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้

หมวด ๑ บททั่วไป

มาตรา ๕

รัฐต้องให้การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีการวิจัยและนวัตกรรม และศิลปวิทยาการแขนง ต่าง ๆ ของประเทศทั้งระบบ เพื่อสร้างความรู้น าไปใช้ก าหนด นโยบายสาธารณะ และการพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมให้ เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจและประโยชน์ทางสังคม ความมั่นคง และสิ่งแวดล้อม โดยด าเนินการ ดังต่อไปนี้

(๑) ก าหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ชาติ แผนแม่บท และแผนอื่น รวมทั้งนโยบายของรัฐบาล

(๒) จัดสรรงบประมาณเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและนวัตกรรมให้เหมาะสมและสอดคล้อง กับความต้องการและความจ าเป็นของหน่วยงานของรัฐใน ระบบวิจัยและนวัตกรรม

(๓) จัดให้มีโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและนวัตกรรม และโครงสร้างพื้นฐานด้าน คุณภาพที่เพียงพอ

(๔) จัดให้มีกลไกและมาตรการสนับสนุน อ านวยความ สะดวกแก่การวิจัยและนวัตกรรม และการให้สิทธิประโยชน์ และแรงจูงใจที่เหมาะสมแก่การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและนวัตกรรม

(๕) สนับสนุนและช่วยเหลือการจดทะเบียนสิทธิในทรัพย์สิน ทางปัญญา

(๖) สนับสนุนการมีส่วนร่วมและการใช้ประโยชน์จาก ผลงานวิจัยและนวัตกรรมโดยภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน และภาคประชาสังคม

(๗) ส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและพัฒนาบุคลากรที่มี คุณภาพ

(๘) ปรับปรุงกฎหมาย กฎ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งจัด ให้มีกฎหมายใหม่เพื่อเอื้อต่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและนวัตกรรม

(๙) ส่งเสริมวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและ นวัตกรรมในสาขาใหม่ให้ทันกับ พัฒนาการของวิทยาการใน โลก

มาตรา ๖

นโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรมของประเทศย่อมเป็นแนวทางปฏิบัติและก ากับ ทิศทางในการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและ นวัตกรรมของหน่วยงานในระบบวิจัยและนวัตกรรม และใน การจัดสรรงบประมาณเพื่อพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ

มาตรา ๗

เพื่อบูรณาการและขับเคลื่อนระบบวิจัยและนวัตกรรม ทางด้านนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผน บุคลากร งบประมาณ และกฎหมาย ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ให้จัดประเภท หน่วยงานในระบบวิจัยและนวัตกรรม ดังต่อไปนี้

(๑) หน่วยงานด้านนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผน และ งบประมาณเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม

(๒) หน่วยงานด้านการให้ทุน

(๓) หน่วยงานที่ท าวิจัยและสร้างนวัตกรรม

(๔) หน่วยงานด้านมาตรวิทยา มาตรฐาน การทดสอบและ บริการคุณภาพวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

(๕) หน่วยงานด้านการจัดการความรู้จากงานวิจัยและ นวัตกรรม และหน่วยงานซึ่งเป็นผู้ใช้ประโยชน์จากงาน ดังกล่าว

(๖) หน่วยงานด้านอื่นตามที่สภานโยบายก าหนด หน่วยงานในระบบวิจัยและนวัตกรรมหน่วยงานใดจะจัดอยู่ใน ประเภทใดตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่สภานโยบายประกาศ ก าหนด ให้หน่วยงานตามมาตรานี้ด าเนินการเพื่อให้เป็นไปตาม ตัว ี ช้วัดผลสัมฤท ิ ธ์ตามที่ กสว. กาหนด เว้นแต่สภานโยบาย จะก าหนดเป็นอย่างอื่น การเปลี่ยนประเภทหน่วยงานตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่ สภานโยบายประกาศก าหนด

มาตรา ๘

การก ากับดูแลหน่วยงานในระบบวิจัยและนวัตกรรมจะ กระท าได้เพียงเท่าที่จ าเป็นเพื่อรักษาคุณภาพ มาตรฐานการ วิจัย และประโยชน์ของประชาชนหรือประเทศเป็นส่วนรวม โดยจะกระทบต่อเสรีภาพทางวิชาการของหน่วยงานนั้นใน การวิจัยและสร้างนวัตกรรมมิได้

มาตรา ๙

ห้ามมิให้หน่วยงานตามมาตรา ๗ (๑) และ (๒) ท าวิจัยและ สร้างนวัตกรรมเอง เว้นแต่เป็นการวิจัยหรือสร้างนวัตกรรม เพื่อพัฒนาการปฏิบัติงานตามหน้าที่และอ านาจของ หน่วยงานนั้น ห้ามมิให้กรรมการ ผู้บริหาร ข้าราชการ พนักงาน หรือ ลูกจ้างของหน่วยงานในระบบวิจัยและนวัตกรรม กระท า การใดอันเป็นการขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ส่วนบุคคลกับ ผลประโยชน์ส่วนรวมหรือขัดแย้งระหว่างบทบาทหรือหน้าที่ และอ านาจ เว้นแต่จะเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขที่สภานโยบายก าหนด

มาตรา ๑๐

ในกรณีที่รัฐด าเนินการโครงการพัฒนาประเทศที่ต้องพึ่ง เทคโนโลยีสมัยใหม่จากต่างประเทศ ให้รัฐจัดสรร งบประมาณส่วนหนึ่งของโครงการดังกล่าว เพื่อสร้าง ความสามารถในการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้แก่ผู้ประกอบการ ชุมชน และสังคมอย่างเป็นระบบ เพื่อประโยชน์ในการผลิตวัสดุ อุปกรณ์ การให้บริการ การ พัฒนาทักษะวิชาชีพชั้นสูง การทดสอบการรับรองมาตรฐาน และคุณภาพ เพื่อใช้ในโครงการตามวรรคหนึ่งในระยะยาว โดยไม่ต้องพึ่งพาต่างประเทศ ให้รัฐจัดสรรงบประมาณให้ หน่วยงานในระบบวิจัยและนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับการ ด าเนินการดังกล่าวเพื่อพัฒนาขีดความสามารถให้สามารถ ด าเนินการดังกล่าวได้เอง

มาตรา ๑๑

เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ให้มีการส่งเสริมความร่วมมือของทุกภาคส่วนในการพัฒนา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและนวัตกรรม ดังต่อไปนี้

(๑) ให้องค์กรวิชาการและวิชาชีพมีส่วนร่วมในการศึกษา วิจัย และสร้างนวัตกรรมในกระบวนการให้การศึกษาหรือ ให้บริการวิชาชีพ เผยแพร่ผลการศึกษาวิจัยและนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาชุมชน สังคม และประเทศ และเป็นแหล่ง ทรัพยากรบุคคลที่พร้อมให้ข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์หรือ ศึกษาเพิ่มเติม เพื่อให้รัฐมีแหล่งข้อมูลเพื่อใช้ในการตัดสินใจ ที่อยู่บนพื้นฐานความจริงทางวิทยาศาสตร์

(๒) ให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วมส าคัญในการน าเสนอนโยบาย ลงทุนและร่วมทุน ตลอดจนร่วมท าวิจัยและนวัตกรรมกับ หน่วยงานของรัฐ รวมทั้งใช้ประโยชน์จากงานวิจัยและ นวัตกรรมเพื่อการผลิตและให้บริการ

(๓) ให้หน่วยงานของรัฐส่งเสริมการน างานวิจัยและ นวัตกรรมไปใช้ในการก าหนดนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม หรือการประกอบการในความรับผิดชอบ

(๔) ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชนท้องถิ่น และชุมชนอื่นมีส่วนร่วมและเข้าถึงงานวิจัยและนวัตกรรม รวมทั้งน าผลงานดังกล่าวไปใช้ประโยชน์ในกิจการของ ท้องถิ่น ชุมชน หรือสมาชิก

(๕) ให้หน่วยงานภาคประชาสังคมมีส่วนร่วมในการให้ ความเห็น ความร่วมมือ และการสร้างความตระหนักใน ความส าคัญของการวิจัยและนวัตกรรม

(๖) หน่วยงานในระบบวิจัยและนวัตกรรมพึงร่วมมือกับ บุคคลหรือหน่วยงานในต่างประเทศซึ่งเป็นที่ยอมรับอย่าง กว้างขวางในการศึกษาวิจัย การสร้างนวัตกรรม การ ถ่ายทอดวิทยาการหรือเทคโนโลยีการลงทุนหรือร่วมทุนซึ่ง เกี่ยวกับการวิจัยและนวัตกรรม

(๗) การก ากับ เร่งรัด ติดตามและการประเมินผลให้ ด าเนินการเท่าที่จ าเป็นเพื่อส่งเสริมการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและนวัตกรรม โดยเน้นการมีส่วนร่วม ของผู้ที่เกี่ยวข้อง

หมวด ๒ การด าเนินงานตามนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม

ส่วนที่ ๑ นโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนด้าน วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

มาตรา ๑๒

นโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรมของประเทศที่สภานโยบายจัดท าขึ้นตามกฎหมาย ว่าด้วยสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรมแห่งชาติ อย่างน้อยต้องมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้

(๑) วิสัยทัศน์ เป้าหมาย และยุทธศาสตร์หลัก

(๒) ระบบ กลไก และแนวทางการขับเคลื่อนระบบวิจัยและ นวัตกรรมของประเทศ รวมถึงการจัดสรรงบประมาณ การ จัดระบบแรงจูงใจ และการอ านวยความสะดวก

(๓) แนวทางและมาตรการส่งเสริมและสนับสนุนการลงทุน เพื่อการวิจัยและนวัตกรรม

(๔) กลไกการน าผลงานวิจัยและนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การถ่ายทอดเทคโนโลยี และการท าให้ผลงานดังกล่าวเกิดมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ

(๕) แนวทางและมาตรการพัฒนาบุคลากร

(๖) การก าหนดภารกิจของหน่วยงานของรัฐที่ต้องด าเนินการ เพื่อให้เป็นไปตามแผนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ให้สภานโยบายจัดให้มีการจัดท าแผนงานแต่ละด้านตาม แผนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมตามวรรคหนึ่ง และ กรอบวงเงินงบประมาณในแต่ละแผนงาน รวมถึงผลลัพธ์ที่คาดว่า จะได้รับ

มาตรา ๑๓

ภายใต้บังคับมาตรา ๓๔ เมื่อคณะรัฐมนตรีอนุมัตินโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนตามมาตรา ๑๒ แล้ว ให้หน่วยงานของ รัฐที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและนวัตกรรมจัดท า แผนปฏิบัติการด้านการวิจัยและนวัตกรรมของหน่วยงานที่ สอดคล้องกับแผนดังกล่าวเสนอต่อ สอวช. ในกรณีที่เห็นสมควร สอวช. อาจแจ้งให้หน่วยงานของรัฐตาม วรรคหนึ่งแก้ไขปรับปรุงแผนปฏิบัติการเพื่อให้สอดคล้องกับ แผนตามมาตรา ๑๒ ได้

มาตรา ๑๔

ให้ สอวช. ติดตามการด าเนินงานของหน่วยงานของรัฐใน ระบบวิจัยและนวัตกรรมตามแผนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรมของประเทศตามมาตรา ๑๒ เพื่อสนับสนุน ช่วยเหลือ หรือประสานการด าเนินการที่จ าเป็น รวมทั้งให้ ค าแนะน า เร่งรัด หรือขอให้ปรับปรุงแผนปฏิบัติการหรือการ ด าเนินงานตามแผนปฏิบัติการให้เป็นไปอย่างเหมาะสม และ มีประสิทธิภาพเพื่อให้สอดคล้องกับแผนตามมาตรา ๑๒ ในกรณีที่ สอวช. เห็นว่าแผนปฏิบัติการหรือการด าเนินงาน ตามแผนปฏิบัติการของหน่วยงานของรัฐไม่เป็นไปตามแผน ตามมาตรา ๑๒ ให้เสนอความเห็นต่อสภานโยบายเพื่อ พิจารณา เมื่อสภานโยบายมีมติสั่งการเป็นประการใดให้ หน่วยงานของรัฐปฏิบัติการตามมตินั้นโดยเร็ว

มาตรา ๑๕

การประเมินผลการด าเนินงานตามแผนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ และการประเมินผลการ ด าเนินงานของหน่วยงานในระบบวิจัยและนวัตกรรม ให้ เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ การก ากับ เร่งรัด ติดตามและประเมินผลให้ด าเนินการ เท่าที่จ าเป็นเพื่อส่งเสริมการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและนวัตกรรมโดยเน้นการมีส่วนร่วมของผู้ท เกี่ยวข้อง

ส่วนที่ ๒ งบประมาณและการพัสด

มาตรา ๑๖

การก าหนดกรอบวงเงินงบประมาณประจ าปีด้าน วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม การท าค าของบประมาณ และการจัดสรรงบประมาณด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรมให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยสภานโยบายการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ และ กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายของแผนด้าน วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ กสว. ต้อง จัดท าประมาณการกรอบวงเงินงบประมาณรวมที่ต้องใช้ ตามแผนแต่ละด้านเสนอต่อสภานโยบาย โดยระบุว่าปีใด ต้องใช้งบประมาณเท่าใด

มาตรา ๑๗

ให้หน่วยงานในระบบวิจัยและนวัตกรรมที่จะของบประมาณ จัดท าค าของบประมาณ ดังต่อไปนี้

(๑) ค าของบประมาณรายจ่ายประจ าและรายจ่ายตาม ภารกิจของหน่วยงานที่มิใช่โครงการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และโครงการวิจัยและนวัตกรรม ให้เสนอต่อส านัก งบประมาณได้โดยตรง และให้ส านักงบประมาณจัดสรร งบประมาณให้หน่วยงานในระบบวิจัยและนวัตกรรมแต่ละ หน่วย

(๒) ค าของบประมาณเพื่อโครงการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และโครงการวิจัยและนวัตกรรม ให้เสนอต่อ กสว. ตามหลักเกณฑ์ที่ กสว. ก าหนด และให้ กสว. พิจารณาค าขอ และผลการด าเนินการของหน่วยงานแต่ละหน่วยในปีที่ผ่าน มาประกอบการจัดสรรเงินกองทุนให้เป็นงบประมาณของ หน่วยงานนั้น

มาตรา ๑๘

ในกรณีมีความจ าเป็น จะท าข้อตกลงให้ด าเนินโครงการ พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี หรือโครงการวิจัยและ นวัตกรรม โดยให้ได้รับเงินงบประมาณจากกองทุนเกิน หนึ่ง ปีงบประมาณก็ได้

มาตรา ๑๙

เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการ บริหารพัสดุภาครัฐ การจัดซื้อจัดจ้างเพื่อการวิจัยและพัฒนา การสร้างนวัตกรรม และการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อ จัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐตามกฎหมายว่าด้วยการ จัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐประกาศก าหนด สภานโยบายอาจขอให้คณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัด จ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐด าเนินการตามวรรคหนึ่ง หรือ ขอให้ตราพระราชกฤษฎีกาเพื่อยกเว้นมิให้น าบทบัญญัติแห่ง กฎหมายว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ มาใช้บังคับแก่การจัดซื้อจัดจ้างใดตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน

ส่วนที่ ๓ บุคลากรวิจัยและนวัตกรรม

มาตรา ๒๐

ให้กระทรวง กสว. และ สอวช. โดยความเห็นชอบของสภา นโยบายส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและพัฒนาบุคลากรที่ มีคุณภาพ มีความสามารถในการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและนวัตกรรม ในส่วนที่เกี่ยวกับหน้าที่ และอ านาจของแต่ละหน่วยงาน ดังต่อไปนี้

(๑) ให้ทุนการศึกษาและทุนอื่นเพื่อสร้างบุคลากร

(๒) สร้างแรงจูงใจทางงบประมาณและสิทธิประโยชน์อื่นเพื่อ ให้หน่วยงานในระบบวิจัยและนวัตกรรมสร้างบุคลากรที่มี คุณภาพสอดคล้องกับแผนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรมของประเทศ

(๓) ประสานงานกับสถาบันอุดมศึกษาและหน่วยงานกลางด้ านการบริหารงานบุคคลของข้าราชการและบุคลากรของรัฐ ประเภทต่าง ๆ ให้ปรับปรุงกฎหมายและกฎข้อบังคับเพื่อ ส่งเสริมความก้าวหน้าทางอาชีพของบุคลากรให้ทัดเทียมกับ ผู้ด ารงต าแหน่งอ านวยการและบริหาร ทั้งการเลื่อนต าแหน่ง ค่าตอบแทน และสิทธิประโยชน์อื่นในต าแหน่ง

(๔) ส่งเสริมการให้บุคลากรในหน่วยงานของรัฐไปท าการ วิจัยหรือนวัตกรรมในหน่วยงานอื่นทั้งในภาครัฐและ ภาคเอกชน โดยให้ถือว่าเป็นการปฏิบัติหน้าที่ในหน่วยงาน ต้นสังกัด และให้ได้รับค่าตอบแทนตลอดจนน าผลงานมา ใช้ในการประเมินผลงานและการเลื่อนต าแหน่งใน หน่วยงานที่ตนสังกัดได้

(๕) ให้ทุนหรือสนับสนุนให้บุคลากรไปปฏิบัติหน้าที่ใน ต่างประเทศในหน่วยงานที่มีชื่อเสียงระดับโลกทั้งในภาครัฐ และภาคเอกชน โดยให้ถือว่าเป็นการปฏิบัติหน้าที่ใน หน่วยงานต้นสังกัด และให้ได้รับค่าตอบแทน ตลอดจนน า ผลงานมาใช้ในการประเมินผลงานและการเลื่อนต าแหน่ง ในหน่วยงานที่ตนสังกัดได้

(๖) ให้บุคลากรน าผลงานที่ได้จากการปฏิบัติหน้าที่ไปหา ประโยชน์ทางเศรษฐกิจได้ โดยแบ่งหรือไม่ต้องแบ่ง ผลประโยชน์กับหน่วยงานของรัฐหรือภาคเอกชนที่ตนสังกัด หรือไปปฏิบัติหน้าที่ แล้วแต่กรณี ตามระเบียบของสภา นโยบาย

(๗) ดึงดูดบุคคลซึ่งมีความสามารถสูงทั้งที่มีหรือไม่มีสัญชาติ ไทยให้เข้ามาด าเนินงานวิจัยและนวัตกรรมในประเทศ เป็นที่ ปรึกษาโครงการวิจัยและนวัตกรรม โดยมีแรงจูงใจต่าง ๆ โดยเฉพาะการตรวจลงตราเป็นกรณีพิเศษ การให้ขอสัญชาติ ไทยได้ และการได้รับค่าตอบแทนในอัตราที่แข่งขันกับ ต่างประเทศได้ รวมทั้งส่งเสริมให้บุคลากรที่มีหรือไม่มี สัญชาติไทยด าเนินงานวิจัยและนวัตกรรมในต่างประเทศ เพื่อให้ได้งานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพ

(๘) ส่งเสริมให้ผู้บริหาร พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยงาน เอกชนทั้งในประเทศและต่างประเทศมาร่วมด าเนินการตาม (๔) หรือ (๗) กับหน่วยงานของรัฐในระบบวิจัยและนวัตกรรม

(๙) ส่งเสริมเด็กและเยาวชนที่มีความสามารถพิเศษด้านต่าง ๆ ให้ได้รับการพัฒนาความสามารถหรือมีสถานศึกษาที่บ่ม เพาะความสามารถเป็นพิเศษ และให้มีทุนการศึกษาและ ความสนับสนุนที่เหมาะสมและเพียงพอ

(๑๐) ก าหนดมาตรการอื่นที่เหมาะสมเพื่อส่งเสริมและพัฒนา บุคลากร เมื่อคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบกับการด าเนินการตาม (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) (๘) และ (๑๐) แล้ว ให้หน่วยงาน ของรัฐที่เกี่ยวข้องด าเนินการให้เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรี โดยเร็ว

มาตรา ๒๑

ส านักงานการวิจัยแห่งชาติมีอ านาจให้รางวัลผลงานวิจัยและ นวัตกรรมที่ได้รับการประเมินและพิสูจน์แล้วว่าเป็นประโยชน์ แก่เศรษฐกิจ สังคม หรือวิชาการของประเทศอย่างยิ่ง ส านักงานการวิจัยแห่งชาติมีอ านาจประกาศเกียรติคุณยก ย่องบุคคลหรือหน่วยงานที่มีผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่เป็น ประโยชน์ต่อสาธารณะอย่างต่อเนื่อง การให้รางวัลตามวรรคหนึ่ง และการประกาศเกียรติคุณตาม วรรคสอง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ กสว. ก าหนด

ส่วนที่ ๔ ข้อมลการ ิ วจัยและนวัตกรรม

มาตรา ๒๒

เพื่อประโยชน์ในการบูรณาการ บริหารจัดการ และวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลการวิจัยและนวัตกรรมในภาพรวมของ ประเทศ ให้หน่วยงานในระบบวิจัยและนวัตกรรมแจ้งหรือ เชื่อมโยงข้อมูลการวิจัยและนวัตกรรมของหน่วยงานต่อ ส านักงานการวิจัยแห่งชาติ ดังต่อไปนี้

(๑) ชื่อโครงการและผู้วิจัยในโครงการ

(๒) บทคัดย่อของผลงานวิจัย

(๓) งบประมาณที่ใช้

(๔) ชื่อและที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้ของบุคลากร

(๕) ทรัพย์สินทางปัญญาที่เกิดจากการวิจัย

(๖) ข้อมูลอื่นตามที่สภานโยบายประกาศก าหนด เมื่อโครงการวิจัยและนวัตกรรมเสร็จสิ้น ให้หน่วยงาน ผู้รับผิดชอบหรือผู้ด าเนินการวิจัยส่งหรือเชื่อมโยงข้อมูล ผลงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ พร้อมทั้งรายงานผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ ตลอดจนแนวทางการน าผลงานไป ใช้ประโยชน์กับการพัฒนาประเทศต่อส านักงานการ วิจัย แห่งชาติ การน าส่งหรือการเชื่อมโยงข้อมูล และการรายงาน ผลงานวิจัยและนวัตกรรมตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ให้ เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่สภานโยบายก าหนด ในกรณีที่ผลงานตามวรรคสองเป็นความลับ หรือมีกฎหมายหรือ สัญญาไม่ให้บุคคลที่สามล่วงรู้ มิให้น ากฎหมายหรือสัญญา ดังกล่าวมาใช้เป็นอุปสรรคในการด าเนินการส่งข้อมูลให้แก่ ส านักงานการวิจัยแห่งชาติตามมาตรานี้ แต่ส านักงานการ วิจัยแห่งชาติมีหน้าที่รักษาข้อมูลดังกล่าวให้เป็นความลับหรือ มิให้บุคคลที่สามล่วงรู้ต่อไป ในกรณีที่เห็นสมควร สภานโยบายอาจประกาศก าหนดให้ โครงการวิจัยและนวัตกรรมที่หน่วยงานภาคเอกชนเป็น ผู้สนับสนุนค่าใช้จ่าย หรือโครงการวิจัยและนวัตกรรมอื่น ตามที่สภานโยบายก าหนด จัดท าเป็นสรุปรายงานการ ด าเนินงานเสนอต่อส านักงานการวิจัยแห่งชาติเพียงเท่าที่ไม่ กระทบต่อความลับทางการค้า ความมั่นคงของประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หรือประโยชน์สาธารณะอื่น แทนการแจ้งหรือเชื่อมโยงข้อมูลตามวรรคหนึ่งได้ ในกรณี เช่นนี้ ส านักงานการวิจัยแห่งชาติมีหน้าที่รักษาข้อมูล ดังกล่าวให้เป็นความลับหรือมิให้บุคคลที่สามล่วงรู้ต่อไป

มาตรา ๒๓

ให้สถาบันอุดมศึกษาแจ้งหรือเชื่อมโยงข้อมูลการวิจัยและ นวัตกรรม และหัวข้อวิทยานิพนธ์ที่จะด าเนินการในระดับ บัณฑิตศึกษาของนิสิตหรือนักศึกษาของตนต่อส านักงาน การวิจัยแห่งชาติ รวมถึงรายงานผลการวิจัยและนวัตกรรม และวิทยานิพนธ์เมื่อสิ้นสุดการด าเนินงาน ตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่สภานโยบายก าหนด ให้ส านักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรมจัดให้มีการลงทะเบียนหัวข้อวิทยานิพนธ์ ระดับบัณฑิตศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐทั้งใน สังกัดและในก ากับดูแลของรัฐมนตรี สถาบันอุดมศึกษา เอกชน และสถาบันอุดมศึกษาทุกแห่งที่สังกัดกระทรวง ทบวง กรมอื่น หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้ส านักงาน ก.พ. และหน่วยงานของรัฐที่ให้ทุนในระดับ บัณฑิตศึกษาแก่นักศึกษาที่ศึกษาในต่างประเทศ แจ้งหรือ เชื่อมโยงข้อมูลการวิจัยและหัวข้อวิทยานิพนธ์ที่จะด าเนินการ ในระดับบัณฑิตศึกษาของนักศึกษาที่รับทุนต่อส านักงานการ วิจัยแห่งชาติ รวมถึงรายงานผลการวิจัยและนวัตกรรมและ วิทยานิพนธ์เมื่อสิ้นสุดการด าเนินงาน ตามหลักเกณฑ์และ วิธีการที่สภานโยบายก าหนด

มาตรา ๒๔

ให้ส านักงานการวิจัยแห่งชาติจัดท าฐานข้อมูลด้าน วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ เพื่อประโยชน์ในการด าเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้ส านักงาน การวิจัยแห่งชาติจัดให้มีระบบข้อมูลสารสนเทศกลางเพื่อ เชื่อมโยงข้อมูลการวิจัยและนวัตกรรมระดับชาติและ นานาชาติกับระบบสารสนเทศของหน่วยงานในระบบวิจัย และนวัตกรรม และให้มีอ านาจเข้าถึงฐานข้อมูลด้าน วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของหน่วยงานดังกล่าวทุก หน่วยงาน ให้หน่วยงานของรัฐในระบบวิจัยและนวัตกรรมทุกหน่วยงาน เชื่อมโยงข้อมูลการวิจัยและนวัตกรรมตามมาตรา ๒๒ และ มาตรา ๒๓ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของตนกับระบบข้อมูล สารสนเทศกลางที่ส านักงานการวิจัยแห่งชาติจัดท าขึ้นตาม วรรคหนึ่ง ให้ส านักงานการวิจัยแห่งชาติเชื่อมโยงข้อมูลการวิจัยและ นวัตกรรมตามมาตรา ๒๒ มาตรา ๒๓ และมาตรานี้ กับ ระบบข้อมูลสารสนเทศของ สอวช. และ สกสว. โดยให้ สอวช. และ สกสว. มีอ านาจน าข้อมูลดังกล่าวไปใช้ในการ ปฏิบัติหน้าที่ได้

มาตรา ๒๕

การอ้างอิงข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของ ประเทศ ให้อ้างอิงจากฐานข้อมูลตามมาตรา ๒๔ ข้อมูลจาก ฐานข้อมูลอื่นของหน่วยงานในระบบวิจัยและนวัตกรรม ให้ ใช้ได้ภายในหน้าที่และอ านาจของหน่วยงานดังกล่าว โดยจะ น ามาใช้อ้างอิงให้ขัดหรือแย้งกับข้อมูลจากฐานข้อมูลตาม มาตรา ๒๔ มิได้

มาตรา ๒๖

ให้ส านักงานการวิจัยแห่งชาติรวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลการด าเนินการและผลงานวิจัยและ นวัตกรรมจากหน่วยงานในระบบวิจัยและนวัตกรรม และให้ สกสว. วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตามนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนด้าน วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ทั้งนี้ ให้ ส านักงานการวิจัยแห่งชาติและ สกสว. เสนอความเห็นต่อ กสว. และสภานโยบายเพื่อประเมินสถานภาพของการวิจัย และนวัตกรรม รวมทั้งการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีของ ประเทศ ตามนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนด้าน วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ และเป็นข้อมูล ในการจัดท านโยบายต่อไป

มรตรา ๒๗

ภายใต้บังคับมาตรา ๒๒ วรรคสี่และวรรคห้า ส านักงานการ วิจัยแห่งชาติ สอวช. และ สกสว. อาจเปิดเผยข้อมูลใน ฐานข้อมูล ตลอดจนรายงานผลการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ข้อมูลดังกล่าวต่อสาธารณชนได้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขที่สภานโยบายก าหนด ทั้งนี้ ต้องเป็นข้อมูลที่ไม่ กระทบต่อความลับทางการค้า ความมั่นคงของประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หรือประโยชน์สาธารณะอื่น การเปิดเผยข้อมูลตามวรรคหนึ่งจะน าไปเป็นเหตุในการ ฟ้องร้องด าเนินคดีใด ๆ มิได้ ให้น าความในวรรคสองไปใช้บังคับแก่การแจ้งหรือ เชื่อมโยงข้อมูลของหน่วยงานในระบบวิจัยและนวัตกรรม ต่อส านักงานการวิจัยแห่งชาติตามมาตรา ๒๒ และการที่ หน่วยงานในระบบวิจัยและนวัตกรรมน าข้อมูลตามวรรค หนึ่งไปเปิดเผยด้วย

ส่วนที่ ๕ การน าผลงานวิจัยและนวัตกรรมไปใช้ ประโยชน์

มาตรา ๒๘

ให้กระทรวงและ สกสว. ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคคล คณะ บุคคล ชุมชน หน่วยงานของรัฐ หรือหน่วยงานภาคเอกชนน า ผลงานวิจัยและนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ทั้งในเชิงนโยบาย เชิงพาณิชย์ เชิงสังคม และเชิงสาธารณประโยชน์ ให้หน่วยงานของรัฐสนับสนุนทุนวิจัยและนวัตกรรมแก่บุคคล คณะบุคคล ชุมชน หน่วยงานอื่นของรัฐ หรือหน่วยงาน ภาคเอกชน ตามหลักเกณฑ์และวิธีการตามที่ก าหนดใน ระเบียบของสภานโยบาย ในการส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรมแก่บุคคล คณะบุคคล ชุมชน หรือหน่วยงานภาคเอกชน ให้มุ่งเน้น โครงการวิจัยและนวัตกรรมซึ่งมีลักษณะ ดังต่อไปนี้

(๑) มีความจ าเป็นทางเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคง รวมทั้งการเสริมสร้างขีด ความสามารถในการแข่งขันของ ภาคการผลิตและภาคการบริการของประเทศ

(๒) สามารถตอบสนองต่อการสร้างความรู้ใหม่ ยกระดับ นวัตกรรม ปรับปรุงกระบวนการผลิตและบริการ แก้ปัญหา เชิงเทคนิค ทดแทนการน าเข้าเทคโนโลยี หรือมีความจ าเป็น ต่อการพัฒนาประเทศ

(๓) มีความเป็นไปได้สูงที่จะสามารถน าไปใช้ประโยชน์ในเชิง พาณิชย์และเชิงสังคม

(๔) ส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชนหรือวิสาหกิจเพื่อ สังคมให้ด าเนินการในเชิงพาณิชย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

(๕) ส่งเสริมการน าทรัพย์สินทางปัญญาสาธารณะ ทรัพย์สิน ทางปัญญาที่ผู้ทรงสิทธิหรือเจ้าของอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ ทรัพย์สินทางปัญญานั้น รวมทั้งทรัพย์สินทางปัญญาที่สิ้น อายุการคุ้มครองตามกฎหมาย ไปใช้เพื่อประโยชน์ในการ พัฒนาการวิจัยและนวัตกรรม และการพัฒนาเพื่อต่อยอด ความรู้และเทคโนโลย

(๖) ลักษณะอื่นตามที่สภานโยบายก าหนด

มาตรา ๒๙

สภานโยบายอาจเสนอคณะรัฐมนตรีให้มีมติสนับสนุนการน า ผลงานวิจัยและนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์โดยให้สิทธิ ประโยชน์ ดังต่อไปนี้

(๑) ให้หน่วยงานของรัฐจัดซื้อจัดจ้างสินค้าหรือบริการที่ใช้ ผลงานจากการวิจัยและนวัตกรรมจากบุคคล คณะบุคคล ชุมชน หน่วยงานของรัฐ หรือหน่วยงานภาคเอกชน ซึ่ง ได้รับการสนับสนุนตามมาตรา ๒๘

(๒) ให้ได้รับยกเว้นหรือลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล หรืออากร ในการนี้ ให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาความเห็น ของกระทรวงการคลังประกอบด้วย

(๓) ให้ได้รับส่งเสริมการลงทุนตามกฎหมายว่าด้วยการ ส่งเสริมการลงทุน

(๔) ให้ผู้สร้างงานวิจัยหรือนวัตกรรมเป็นเจ้าของทรัพย์สิน ทางปัญญาเพื่อน าไปใช้ประโยชน์ โดยมีการแบ่งปันหรือไม่ ต้องแบ่งปันผลประโยชน์ให้หน่วยงานผู้สนับสนุนทุนวิจัยหรือ นวัตกรรมตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ก าหนดใน ระเบียบของสภานโยบาย

(๕) ให้อนุญาตให้ใช้สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาโดยมีหรือไม่ มีค่าตอบแทน รวมทั้งการแบ่งปันผลประโยชน์ที่ได้จากการใช้ ทรัพย์สินทางปัญญา ในกรณีที่ผู้ใช้สิทธิในทรัพย์สินทาง ปัญญาดังกล่าวมีก าไรจากการใช้ทรัพย์สินทางปัญญานั้น

(๖) ยกเว้นหรือลดหย่อนการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมหรือ ค่าใช้จ่ายซึ่งหน่วยงานของรัฐจัดเก็บเพื่อการตรวจวิเคราะห์ หรือการออกใบอนุญาต หรือเพื่อการอื่น

(๗) สิทธิประโยชน์อื่นตามที่คณะรัฐมนตรีก าหนดโดย ข้อเสนอของสภานโยบาย

มาตรา ๓๐

ให้กระทรวง กสว. สกสว. และหน่วยงานของรัฐสนับสนุนการ วิจัยและนวัตกรรม และพัฒนาเพื่อต่อยอดความรู้และ เทคโนโลยีหรือการรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีในการลงทุน โครงการขนาดใหญ่ของหน่วยงานของรัฐ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ก าหนดในระเบียบของสภานโยบาย

มาตรา ๓๑

เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมการด าเนินการตามส่วนนี้ หน่วยงานของรัฐอาจร่วมลงทุนในโครงการซึ่งน าผลงานวิจัย และนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ได้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขที่ก าหนดในระเบียบของสภานโยบาย มิให้น ากฎหมายว่าด้วยการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน มาใช้บังคับแก่การร่วมลงทุนตามวรรคหนึ่ง ให้คณะรัฐมนตรีก าหนดระเบียบว่าด้วยการร่วมลงทุน ระหว่างรัฐและเอกชนที่เกี่ยวกับการน าผลงานวิจัยและ นวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ตามพระราชบัญญัตินี้

ส่วนที่ ๖ มาตรฐานการวิจัยและจริยธรรมการ วิจัย

มาตรา ๓๒

เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการวิจัย ของประเทศ ให้ กสว. โดยความเห็นชอบของสภานโยบาย มี หน้าที่ในการก าหนดมาตรฐานการวิจัยด้านต่าง ๆ มาตรฐานการวิจัยตามวรรคหนึ่ง เมื่อได้ประกาศในราชกิจจา นุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้ กสว. อาจจัดท าข้อก าหนดและแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวกับ การวิจัยและนวัตกรรม เพื่อส่งเสริมให้หน่วยงานในระบบ วิจัยและนวัตกรรมน าไปใช้ได้

มาตรา ๓๓

ให้ กสว. โดยความเห็นชอบของสภานโยบายก าหนด

(๑) จริยธรรมการวิจัยทั่วไป

(๒) หลักเกณฑ์การวิจัยและข้อก าหนดจริยธรรมการวิจัยซึ่งม ปัญหากับหลักศาสนา วัฒนธรรม จารีตประเพณี หรือ ศีลธรรมอันดีของประชาชน จริยธรรมการวิจัยทั่วไปตาม (๑) เมื่อประกาศในราชกิจจา นุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้ หลักเกณฑ์การวิจัยและข้อก าหนดจริยธรรมการวิจัยตาม (๒) ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา

หมวด ๓ การบรณาการการปฏิบั ิ ตการของ ู หน่วยงานในก ากับของรัฐมนตร

มาตรา ๓๔

เพื่อประโยชน์ในการบูรณาการการปฏิบัติการและ งบประมาณของหน่วยงานในก ากับของรัฐมนตรีที่มิใช่ สอวช. สกสว. หรือสถาบันอุดมศึกษา รัฐมนตรีอาจเสนอให้สภา นโยบายประกาศก าหนดให้หน่วยงานในก ากับของตนต้อง บูรณาการแผน การด าเนินงาน และงบประมาณ เพื่อให้การ พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เกิดประโยชน์และ ประสิทธิผลสูงสุดต่อการพัฒนาประเทศ เพื่อประโยชน์ในการด าเนินการตามวรรคหนึ่ง สภานโยบาย โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีอาจก าหนดระเบียบขึ้น ใช้บังคับเพื่อเพิ่มประ ิ สท ิ ธภาพและผลสัมฤท ิ ธ์ของการบูรณา การดังกล่าวได้

หมวด ๔ บทก าหนดโทษ

มาตรา ๓๕

หน่วยงานในระบบวิจัยและนวัตกรรมใดฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตาม หรือปฏิบัติไม่ถูกต้องตามมาตรา ๒๒ วรรคหนึ่งหรือวรรค สอง ให้ส านักงานการวิจัยแห่งชาติ มีหนังสือเตือนไปยัง หัวหน้าหน่วยงานนั้น ให้ด าเนินการให้ถูกต้องภายในเวลาที่ ก าหนด หน่วยงานในระบบวิจัยและนวัตกรรมที่ไม่ปฏิบัติตามหนังสือ เตือนตามวรรคหนึ่งภายในเวลาที่ก าหนด ให้ได้รับสภาพ บังคับที่เป็นผลร้ายตามที่สภานโยบายประกาศก าหนด โดยข้อเสนอของ กสว.

มาตรา ๓๖

ผู้ใดโดยเหตุที่ตนมีต าแหน่งหน้าที่ในการรักษาข้อมูลที่เป็น ความลับตามมาตรา ๒๒ วรรคสี่หรือวรรคห้า เปิดเผยหรือใช้ ข้อมูลที่เป็นความลับนั้น เพื่อประโยชน์ของตนหรือของผู้อื่น โดยมิชอบ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกิน หนึ่งแสนบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

บทเฉพาะกาล

มาตรา ๓๗

โครงการวิจัยและนวัตกรรมใดที่ด าเนินการอยู่ในวันก่อนวันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ด าเนินการต่อไปตามข้อผูกพัน เดิมจนกว่าจะเสร็จสิ้นโครงการ ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับ การด าเนินการตามโครงการดังกล่าว การด าเนินการต่อไปให้ เป็นไปตามที่คณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรมตามกฎหมายว่าด้วยสภานโยบายการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติก าหนด

มาตรา ๓๘

ในวาระเริ่มแรก เพื่อประโยชน์ในการจัดท าระบบข้อมูล สารสนเทศกลางด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของ ประเทศตามมาตรา ๒๔ ให้ส านักงานสภานโยบายการ อุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ และ ส านักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติและหน่วยงานใน ระบบวิจัยและนวัตกรรมอื่น ซึ่งคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมตามกฎหมายว่าด้วยสภา นโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม แห่งชาติประกาศก าหนด ถ่ายโอนข้อมูลที่เกี่ยวกับการวิจัย และนวัตกรรม การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ให้ ส านักงานการวิจัยแห่งชาติตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบ บริหารราชการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม ภายในระยะเวลาที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมประกาศ ก าหนด

มาตรา ๓๙

บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ และค าสั่งที่เกี่ยวกับการ พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและนวัตกรรม ซึ่งมี ผลใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้ บังคับ ให้ยังคงมีผลใช้บังคับต่อไปเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับ พระราชบัญญัตินี้ จนกว่าจะมีการออกระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ และค าสั่งตามพระราชบัญญัตินี้ขึ้นใช้แทน ซึ่งต้อง ไม่เกินสองปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี

พระราชบัญญัติ การส่งเสริมวิทยาศาสตร์ การวิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. ๒๕๖๒ 2019 년 과학과 연구 및 혁신 촉진법

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลง กรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นปีที่ ๔ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลง กรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรด เกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ การวิจัยและนวัตกรรม พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจ ากัด สิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๖ ประกอบกับ มาตรา ๓๒ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติ ให้กระท าได้โดยบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เหตุผลและความจ าเป็นในการจ ากัดสิทธิและเสรีภาพของ บุคคลตามพระราชบัญญัตินี้ เพื่อให้นโยบาย ยุทธศาสตร์ และ แผนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ น าไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม รวมทั้งการก ากับ ติดตาม และประเมินผลการด าเนินการดังกล่าวเป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพ ซึ่งการตราพระราชบัญญัตินี้สอดคล้องกับ เงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๒๖ ของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทยแล้ว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้ โดยค าแนะน าและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติท า หน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้ 마하 와치라롱껀 국왕 폐하께서 재위 4 번째 해인 2019(불기 2562)년 5 월 24 일에 하사하셨다. 마하 와치라롱껀 국왕께서는 다음과 같이 공포하도록 하셨다. 과학과 연구 및 혁신 촉진 관련 법률을 제정하는 것이 합당하다. 이 법은 개인의 권리와 자유를 제한하는 특정 조항이 포함되어 있으며 태국 「헌 법」 제 26 조는 제 32 조와 결부되어 법 의 규정에 따라 행하도록 정하고 있다. 이 법에 따른 개인의 권리와 자유의 제한 에 대한 이유와 필요성은 국가의 과학, 연구 및 혁신 분야의 정책, 전략 및 계획 을 구체적으로 운영하고 이에 대한 결과 를 효율적으로 감독·점검하며 평가하기 위함이다. 이 법의 제정은 「태국 헌법」 제 26 조에서 정한 조건과 부합한다. 이에 국왕께서는 의회의 조언과 동의를 받아 다음의 법률을 제정하는 바이다

제1조

이 법은 “「2019 년 과학과 기술 및 혁 신 촉진법」”이라 한다.

제2조

이 법은 관보에 게재한 다음 날부터 시행 한다.

제3조

이 법에서 사용하는 용어의 뜻은 다음과 같다. “과학·기술 개발”이란 전 분야의 국가 발 전을 위한 인력과 사회기반시설을 개발하 고 국내외 기술을 수용하며 전수하는 역 량의 개발을 포함하여, 생산 및 서비스 분야의 역량과 국가 경제의 경쟁력 및 사 회의 안녕을 제고하기 위하여 이공계 과 정을 통하여 과학·기술·혁신 분야의 역량 과 지식을 증진하는 사업의 운영을 말한 다. “연구”란 사실, 새로운 지식 또는 원칙을 획득하여 활용 가능한 혁신을 창출하기 위하여 과학, 기술, 사회과학, 인문과학 및 다양한 예술 분야 발전의 기반이 되는 규칙, 이론, 행동 지침을 확립하는 데 사 용 가능한 체계적인 고찰, 분석 또는 실 험을 말한다. “연구체계”란 계획한 목적 달성을 위해 동일한 방향의 상호연계성을 창출하기 위 한 연구 및 혁신 분야 관련 기관의 체계 적인 공동 업무 수행을 말한다. “연구기준”이란 연구자가 지켜야 할 윤리 를 포함하여 연구 및 혁신의 모든 과정이 체계적이고 국제기준에 부합하게 하는 데 필요한 연구·혁신의 바람직한 특성과 품 질에 관한 규정을 말한다. “연구 정보”란 연구·혁신 사업과 성과, 예산, 인력, 연구와 혁신으로 인하여 창 출된 지식재산 및 연구·혁신과 관련한 그 밖의 정보를 말한다. “혁신”이란 새롭거나 이전보다 현저하게 발전하여 상업 및 공공분야에 널리 활용 하는 생산, 조직구조 확립, 관리체계, 재 무관리, 사업, 마케팅 또는 그 밖의 분야 와 관련한 제품, 발명품, 서비스 및 수단 을 말한다. “연구·혁신체계기관”이란 연구·혁신과 관 련된 정부·민간 단체 및 고등교육기관을 말한다. “정책”이란 국가의 과학, 기술 및 혁신 분야의 시책과 전략을 말한다. “예산”이란 과학, 기술 및 혁신 촉진 예 산을 말한다. “인력”이란 연구·혁신 인력을 말한다. “정부 기관”이란 입법부, 행정부, 사법부, 검찰기관의 지휘·감독을 받는 기관 또는 독립기관인지에 상관없이 부(部), 청(廳), 국(局) 및 국, 행정기관, 지방정부, 지방 자치단체, 국영기업, 공공기관과 그 밖의 정부 기관의 지위에 있는 기타 명칭의 관 공서를 말한다. “정책협의회”란 국가 고등교육·과학·연구· 혁신 정책 협의회 관련 법률에 따른 국가 고등교육·과학·연구·혁신 정책협의회를 말 한다. “꺼써워”란 고등교육·과학·연구·혁신 정책 협의회 관련 법률에 따른 과학·연구·혁신 촉진위원회를 말한다. “국가연구소”란 고등교육·과학·연구·혁신 부 행정 규칙 관련 법률에 따른 국가연구 기관을 말한다. “써어워처”란 국가 고등교육·과학·연구·혁 신 정책 협의회 관련 법률에 따른 국가 고등교육·과학·연구·혁신 정책협의회 사무 국을 말한다. “써꺼써워”란 국가 고등교육·과학·연구·혁 신 정책 협의회 관련 법률에 따른 과학· 연구·혁신 촉진위원회 사무국을 말한다. “기금”이란 국가 고등교육·과학·연구·혁신 정책 협의회 관련 법률에 따른 과학·연구 ·혁신 촉진 기금을 말한다. “부(部)”란 고등교육·과학·연구·혁신부를 말한다. “장관”이란 고등교육·과학·연구·혁신부장 관을 말한다.

제4조

총리와 고등교육·과학·연구·혁신부장관은 이 법에 따라 책임지며 이 법의 시행을 위하여 부령과 규정을 제정할 권한이 있 다. 해당 부령과 규정은 관보에 게재한 날부 터 시행한다.

제 1 장 총칙

제5조

정부는 지식을 창출하여 공공정책을 수립 하고 연구·혁신 과제를 개발하여 경제적 가치와 사회, 안보 및 환경상의 이익을 창출하기 위하여 다음 각항에 해당하는 국가의 과학, 기술, 혁신 및 다양한 예술 분야의 발전을 촉진하며 지원하여야 한 다.

(1) 정부 정책과 더불어 국가 전략, 기본 계획 및 그 밖의 계획과 부합하도록 국가 의 과학, 연구 및 혁신 분야의 정책, 전 략과 계획 수립

(2) 연구·혁신 체계 정부 기관의 요구 및 필요에 적합하고 부합하도록 과학, 기술, 연구 및 혁신의 발전을 위한 예산 배정

(3) 과학, 기술, 연구 및 혁신 개발을 위 한 사회기반시설 및 품질 기준을 충족하 는 사회기반시설 구축

(4) 연구·혁신을 위한 편의를 제공하고 지원하는 기준과 장치를 마련하며 과학, 기술, 연구 및 혁신 개발에 적합한 혜택 과 동기 부여

(5) 지식재산권 등록 지원

(6) 정부, 민간 부문, 공동체 및 시민사회 에 의한 연구 및 혁신과제 성과에 대한 참여와 활용 지원

(7) 양질의 인력 양성과 개발 촉진 및 지 원

(8) 관련 법령을 개정하고 과학, 기술, 연 구 및 혁신 개발에 기여하기 위한 새로운 법 마련

(9) 세계의 과학 발전에 따라 새로운 분 야의 과학, 기술, 연구 및 혁신 촉진

제6조

국가 과학·연구·혁신 분야의 정책, 전략 및 계획은 연구·혁신체계기관의 과학·기 술·연구·혁신개발과 국가 과학·기술·연구·혁신개발을 위한 예산 배정에 대한 방향 을 감독하고 이행하는 지침이 된다.

제7조

정책, 전략, 계획, 인력, 예산 및 법 분야 의 연구·혁신체계를 동일한 방향으로 통 합하고 추진하기 위하여 다음 각항과 같 이 연구·혁신체계기관의 유형을 분류한 다.

(1) 과학, 연구 및 혁신 관련 정책, 전략, 계획 및 예산 기관

(2) 재정지원기관

(3) 연구를 수행하고 혁신을 창출하는 기 관

(4) 측정, 표준, 실험 및 연구·혁신 품질 서비스 기관

(5) 연구 및 혁신과제에 대한 지식을 관 리하는 기관 및 이를 활용하는 기관

(6) 정책협의회가 정한 그 밖의 기관 첫 번째 단락에 해당하는 유형의 연구·혁 신체계기관은 정책 협의회가 고시하여 정 한 바에 따른다. 이 조에 따른 기관은 꺼써워가 정한 성과 지표에 따라 행하여야 한다. 다만, 정책 협의회가 다르게 정한 경우에는 그러하지 아니하다. 첫 번째 단락에 따른 기관 유형의 변경은 정책협의회가 고시하여 정한 바에 따른 다.

제8조

연구·혁신체계기관에 대한 관리·감독은 품질관리, 연구기준 및 국민 또는 국가의 이익을 위해 필요한 경우에 한하며 연구 를 수행하고 혁신을 창출하는 해당 기관의 학문적 자유에 영향을 미쳐서는 아니 된다.

제9조

제 7 조제(1)항 및 제(2)항에 따른 기관은 자체적으로 연구를 수행하고 혁신을 창출 해서는 아니 된다. 다만, 해당 기관의 의 무와 권한에 따라 업무 개발을 위하여 연 구를 수행하거나 혁신을 창출하는 경우에 는 그러하지 아니하다. 연구·혁신체계기관의 이사, 임원, 공무원 또는 직원은 개인의 이익과 공익 사이에 상충하는 행동을 하거나 역할 또는 의무 및 권한 사이에 상충하는 행동을 해서는 아니 된다. 다만, 정책협의회가 정한 규 칙, 절차 및 조건에 따르는 경우에는 그 러하지 아니하다.

제 10 조

정부가 외국의 신기술에 의존하여야 하는 국가개발사업을 수행하는 경우, 사업자, 공동체 및 사회에 체계적으로 기술을 이 전할 수 있는 역량을 창출할 수 있도록 해당 사업의 일부 예산을 배정하여야 한 다. 외국에 의존하지 아니하고 장기적으로 첫 번째 단락에 따른 사업에 사용하기 위한 자재 및 장비 생산, 서비스 제공, 고급 직업기술 개발, 표준 및 품질 인증 시험 을 위하여 정부는 해당 업무의 자체적인 수행 역량을 개발하기 위하여 해당 업무 와 관련된 연구·혁신체계기관에 예산을 배정하여야 한다.

제 11 조

국가의 경제 및 사회 발전을 위하여 다음 각항에 해당하는 과학, 기술, 연구 및 혁 신 개발 관련 전 분야의 협력을 지원하여 야 한다.

(1) 학술 및 전문단체는 공동체, 사회 및 국가 발전을 위하여 교육 제공 또는 전문 서비스 제공 및 연구와 혁신 교육성과를 보급하는 과정의 교육, 연구 및 혁신 창 출에 참여한다. 학술 및 전문단체는 국가 가 과학적 사실에 기반하여 판단하는 데 사용하는 정보의 원천을 갖출 수 있도록 과학적 사실 또는 추가 교육을 제공할 수 있는 인적 자원이다.

(2) 민간 부문은 정책 제안, 투자 및 합 작, 정부 기관과의 연구 및 혁신 공동 수 행뿐만 아니라 생산 및 서비스 제공을 위 한 연구 및 혁신과제를 활용하는 데 중요 한 참여를 한다.

(3) 정부 기관은 연구 및 혁신과제를 촉 진하여 이를 경제 및 사회 발전에 관한 정책 수립 또는 책임 운영에 적용한다.

(4) 지방행정기관, 지방공동체 및 그 밖 의 공동체가 연구와 혁신과제에 접근하고 참여하며 해당 성과를 지역, 공동체 또는 구성원의 사업에 활용하도록 촉진한다.

(5) 시민사회단체는 연구 및 혁신의 중요 성에 대한 의견 제공, 협력, 인식 제고에 참여한다.

(6) 연구·혁신체계기관은 연구, 교육, 혁 신 창출, 학문 및 기술 이전, 연구와 혁 신 관련 투자 또는 합작에 있어 폭넓게 인정받는 개인 또는 외국 기관과 협력한 다.

(7) 과학, 기술, 연구 및 혁신 개발을 촉 진하기 위하여 관계인의 참여를 중심으로 필요한 경우에만 감독, 촉구, 점검 및 평 가를 실시한다.

제 2 장 과학, 기술 및 혁신 분야의 정책, 전략과 계획에 따른 운영

제 1 절 과학, 기술 및 혁신 분야의 정책, 전략과 계획

제 12 조

국가 고등교육·과학·연구·혁신 정책 협의 회 관련 법률에 따라 정책협의회가 수립 한 국가의 과학, 연구 및 혁신 분야의 정 책, 전략과 계획은 최소한 다음 각항과 같은 세부 내용을 갖추어야 한다.

(1) 비전, 목표 및 주요 전략

(2) 국가의 연구·혁신체계를 추진하는 체 계, 장치 및 지침과 예산 배정, 장려책 마련 및 편의 제공

(3) 연구와 혁신을 위한 촉진 및 투자지 원 지침과 기준

(4) 연구와 혁신과제 성과를 경제와 사회 개발, 기술 이전 및 경제적 부가가치 창 출에 활용하는 장치

(5) 인력개발 지침 및 기준

(6) 과학, 연구 및 혁신 분야의 계획에 따라 수행하여야 하는 정부 기관의 과업 설정 정책협의회는 첫 번째 단락에 따른 과학, 기술 및 혁신 계획에 따른 각 분야의 계 획을 수립하고 예상 성과와 계획별 예산 범위를 편성한다.

제 13 조

제 34 조에 의거하여 내각이 제 12 조에 따른 정책, 전략 및 계획을 승인한 경우, 연구·혁신 담당 정부 기관은 해당 계획과 부합하는 기관의 연구 및 혁신 시행계획 을 수립하여 써어워처에 제출한다. 필요한 경우, 써어워처는 제 12 조에 따른 계획과 부합하도록 첫 번째 단락에 따른 정부 기관에 시행계획을 수정하도록 통보 할 수 있다.

제 14 조

써어워처는 필요한 지원 및 협조를 위하 여 제 12 조에 따른 국가의 과학, 연구 및 혁신 계획에 따라 연구·혁신체계 정부 기 관의 업무 수행을 점검하며 제 12 조에 따른 계획에 부합하도록 권고, 촉구하거 나 시행계획을 수정하거나 시행계획에 따 라 적합하고 효율적으로 업무를 수행하도 록 요청한다. 써어워처가 정부 기관의 시행계획 또는 시행계획에 따른 업무 수행이 제 12 조에 부합하지 아니하는 것으로 판단하는 경 우, 정책협의회에 의견을 제출한다. 정책 협의회의 의결이 있는 경우, 정부 기관은 해당 의결에 따라 신속하게 이행하여야 한다.

제 15 조

국가의 과학, 연구 및 혁신 계획에 따른 업무 수행평가 및 연구·혁신체계기관의 업무 수행 평가는 국가 고등교육·과학·연 구·혁신 정책 협의회 관련 법률에 따른 다. 과학, 기술, 연구 및 혁신 개발을 촉진하 기 위하여 관계인의 참여를 중심으로 필요한 경우에만 감독, 촉구, 점검 및 평가 를 실시한다.

제 2 절 예산 및 조달

제 16 조

과학, 기술 및 혁신 분야의 연간 예산 범 위 편성과 관련하여 예산신청서 작성 및 예산 배정은 국가 고등교육·과학·연구·혁 신 정책 협의회 관련 법률 및 고등교육· 과학·연구·혁신부 행정 규칙 관련 법률에 따른다. 국가의 과학, 연구 및 혁신 계획의 목표 및 목적 달성을 위하여 꺼써워는 계획별 로 사용해야 하는 총 예산 범위를 추정하 고 연도별 사용 예산에 대해 명시하여 정 책협의회에 제출하여야 한다.

제 17 조

예산을 신청할 연구·혁신체계기관은 다음 각항과 같이 예산신청서를 작성하여야 한 다.

(1) 고정지출 예산신청서와 과학·기술 개 발사업 및 연구·혁신사업에 해당하지 아 니하는 기관의 과업에 따른 지출 예산신 청서를 예산국에 직접 제출할 수 있으며 예산국은 각 연구·혁신체계기관에 예산을 배정한다.

(2) 꺼써워가 정한 규칙에 따라 과학·기 술 개발사업 및 연구·혁신사업을 위한 예 산신청서를 꺼써워에 제출하고 꺼써워는 신청서와 전년도 각 기관의 수행성과를 검토하여 해당 기관의 예산으로 기금을 배정한다.

제 18 조

필요한 경우, 기금으로부터 1 년 이상의 예산을 받아 과학·기술 개발사업 및 연구 ·혁신사업을 수행하도록 협약을 체결할 수 있다.

제 19 조

정부 조달 및 물품 관리 관련 법률을 준 수하기 위하여 연구개발, 혁신 창출 및 과학·기술 발전을 위한 조달은 정부 조달 및 물품 관리정책위원회가 정부 조달 및 물품 관리법 관련 법률에 따라 고시하여 정한 규칙에 따른다. 정책협의회는 정부 조달 및 물품 관리정 책위원회에 첫 번째 단락에 따라 수행하 도록 요청하거나 정부 조달 및 물품 관리 관련 법률의 규정을 이 법에 따른 조달의 전부 또는 일부에 적용하지 않도록 하는 칙령의 제정을 요청할 수 있다.

제 3 절 연구 및 혁신 인력

제 20 조

부(部), 꺼써워 및 써어워처는 정책협의회 의 동의를 받아 다음 각항과 같은 각 기 관의 의무 및 권한과 관련된 과학, 기술, 연구 및 혁신개발에 역량을 갖춘 우수한 인력을 양성하고 개발하는 것을 지원하며 촉진한다.

(1) 인력 양성을 위해 학비 및 그 밖의 재정을 지원한다.

(2) 연구·혁신체계기관이 국가의 과학, 연 구 및 혁신 계획에 부합하는 우수한 인력 을 양성할 수 있도록 예산상의 장려책 및 그 밖의 혜택을 마련한다.

(3) 고등교육기관과 다양한 유형의 정부 직원 및 공무원의 인사관리 중앙기관과 협력하여 승진, 보수 및 직책에 대한 그 밖의 혜택을 포함하여 임원직에 상당한 인력의 직업개발을 장려하기 위하여 법령 을 개정한다.

(4) 정부 기관의 인력이 공공 및 민간 부 문의 다른 기관에서 연구 또는 혁신을 수 행하도록 촉진하며 이는 소속 기관에서 직무를 수행한 것으로 본다. 이에 보수를 제공하고 해당 업무에 대한 성과를 자신 의 소속 기관 내 업무평가와 승진에 반영 할 수 있다.

(5) 인력이 해외에서 세계적으로 유명한 공공 및 민간 부문의 기관에서 직무를 수 행하도록 재정을 지원하거나 원조하며 이 는 소속 기관에서 직무를 수행한 것으로 본다. 이에 보수를 제공하고 해당 업무성 과를 자신의 소속 기관 내 업무평가와 승 진에 반영할 수 있다.

(6) 인력은 직무 수행으로 얻은 성과를 경제적 이익을 구하는 데 사용할 수 있 다. 정책협의회의 규정에 의거하여 경우 에 따라 자신이 소속하거나 직무를 수행 한 공공 및 민간 부문의 기관과 해당 이 익을 분배하거나 분배하지 않을 수 있다.

(7) 태국 국적 유무와 관계없이 훌륭한 능력을 갖춘 인력을 연구·혁신사업의 고 문으로 유치하여 국내 연구 및 혁신과제 수행에 참여하도록 한다. 양질의 연구 및 혁신과제를 획득하기 위하여 태국 국적 유무와 관계없이 인력이 해외에서 연구 및 혁신과제를 수행하도록 지원할 뿐만 아니라 특별비자 허가, 태국 국적 부여, 해외와 경쟁력을 갖춘 수준의 보수 제공 등 다양한 장려책을 제공한다.

(8) 국내외 민간 단체의 임원 또는 직원 이 연구·혁신체계 정부 기관과 제(4)항 또는 제(7)항에 따라 공동으로 수행하도 록 지원한다.

(9) 다양한 분야에 재능을 가진 어린이와 청소년을 육성하여 능력을 개발하거나 재 능을 함양할 수 있는 교육시설을 갖추고 적절하고 충분한 장학금을 제공하며 지원 한다.

(10) 인력개발과 지원을 위해 적절한 그 밖의 기준 마련 내각이 제(2)항, 제(3)항, 제(4)항, 제(5) 항, 제(6)항, 제(7)항, 제(8 항 및 제(10) 항에 따른 진행에 동의하는 경우, 관련 정부 기관은 신속하게 내각의 의결에 따 라 수행하여야 한다.

제 21 조

국가연구소는 국가의 경제, 사회 및 학계 에 큰 공을 세운 것으로 평가되고 증명된 연구 및 혁신과제 성과에 대하여 포상할 수 있는 권한이 있다. 국가연구소는 지속적으로 공공분야에 이 바지한 연구 및 혁신과제 성과를 낸 개인 또는 기관에 표창할 수 있는 권한이 있 다. 첫 번째 단락에 따른 포상 및 두 번째 단 락에 따른 표창은 꺼써워가 정한 규칙과 절차에 따른다.

제 4 절 연구 및 혁신 정보

제 22 조

국가의 전반적인 연구 및 혁신 정보를 통 합, 관리, 분석 및 종합하기 위하여 연구· 혁신체계기관은 기관의 연구 및 혁신 정보를 다음 각항과 같이 국가연구소에 통 보하거나 연계하여야 한다.

(1) 사업명 및 사업 연구자

(2) 연구과제성과의 요약

(3) 사용 예산

(4) 인력의 이름과 연락 가능한 주소

(5) 연구로 인하여 창출된 지식재산권

(6) 정책협의회가 고시하여 정한 바에 따 른 그 밖의 정보 연구·혁신사업이 종료된 경우, 담당 기관 또는 연구 수행기관은 국가연구소에 완성 본의 연구성과정보를 제출하거나 연계한 다. 또한 생산물, 결과물 및 영향과 국가 발전에 대한 활용 방안을 보고하여야 한 다. 첫 번째 단락 및 두 번째 단락에 따른 정 보의 제출 또는 연계 및 연구·혁신과제 성과에 대한 보고는 정책협의회가 정한 규칙 및 절차에 따른다. 두 번째 단락에 따른 성과가 기밀에 해당 하거나 제삼자에게 비공개하는 법률 또는 계약이 존재하는 경우, 같은 법률 또는 계약이 이 조에 따라 국가연구소에 자료 를 제출하는 데 장애가 되어서는 아니 된 다. 다만, 국가연구소는 해당 정보를 기 밀로 유지하거나 제삼자에게 공개하지 않 을 책임이 있다. 필요한 경우, 정책협의회는 민간 단체가 비용을 후원하는 연구·혁신사업 또는 정 책협의회가 정한 그 밖의 연구·혁신사업 에 있어 영업, 국가안보, 국제관계 또는 공익상 기밀에 영향을 미치지 아니하는 한도 내에서 첫 번째 단락에 따른 정보의 통보나 연계를 대신하여 요약보고서를 작 성하여 국가연구소에 제출하도록 고시하 여 정할 수 있다. 이 경우 국가연구소는 해당 정보를 기밀로 유지하거나 제삼자에 게 공개하지 않을 책임이 있다.

제 23 조

고등고육기관은 정책협의회에서 정한 규 칙과 절차에 따라 소속 학생의 대학원 과 정에서 진행할 연구·혁신 정보와 논문 제 목을 포함하여 종료 시 연구·혁신 결과보 고서 및 논문을 국가연구소에 통지 또는 연계하여야 한다. 고등교육·과학·연구·혁신부 차관실은 장관 의 감독 아래 공립고등교육기관, 사립고 등교육기관 및 부(部), 청(廳), 국(局) 또 는 지방행정기관 소속의 모든 고등교육기 관의 대학원 논문 주제를 등록하여야 한 다. 해외유학생에게 대학원 학비를 지원하는 정부 기관 및 공무원위원회 사무국은 정 책협의회에서 정한 규칙과 절차에 따라 학비를 지원받은 학생이 대학원 과정에서 진행할 논문 제목 및 연구 정보를 포함하 여 종료 시 해당 학생의 연구·혁신 결과 보고서 및 논문을 국가연구소에 통지 또 는 연계하여야 한다.

제 24 조

국가연구소는 국가의 과학, 연구 및 혁신 분야 데이터베이스를 구축하여야 한다. 첫 번째 단락의 조치를 위하여 국가연구 소는 국가 및 국제 수준의 연구·혁신정보 를 연구·혁신체계기관의 정보시스템과 연 동하기 위한 중앙정보시스템을 구축하고 해당 모든 기관의 과학, 연구 및 혁신 분 야 데이터베이스에 접근할 권한이 있다. 모든 연구·혁신체계 정부 기관은 자신의 책임하에 있는 제 22 조 및 제 23 조에 따 른 연구·혁신정보를 첫 번째 단락에 따라 국가연구소가 구축한 중앙정보시스템과 연동한다. 국가연구소는 제 22 조, 제 23 조 및 이 조에 따라 연구·혁신정보를 써어워처와 써꺼써워의 정보시스템에 연동하며 써어 워처 및 써꺼써워는 해당 정보를 직무상 목적의 용도로 사용할 권한이 있다.

제 25 조

국가의 과학, 연구 및 혁신 분야 정보의 인용은 제 24 조에 따른 데이터베이스에 서 인용한다. 연구·혁신체계기관의 다른 데이터베이스의 정보는 해당 기관의 의무 및 권한 범위 내에서 사용 가능하며 제 24 조에 따른 데이터베이스의 정보와 모 순되거나 저촉되는 방식으로 인용할 수 없다.

제 26 조

국가연구소는 연구·혁신체계기관으로부터 연구·혁신과제 성과 및 진행자료를 수집, 분석, 종합하고 써꺼써워는 국가의 과학, 연구 및 혁신 분야의 정책, 전략 및 계획 에 따른 과학기술 개발정보를 분석, 종합 한다. 이 경우 국가연구소와 써꺼써워는 연구 및 혁신의 진행 상황을 평가하며 국 가의 과학, 연구 및 혁신 분야의 정책, 전략 및 계획에 따라 국가 과학기술을 개 발하며 다음 정책을 수립하기 위한 자료 로 사용하기 위하여 꺼써워 및 정책협의 회에 의견을 제출하여야 한다.

제 27 조

제 22 조 네 번째 단락과 다섯 번째 단락 에 따라 국가연구소, 써어워처 및 써꺼써 워는 정책협의회에서 정한 규칙, 절차 및 조건에 따라 대중에게 데이터베이스의 정 보 및 해당 정보의 분석, 종합결과 보고 서를 공개할 수 있다. 이 경우 영업, 국 가안보, 국제관계 또는 그 밖의 공익상 기밀에 영향을 미치지 아니하는 정보여야 한다. 첫 번째 단락에 따른 정보 공개는 소송의 근거로 사용할 수 없다. 두 번째 단락의 내용은 연구·혁신체계기 관의 정보를 제 22 조에 따라 국가연구소 에 통보하거나 연계하는 것과 연구·혁신 체계기관이 첫 번째 단락에 따라 정보를 공개하는 데 적용한다.

제 5 절 연구 및 혁신과제 성과의 활용

제 28 조

부(部)와 써꺼써워는 개인, 단체, 공동체, 정부 기관 또는 민간 단체가 연구 및 혁 신과제 성과를 상업적, 사회적 및 공익적 정책에 활용하도록 장려하고 지원한다. 정부 기관은 정책협의회 규정에서 정한 규칙 및 절차에 따라 개인, 단체, 공동체, 그 밖의 정부 기관 또는 민간기관에 연구 및 혁신비를 지원한다. 개인, 단체, 공동체 또는 민간기관에 연 구 및 혁신을 장려하고 지원할 때 다음 각항에 해당하는 특성을 가진 연구·혁신 사업에 주력한다.

(1) 국가의 제조 및 서비스 부문의 경쟁 력 강화와 더불어 경제, 사회 및 안보상 필요성이 있는 연구 및 혁신

(2) 새로운 지식 창출, 혁신의 고도화, 제 조 및 서비스 절차 개선, 기술적 문제 해 결, 기술 수입 대체 또는 국가 발전의 필 요성에 대응할 수 있는 연구 및 혁신

(3) 상업적 및 사회적으로 활용할 수 있 는 가능성이 높은 연구 및 혁신

(4) 공동체 기업 또는 사회적 기업을 장 려하고 개발하여 상업적으로 효율적인 운 영을 할 수 있는 연구 및 혁신

(5) 연구·혁신개발과 지식·기술을 신장하 기 위한 개발을 위하여 공공지식재산 및 권리자 또는 소유자가 해당 지식재산의 사용을 허가하거나 동의한 지식재산을 포 함하여 법적 보호기간이 만료된 지식재산 을 활용하는 것을 장려하는 연구 및 혁신

(6) 정책협의회가 정한 그 밖의 특성의 연구 및 혁신

제 29 조

정책협의회는 다음 각항의 어느 하나에 해당하는 혜택을 제공하여 내각에 연구 및 혁신과제 성과의 활용을 지원하는 의 결을 하도록 건의할 수 있다.

(1) 정부 기관이 제 28 조에 따라 지원을 받은 개인, 단체, 공동체, 정부 기관 또는 민간 단체의 연구 및 혁신 성과를 사용하 는 제품 또는 서비스를 조달하도록 건의

(2) 법인소득세 또는 세금을 면제 또는 감면하도록 한다. 이 경우 내각은 재무부 의 의견을 함께 검토하도록 건의

(3) 투자 촉진 관련 법률에 따라 투자를 촉진하도록 건의

(4) 연구 또는 혁신과제 개발자가 지식재 산의 소유자가 되도록 건의. 이 경우 정 책협의회 규정에서 정한 규칙, 절차 및 조건에 따라 연구 또는 혁신 지원기관에 이익을 분배하거나 분배하지 않을 수 있 도록 한다.

(5) 유상 또는 무상으로 지식재산권을 사 용하도록 허가하며 해당 지식재산권 사용 자가 지식재산을 사용하여 이익을 얻은 경우, 지식재산 사용으로 인한 이익을 분 배하는 것을 허가하도록 건의

(6) 정부 기관이 분석검사 또는 허가증 발급 또는 그 밖의 사안으로 부과하는 수 수료나 비용을 감면하도록 건의

(7) 내각이 정책협의회의 제안을 통하여 정한 그 밖의 혜택을 제공하도록 건의

제 30 조

부(部), 꺼써워, 써꺼써워 및 정부 기관은 정책협의회의 규정에서 정한 규칙, 절차 및 조건에 따라 지식과 기술을 신장하거 나 정부 기관의 대규모사업 투자에 대한 기술을 이전 받기 위하여 연구와 혁신을 지원하고 개발한다.

제 31 조

이 장에 따른 조치를 장려하기 위하여 정 부 기관은 정책협의회 규정에서 정한 규 칙, 절차 및 조건에 따라 연구 및 혁신과 제의 성과를 활용할 수 있는 사업에 공동 투자를 할 수 있다. 첫 번째 단락에 따른 공동투자에는 민관 공동 투자 관련 법률을 적용하지 아니한 다. 내각은 이 법에 따라 연구 및 혁신과제 성과의 활용과 관련한 민관 공동투자 규 정을 제정하여야 한다.

제 6 절 연구 기준과 연구 윤리

제 32 조

국가의 연구 품질과 기준 개발을 위하여 꺼써워는 정책협의회의 동의를 받아 다양 한 분야의 연구 기준을 정하여야 한다. 첫 번째 단락에 따른 연구기준은 관보에 게재한 날부터 시행한다. 꺼써워는 연구·혁신체계기관이 연구기준 을 사용하도록 촉진하기 위하여 연구와 혁신에 관한 요건 및 지침을 마련할 수 있다.

제 33 조

꺼써워는 정책협의회의 동의를 받아 다음 각항에 해당하는 사항을 정한다.

(1) 일반 연구윤리

(2) 연구 규칙 및 종교, 문화, 전통 또는 국민의 건전한 도덕에 문제가 되는 연구 윤리 규정 제(1)항에 따른 일반 연구 윤리는 관보에 게재한 날부터 시행한다. 제(2)항에 따른 연구 규칙과 연구 윤리 규정은 칙령으로 제정한다.

제 3 장 장관이 감독하는 기관의 운 영 통합

제 34 조

써어워처, 써꺼써워 또는 고등교육기관이 아닌 기관으로서 장관이 감독하는 기관의 운영과 예산을 통합하기 위하여 장관은 정책협의회에 과학기술 개발이 국가 발전 에 가장 유용하고 효과적일 수 있도록 자 신이 감독하는 기관의 계획, 운영 및 예 산을 통합하도록 고시하여 정할 것을 제 안할 수 있다. 첫 번째 단락에 따른 조치를 위하여 정책 협의회는 내각의 동의를 받아 해당 통합 의 성과와 효율성을 증진하기 위한 규정 을 제정할 수 있다.

제 4 장 벌칙

제 35 조

연구·혁신체계기관이 제 22 조 첫 번째 단 락 또는 두 번째 단락에 따라 이행하지 않거나 올바르게 이행하지 않은 경우, 국 가연구소는 해당 기관장에게 정해진 기간 내에 올바르게 이행하도록 경고장을 발부 한다. 연구·혁신체계기관이 정해진 기간 내에 첫 번째 단락에 따른 경고장에 따라 이행 하지 아니하는 경우, 꺼써워의 건의를 통 하여 정책협의회가 고시하여 정한 바에 따라 불리한 제재 처분을 한다.

제 36 조

제 22 조 네 번째 단락 또는 다섯 번째 단락에 따라 정보를 기밀로 관리하여야 하는 직책에 있는 자가 자신 또는 다른 사람의 이익을 위하여 부당하게 해당 기 밀정보를 공개하거나 사용한 경우, 5 년 이하의 징역 또는 100,000 밧 이하의 벌 금에 처한다. 이 경우 징역과 벌금을 병 과할 수 있다.

경과규정

제 37 조

이 법 시행 전에 진행 중인 연구·혁신사 업은 사업이 종료될 때까지 종전의 규정 에 따라 이행한다. 해당 사업에 따른 운영과 관련하여 문제가 있는 경우, 국가 고등교육·과학·연구·혁신 정책 협의회 관 련 법률에 따라 과학·연구·혁신촉진위원 회가 정한 바에 따라 이행하도록 한다.

제 38 조

초기에는 제 24 조에 따라 국가의 과학, 기술 및 혁신 분야의 중앙정보시스템을 구축하기 위하여 국가 고등교육·과학·연 구·혁신 정책 협의회 관련 법률에 따른 국가 고등교육·과학·연구·혁신 정책협의회 사무국과 과학·연구·혁신촉진위원회 사무 국 및 국가 고등교육·과학·연구·혁신 정책 협의회 관련 법률에 따라 과학·연구·혁신 촉진위원회 사무국이 고시하여 정한 그 밖의 연구·혁신체계기관은 고등교육·과학· 연구·혁신부 행정 규칙 관련 법률에 따라 고등교육·과학·연구·혁신부장관이 고시하 여 정한 기간 내에 연구·혁신 및 과학기 술 개발과 관련된 정보를 이전하여야 한 다.

제 39 조

이 법 시행 전에 시행 중인 과학, 기술, 연구 및 혁신에 관한 규정, 규칙, 고시 및 명령은 이 법에 모순되거나 저촉되지 않으면 이 법 시행일부터 2 년 이내에 이 법에 따라 규정, 규칙, 고시 및 명령을 다시 제정하기 전까지 계속하여 시행한 다. 부서 대장 쁘라윳 짠오차 총리