로고

「1975년 근로관계법」

 국가·지역: 태국  제 정 일: 1975년 2월 14일  개 정 일: 2011년 11월 9일(「2011년 근로관계법 (제3권)」

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ณ วันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์พ.ศ. ๒๕๑๘ เป็นปีที่ ๓๐ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยแรงงาน สัมพันธ์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยค าแนะน าและยินยอม ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติท าหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้ 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서 현 왕조의 30번째 해인 1975년(불기2518년) 2월 14일에 하사하셨다. 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서는 다음과 같이 공포하도록 하셨다. 근로관계 관련 법률을 갖추는 것 이 합당하다. 그러므로 국회의 직무를 수행하 는 국가입법의회 조언과 동의를 통하여 다음과 같이 법을 제정한 다.

(๑)จัดสวัสดิการแก่ลูกจ้าง

มาตรา ๑

พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัต แรงงานสัมพันธ์พ.ศ. ๒๕๑๘”

(๒) ปรึกษาหารือเพื่อก าหนดข้อบังคับในการ ท างานอันจะเป็นประโยชน์ต่อนายจ้างและ ลูกจ้าง

(๓) พิจารณาค าร้องทุกข์ของลูกจ้าง

มาตรา ๒

พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นก าหนด สามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจา นุเบกษาเป็นต้นไป

(๔) หาทางปรองดองและระงับข้อขัดแย้งใน สถานประกอบกิจการ

ในกรณีที่คณะกรรมการลูกจ้างเห็นว่าการกระท า ของนายจ้างจะท าให้ลูกจ้างไม่ได้รับความเป็น ธรรมหรือได้รับความเดือดร้อนเกินสมควร คณะกรรมการลูกจ้าง ลูกจ้างหรือสหภาพ แรงงานมีสิทธิร้องขอให้ศาลแรงงานพิจารณา วินิจฉัย

มาตรา ๓

ให้ยกเลิกข้อ ๔ และข้อ ๑๑ แห่งประกาศของ คณะปฏิวัติฉบับที่ ๑๐๓ ลงวันที่ ๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๕

มาตรา ๔

พระราชบัญญัตินี้มิให้ใช้บังคับแก่ (๑) ราชการส่วนกลาง (๒) ราชการส่วนภูมิภาค (๓) ราชการส่วนท้องถิ่น รวมทั้งราชการของ กรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา (๔) กิจการรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วย แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์เว้นแต่การที่ สหพันธ์แรงงานเข้าเป็นสมาชิกสภาองค์การ ลูกจ้างตามมาตรา ๑๒๐ ตรี (๕) กิจการอื่นตามที่ก าหนดในพระราช กฤษฎีกา

มาตรา ๕

ในพระราชบัญญัตินี้ “นายจ้าง” หมายความว่า ผู้ซึ่งตกลงรับลูกจ้าง เข้าท างานโดยจ่ายค่าจ้างให้และหมายความ รวมถึงผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากนายจ้างให้ท า การแทน ในกรณีที่นายจ้างเป็นนิติบุคคล หมายความว่า ผู้มีอ านาจกระท าการแทนนิติ บุคคลนั้น และหมายความรวมถึงผู้ซึ่งได้รับ มอบหมายจากผู้มีอ านาจกระท าการแทนนิติ บุคคลให้ท าการแทน “ลูกจ้าง” หมายความว่า ผู้ซึ่งตกลงท างานให้แก่ นายจ้างเพื่อรับค่าจ้าง “สภาพการจ้าง” หมายความว่า เงื่อนไขการจ้าง หรือการท างาน ก าหนดวันและเวลาท างาน ค่าจ้าง สวัสดิการ การเลิกจ้าง หรือประโยชน์อื่น ของนายจ้างหรือลูกจ้างอันเกี่ยวกับการจ้างหรือ การท างาน “ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง” หมายความว่า ข้อตกลงระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง หรือระหว่าง นายจ้างหรือสมาคมนายจ้างกับสหภาพแรงงาน เกี่ยวกับสภาพการจ้าง “ข้อพิพาทแรงงาน” หมายความว่าข้อขัดแย้ง ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างเกี่ยวกับสภาพการ จ้าง “การปิดงาน” หมายความว่า การที่นายจ้าง ปฏิเสธไม่ยอมให้ลูกจ้างท างานชั่วคราว เนื่องจากข้อพิพาทแรงงาน “การนัดหยุดงาน” หมายความว่า การที่ลูกจ้าง ร่วมกันไม่ท างานชั่วคราวเนื่องจากข้อพิพาท แรงงาน “สมาคมนายจ้าง” หมายความว่าองค์การของ นายจ้างที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัตินี้ “สหภาพแรงงาน” หมายความว่าองค์การของ ลูกจ้างที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัตินี้ “สหพันธ์นายจ้าง” หมายความว่าองค์การของ สมาคมนายจ้างตั้งแต่สองสมาคมขึ้นไปที่จัดตั้ง ขึ้นตามพระราชบัญญัตินี้ “สหพันธ์แรงงาน” หมายความว่าองค์การของ สหภาพแรงงานตั้งแต่สองสหภาพขึ้นไปที่จัดตั้ง ขึ้นตามพระราชบัญญัตินี้ “นายทะเบียน” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรี แต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ “พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงาน” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการ ตามพระราชบัญญัตินี้ “อธิบดี” หมายความว่าอธิบดีกรมแรงงาน “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการ ตามพระราชบัญญัติน

มาตรา ๖

ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการ ตามพระราชบัญญัตินี้และให้มีอ านาจ ดังต่อไปนี้ (๑)แต่งตั้งนายทะเบียน พนักงานประนอมข้อ พิพาทแรงงาน และผู้ชี้ขาดข้อพิพาทแรงงาน เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ (๒)ออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้ การแต่งตั้งตาม (๑) ให้ประกาศในราชกิจจา นุเบกษา กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจา นุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้

มาตรา ๗

ให้จัดตั้งส านักงานทะเบียนกลางขึ้นในกรม แรงงาน กระทรวงมหาดไทย มีอ านาจหน้าที่ใน การควบคุมการจดทะเบียนสมาคมนายจ้าง สหภาพแรงงาน สหพันธ์นายจ้างและสหพันธ์ แรงงาน ทั่วราชอาณาจักรและท าหน้าที่เป็น ส านักงานทะเบียนประจ ากรุงเทพมหานครด้วย ในจังหวัดอื่นนอกจากกรุงเทพมหานคร รัฐมนตรี จะจัดตั้งส านักงานทะเบียนประจ าจังหวัดขึ้นตรง ต่อส านักงานทะเบียนกลางก็ได้

มาตรา ๘

ให้จัดตั้งส านักงานคณะกรรมการแรงงาน สัมพันธ์ขึ้นในกระทรวงมหาดไทย มีอ านาจ หน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) ด าเนินการสอบสวนข้อเท็จจริงเบื้องต้น เกี่ยวกับค าร้องและข้อพิพาทแรงงาน (๒) ด าเนินการให้เป็นไปตามมติของ คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ (๓)อ านาจหน้าที่อื่น

มาตรา ๙

ให้จัดตั้งส านักงานผู้ชี้ขาดข้อพิพาทแรงงานขึ้น ในกระทรวงมหาดไทย มีอ านาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑)จัดท าบัญชีรายชื่อและคุณสมบัติของผู้ชี้ ขาดข้อพิพาทแรงงานเพื่อเสนอให้คู่กรณี เลือกตั้ง (๒) ควบคุมและด าเนินการทางวิชาการและ ธุรการเกี่ยวกับการชี้ขาดข้อพิพาทแรงงาน

หมวด ๑ ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง

มาตรา ๑๐

ให้สถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างตั้งแต่ยี่สิบคน ขึ้นไปจัดให้มีข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง ตามความในหมวดนี้ ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างให้ท าเป็นหนังสือ ในกรณีเป็นที่สงสัยว่า ในสถานประกอบกิจการ นั้นมีข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างหรือไม่ ให้ ถือว่าข้อบังคับเกี่ยวกับการท างานที่นายจ้างต้อง จัดให้มีตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน เป็นข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างตาม พระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๑๑

ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างอย่างน้อยต้องมี ข้อความ ดังต่อไปนี้ (๑) เงื่อนไขการจ้างหรือการท างาน (๒) ก าหนดวันและเวลาท างาน (๓) ค่าจ้าง (๔) สวัสดิการ (๕) การเลิกจ้าง (๖) การยื่นเรื่องราวร้องทุกข์ของลูกจ้าง (๗) การแก้ไขเพิ่มเติมหรือการต่ออายุข้อตกลง เกี่ยวกับสภาพการจ้าง

มาตรา ๑๒

ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง มีผลใช้บังคับ ภายในระยะเวลาที่นายจ้างและลูกจ้างได้ตกลง กัน แต่จะตกลงกันให้มีผลใช้บังคับเกินกว่าสาม ปีไม่ได้ถ้ามิได้ก าหนดระยะเวลาไว้ให้ถือว่า ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างมีผลใช้บังคับ หนึ่งปีนับแต่วันที่นายจ้างและลูกจ้างได้ตกลงกัน หรือนับแต่วันที่นายจ้างรับลูกจ้างเข้าท างาน แล้วแต่กรณี ในกรณีที่ระยะเวลาที่ก าหนดตามข้อตกลง เกี่ยวกับสภาพการจ้างสิ้นสุดลง ถ้ามิได้มีการ เจรจาตกลงกันใหม่ ให้ถือว่าข้อตกลงเกี่ยวกับ สภาพการจ้างนั้นมีผลใช้บังคับต่อไปอีกคราวละ หนึ่งป

มาตรา ๑๓

การเรียกร้องให้มีการก าหนดข้อตกลงเกี่ยวกับ สภาพการจ้าง หรือการแก้ไขเพิ่มเติมข้อตกลง เกี่ยวกับสภาพการจ้าง นายจ้างหรือลูกจ้างต้อง แจ้งข้อเรียกร้องเป็นหนังสือให้อีกฝ่ายหนึ่งทราบ ในกรณีที่นายจ้างเป็นผู้แจ้งข้อเรียกร้อง นายจ้าง ต้องระบุชื่อผู้เข้าร่วมในการเจรจา โดยจะระบุชื่อ ตนเองเป็นผู้เข้าร่วมในการเจรจา หรือจะตั้ง ผู้แทนเป็นผู้เข้าร่วมในการเจรจาก็ได้ถ้านายจ้าง ตั้งผู้แทนเป็นผู้เข้าร่วมในการเจรจา ผู้แทนของ นายจ้างต้องเป็น กรรมการ ผู้ถือหุ้น ผู้เป็น หุ้นส่วน หรือลูกจ้างประจ าของนายจ้าง กรรมการของสมาคมนายจ้างหรือกรรมการของ สหพันธ์นายจ้างและต้องมีจ านวนไม่เกินเจ็ดคน ในกรณีที่ลูกจ้างเป็นผู้แจ้งข้อเรียกร้อง ข้อ เรียกร้องนั้นต้องมีรายชื่อและลายมือชื่อของ ลูกจ้างซึ่งเกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้องไม่น้อยกว่า ร้อยละสิบห้าของลูกจ้างทั้งหมด ซึ่งเกี่ยวข้องกับ ข้อเรียกร้องนั้น ถ้าลูกจ้างได้เลือกตั้งผู้แทนเป็น ผู้เข้าร่วมในการเจรจาไว้แล้ว ให้ระบุชื่อผู้แทน ผู้เข้าร่วมในการเจรจามีจ านวนไม่เกินเจ็ดคน พร้อมกับการแจ้งข้อเรียกร้องด้วย ถ้าลูกจ้างยัง มิได้เลือกตั้งผู้แทนเป็นผู้เข้าร่วมในการเจรจา ให้ ลูกจ้างเลือกตั้งผู้แทนเป็นผู้เข้าร่วมในการเจรจา และระบุชื่อผู้แทนผู้เข้าร่วมในการเจรจา มี จ านวนไม่เกินเจ็ดคนโดยมิชักช้า การเลือกตั้งและการก าหนดระยะเวลาในการ เป็นผู้แทนลูกจ้าง เพื่อเป็นผู้เข้าร่วมในการเจรจา การด าเนินการเกี่ยวกับข้อเรียกร้องและการ รับทราบค าชี้ขาด ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และ วิธีการที่ก าหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๑๔

การเลือกตั้งผู้แทนลูกจ้าง ลูกจ้างจะจัดการเอง หรือจะร้องขอให้พนักงานประนอมข้อพิพาท แรงงานจัดการแทนก็ได้จ านวนผู้แทนลูกจ้างให้ เป็นไปตามที่ผู้จัดการเลือกตั้งก าหนด แต่ต้องไม่ เกินเจ็ดคน ผู้แทนลูกจ้างต้องเป็นลูกจ้างซึ่ง เกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้องนั้น หรือเป็นกรรมการ ของสหภาพแรงงานหรือกรรมการของสหพันธ์ แรงงานที่ลูกจ้างซึ่งเกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้องเป็น สมาชิก ลูกจ้างซึ่งเกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้องทุกคน มีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งผู้แทนลูกจ้าง

มาตรา ๑๕

สมาคมนายจ้าง หรือสหภาพแรงงานอาจแจ้งข้อ เรียกร้องตามมาตรา ๑๓ ต่ออีกฝ่ายหนึ่งแทน นายจ้างหรือลูกจ้างซึ่งเป็นสมาชิกได้จ านวน สมาชิกซึ่งเป็นลูกจ้างต้องมีจ านวนไม่น้อยกว่า หนึ่งในห้าของจ านวนลูกจ้างทั้งหมด ในกรณีที่สหภาพแรงงานเป็นผู้แจ้งข้อเรียกร้อง ข้อเรียกร้องนั้นไม่จ าต้องมีรายชื่อและลายมือชื่อ ลูกจ้างซึ่งเกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้อง ในกรณีที่มีข้อสงสัยว่า สหภาพแรงงานนั้นจะมี ลูกจ้างซึ่งเกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้องเป็นสมาชิก ครบจ านวนที่ได้ระบุไว้ในวรรคหนึ่งหรือไม่ นายจ้าง สมาคมนายจ้าง หรือสหภาพแรงงานที่ เกี่ยวข้องอาจยื่นค าร้องโดยท าเป็นหนังสือให้ พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานตรวจรับรอง เมื่อพนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานได้รับค า ร้องดังกล่าวแล้ว ให้ด าเนินการตรวจหลักฐานทั้ง ปวงว่าสหภาพแรงงานนั้นมีลูกจ้างซึ่งเกี่ยวข้อง กับข้อเรียกร้องเป็นสมาชิกหรือไม่ ถ้ามีให้ พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานออกหนังสือ รับรอง มอบให้ผู้ยื่นค าร้องเป็นหลักฐาน ถ้าไม่มี ให้พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานแจ้งให้ ฝ่ายที่เกี่ยวข้องทราบ ในกรณีที่สหภาพแรงงานเป็นผู้แจ้งข้อเรียกร้อง ถ้าความปรากฏแก่พนักงานประนอมข้อพิพาท แรงงานตามค าร้องของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งว่า ลูกจ้างซึ่งเกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้องนั้นบางส่วน เป็นสมาชิกสหภาพแรงงานอื่นด้วย ให้พนักงาน ประนอมข้อพิพาทแรงงานจัดให้มีการลงคะแนน เสียงเลือกตั้งผู้แทนลูกจ้างในการด าเนินการตาม มาตรา ๑๓

มาตรา ๑๖

เมื่อได้รับข้อเรียกร้องแล้ว ให้ฝ่ายที่รับข้อ เรียกร้องแจ้งชื่อตนเอง หรือผู้แทนเป็นหนังสือให้ ฝ่ายที่แจ้งข้อเรียกร้องทราบโดยมิชักช้า และให้ ทั้งสองฝ่ายเริ่มเจรจากันภายในสามวันนับแต่ วันที่ได้รับข้อเรียกร้อง

มาตรา ๑๗

นายจ้างหรือลูกจ้างจะแต่งตั้งที่ปรึกษาเพื่อให้ ค าปรึกษาแนะน าแก่ผู้แทนของตนตามมาตรา ๑๓ หรือมาตรา ๑๖ ก็ได้แต่ต้องมีจ านวนไม่เกิน ฝ่ายละสองคน ที่ปรึกษาตามวรรคหนึ่ง ต้องมีคุณสมบัติตามที่ อธิบดีก าหนดและต้องยื่นค าขอและได้รับการจด ทะเบียนจากอธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายแล้ว จึงจะแต่งตั้งให้เป็นที่ปรึกษาได้ ในกรณีที่นายจ้างหรือลูกจ้างแต่งตั้งที่ปรึกษา ให้ นายจ้างหรือลูกจ้างแจ้งชื่อที่ปรึกษาฝ่ายตนให้ อีกฝ่ายหนึ่งทราบ โดยแจ้งไว้ในข้อเรียกร้องตาม มาตรา ๑๓ หรือในหนังสือแจ้งชื่อผู้แทนเมื่อ แต่งตั้งขึ้นภายหลัง และให้ที่ปรึกษามีสิทธิเข้า ร่วมประชุม และเจรจาท าความตกลงได้

มาตรา ๑๗ ทวิ

ผู้ซึ่งได้รับการจดทะเบียนเป็นที่ปรึกษานายจ้าง หรือที่ปรึกษาลูกจ้าง ตามมาตรา ๑๗ ให้มี ระยะเวลาในการเป็นที่ปรึกษามีก าหนดสองปีนับ แต่วันที่ได้รับการจดทะเบียน ที่ปรึกษาอาจถูกสั่งให้พ้นจากการเป็นที่ปรึกษา ก่อนครบก าหนดเวลาตามวรรคหนึ่งได้หากขาด คุณสมบัติตามที่อธิบดีก าหนด ในกรณีที่พ้นจากการเป็นที่ปรึกษาตามวรรคสอง ผู้นั้นจะขอจดทะเบียนเป็นที่ปรึกษานายจ้างหรือ ที่ปรึกษาลูกจ้างได้อีกเมื่อพ้นสองปีนับแต่วันที่ อธิบดีสั่งให้พ้นจากการเป็นที่ปรึกษา

มาตรา ๑๘

ถ้านายจ้างหรือสมาคมนายจ้างกับลูกจ้างหรือ สหภาพแรงงาน สามารถตกลงเกี่ยวกับข้อ เรียกร้องตามมาตรา ๑๓ ได้แล้ว ให้ท าข้อตกลง เกี่ยวกับสภาพการจ้างนั้นเป็นหนังสือลงลายมือ ชื่อนายจ้างหรือผู้แทนนายจ้าง และผู้แทนลูกจ้าง หรือกรรมการของสหภาพแรงงาน แล้วแต่กรณี และให้นายจ้างประกาศข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพ การจ้างโดยเปิดเผยไว้ณ สถานที่ที่ลูกจ้างซึ่ง เกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้องท างานอยู่เป็นเวลาอย่าง น้อยสามสิบวัน โดยเริ่มประกาศภายในสามวัน นับแต่วันที่ได้ตกลงกัน ให้นายจ้างน าข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง ตามวรรคหนึ่งมาจดทะเบียนต่ออธิบดีหรือผู้ซึ่ง อธิบดีมอบหมายภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้ ตกลงกัน

มาตรา ๑๙

้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างมีผลผูกพัน นายจ้างและลูกจ้างซึ่งลงลายมือชื่อในข้อ เรียกร้องนั้น ตลอดจนลูกจ้างซึ่งมีส่วนในการ เลือกตั้งผู้แทนเป็นผู้เข้าร่วมในการเจรจาทุกคน ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่กระท าโดย นายจ้าง หรือสมาคมนายจ้างกับสหภาพแรงงาน หรือลูกจ้างซึ่งท างานในกิจการประเภทเดียวกัน โดยมีลูกจ้างซึ่งท างานในกิจการประเภทเดียวกัน เป็นสมาชิก หรือร่วมในการเรียกร้องเกี่ยวกับ สภาพการจ้างเกินกว่าสองในสามของลูกจ้าง ทั้งหมด ให้ถือว่าข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง นั้นมีผลผูกพันนายจ้างและลูกจ้างซึ่งท างานใน กิจการประเภทเดียวกันนั้นทุกคน

มาตรา ๒๐

เมื่อข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างมีผลใช้บังคับ แล้ว ห้ามมิให้นายจ้างท าสัญญาจ้างแรงงานกับ ลูกจ้างขัดหรือแย้งกับข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพ การจ้าง เว้นแต่สัญญาจ้างแรงงานนั้นจะเป็นคุณ แก่ลูกจ้างยิ่งกว่า

หมวด ๒ วิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน

มาตรา ๒๑

ในกรณีที่ไม่มีการเจรจากันภายในก าหนดตาม มาตรา ๑๖ หรือมีการเจรจากันแล้วแต่ตกลงกัน ไม่ได้ไม่ว่าด้วยเหตุใด ให้ถือว่าได้มีข้อพิพาท แรงงานเกิดขึ้น และให้ฝ่ายแจ้งข้อเรียกร้องแจ้ง เป็นหนังสือให้พนักงานประนอมข้อพิพาท แรงงานทราบภายในยี่สิบสี่ชั่วโมง นับแต่เวลาที่ พ้นก าหนดตามมาตรา ๑๖ หรือนับแต่เวลาที่ตก ลงกันไม่ได้แล้วแต่กรณ

มาตรา ๒๒

เมื่อพนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานได้รับแจ้ง ตามมาตรา ๒๑ แล้ว ให้พนักงานประนอมข้อ พิพาทแรงงานด าเนินการไกล่เกลี่ยเพื่อให้ฝ่าย แจ้งข้อเรียกร้องและฝ่ายรับข้อเรียกร้องตกลงกัน ภายในก าหนดห้าวัน นับแต่วันที่พนักงาน ประนอมข้อพิพาทแรงงานได้รับหนังสือแจ้ง ถ้าได้มีการตกลงกันภายในระยะเวลาตามวรรค หนึ่ง ให้น ามาตรา ๑๘ มาใช้บังคับโดยอนุโลม ในกรณีที่ไม่อาจตกลงกันได้ภายในระยะเวลา ตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่าข้อพิพาทแรงงานนั้น เป็น ข้อพิพาทแรงงานที่ตกลงกันไม่ได้ในกรณีเช่นว่า นี้นายจ้างและลูกจ้างอาจตกลงกันตั้งผู้ชี้ขาดข้อ พิพาทแรงงานตามมาตรา ๒๖ หรือนายจ้างจะ ปิดงานหรือลูกจ้างจะนัดหยุดงานโดยไม่ขัดต่อ มาตรา ๓๔ ก็ได้ ทั้งนี้ภายใต้บังคับมาตรา ๒๓ มาตรา ๒๔ มาตรา ๒๕ หรือมาตรา ๓๖

มาตรา ๒๓

เมื่อมีข้อพิพาทแรงงานที่ตกลงกันไม่ได้ในกิจการ ดังต่อไปนี้ (๑) การรถไฟ (๒) การท่าเรือ (๓) การโทรศัพท์หรือการโทรคมนาคม (๔) การผลิตหรือการจ าหน่ายพลังงานหรือ กระแสไฟฟ้าแก่ประชาชน (๕) การประปา (๖) การผลิตหรือการกลั่นน ้ามันเชื้อเพลิง (๗) กิจการโรงพยาบาลหรือกิจการ สถานพยาบาล (๘) กิจการอื่นตามที่ก าหนดในกฎกระทรวง ให้พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานส่งข้อ พิพาทแรงงานให้คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ เพื่อพิจารณาวินิจฉัย และแจ้งให้ทั้งสองฝ่าย ทราบภายในสามสิบวันนับแต่วันที่รับข้อพิพาท แรงงาน นายจ้าง สมาคมนายจ้าง สหพันธ์นายจ้าง ลูกจ้าง สหภาพแรงงานหรือสหพันธ์แรงงาน มี สิทธิอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีภายในเจ็ดวันนับแต่ วันที่ได้รับค าวินิจฉัย ให้รัฐมนตรีวินิจฉัยอุทธรณ์ และแจ้งให้ทั้งสองฝ่ายทราบภายในสิบวันนับแต่ วันที่รับค าอุทธรณ์ ค าวินิจฉัยของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ที่ มิได้อุทธรณ์ภายในก าหนด และค าวินิจฉัย อุทธรณ์ของรัฐมนตรีให้เป็นที่สุด ฝ่ายแจ้งข้อ เรียกร้องและฝ่ายรับข้อเรียกร้องต้องปฏิบัติตาม

มาตรา ๒๔

เมื่อมีข้อพิพาทแรงงานที่ตกลงกันไม่ได้ในกิจการ ใดนอกจากกิจการตามมาตรา ๒๓ ถ้ารัฐมนตรี เห็นว่าข้อพิพาทแรงงานที่ตกลงกันไม่ได้นั้น อาจ มีผลกระทบกระเทือนต่อเศรษฐกิจของประเทศ หรือความสงบเรียบร้อยของประชาชน รัฐมนตร มีอ านาจสั่งให้คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ชี้ ขาดข้อพิพาทแรงงานนั้นได้และให้ คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ชี้ขาดภายใน สามสิบวันนับแต่วันที่รับค าสั่ง รัฐมนตรีมีอ านาจขยายระยะเวลาให้ คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ชี้ขาดได้ตามที่ เห็นสมควร ค าชี้ขาดของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ให้ เป็นที่สุด ฝ่ายแจ้งข้อเรียกร้องและฝ่ายรับข้อ เรียกร้องต้องปฏิบัติตาม

มาตรา ๒๕

ในกรณีที่มีการประกาศใช้กฎอัยการศึกตาม กฎหมายว่าด้วยกฎอัยการศึก หรือประกาศ สถานการณ์ฉุกเฉินตามกฎหมายว่าด้วยการ บริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน หรือใน กรณีที่ประเทศประสบปัญหาทางเศรษฐกิจอย่าง ร้ายแรง ให้รัฐมนตรีมีอ านาจประกาศในราช กิจจานุเบกษาก าหนดให้ข้อพิพาทแรงงานที่ตก ลงกันไม่ได้ตามมาตรา ๒๒ วรรคสาม อันเกิดขึ้น ในท้องที่ใดท้องที่หนึ่ง หรือกิจการประเภทใด ประเภทหนึ่งได้รับการพิจารณาชี้ขาดจากคณะ บุคคลคณะใดคณะหนึ่งตามที่รัฐมนตรีจะได้ ก าหนดหรือแต่งตั้งก็ได้ ค าชี้ขาดของคณะบุคคลนั้นให้เป็นที่สุด ฝ่ายแจ้ง ข้อเรียกร้องและฝ่ายรับข้อเรียกร้องต้องปฏิบัติ ตาม ประกาศของรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่งจะยกเลิก เสียเมื่อใดก็ได้โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๒๖

เมื่อมีข้อพิพาทแรงงานที่ตกลงกันไม่ได้ตาม มาตรา ๒๒ วรรคสาม นายจ้างและลูกจ้างอาจ ตกลงกันตั้งผู้ชี้ขาดข้อพิพาทแรงงานคนหนึ่งหรือ หลายคนเพื่อชี้ขาดข้อพิพาทแรงงานนั้นได้

มาตรา ๒๗

ภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ได้ทราบการตั้ง ให้ผู้ชี้ ขาดข้อพิพาทแรงงานแจ้งเป็นหนังสือก าหนดวัน ส่งค าชี้แจงเกี่ยวกับข้อพิพาทแรงงาน และวัน เวลาและสถานที่ที่จะพิจารณาข้อพิพาทแรงงาน ให้ฝ่ายแจ้งข้อเรียกร้องและฝ่ ายรับข้อเรียกร้อง ทราบ

มาตรา ๒๘

ในการพิจารณาข้อพิพาทแรงงาน ผู้ชี้ขาดข้อ พิพาทแรงงานต้องให้โอกาสฝ่ายแจ้งข้อเรียกร้อง และฝ่ายรับข้อเรียกร้องชี้แจงแถลงเหตุผลและน า พยานเข้าสืบ

มาตรา ๒๙

เมื่อพิจารณาข้อพิพาทแรงงานเสร็จแล้ว ให้ผู้ชี้ ขาดข้อพิพาทแรงงานท าค าชี้ขาดเป็นหนังสือ ค า ชี้ขาดอย่างน้อยต้องมีข้อความ ดังต่อไปนี้ (๑) วันเดือนปีที่ท าค าชี้ขาด (๒) ประเด็นแห่งข้อพิพาทแรงงาน (๓)ข้อเท็จจริงที่พิจารณาได้ความ (๔) เหตุผลแห่งค าชี้ขาด (๕) ค าชี้ขาดให้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหรือทั้งสอง ฝ่ายปฏิบัติหรืองดเว้นปฏิบัติ ค าชี้ขาดของผู้ชี้ขาดข้อพิพาทแรงงาน ให้ถือเสียง ข้างมากและต้องลงลายมือชื่อผู้ชี้ขาดข้อพิพาท แรงงาน ให้ผู้ชี้ขาดข้อพิพาทแรงงานส่งค าชี้ขาดข้อพิพาท แรงงานให้ฝ่ายแจ้งข้อเรียกร้องและฝ่ายรับข้อ เรียกร้องหรือผู้แทนตามมาตรา ๑๓ หรือมาตรา ๑๖ ทราบภายในสามวัน นับแต่วันที่ท าค าชี้ขาด พร้อมทั้งปิดส าเนาค าชี้ขาดไว้ณ สถานที่ที่ ลูกจ้างซึ่งเกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้องท างานอยู่ ให้ผู้ชี้ขาดข้อพิพาทแรงงานน าค าชี้ขาดข้อพิพาท แรงงานมาจดทะเบียนต่ออธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดี มอบหมายภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้ชี้ขาด

มาตรา ๓๐

ค าวินิจฉัยของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ที่ มิได้อุทธรณ์ภายในก าหนดและค าวินิจฉัย อุทธรณ์ของรัฐมนตรีตามมาตรา ๒๓ ค าชี้ขาด ของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ตามมาตรา ๒๔ มาตรา ๓๕ (๔) หรือมาตรา ๔๑ (๓) ค าชี้ ขาดข้อพิพาทแรงงานตามมาตรา ๒๕ หรือ มาตรา ๒๙ ให้มีผลใช้บังคับได้เป็นเวลาหนึ่งปี นับแต่วันที่ได้วินิจฉัยหรือวันที่ได้ชี้ขาด

าตรา ๓๑

เมื่อได้มีการแจ้งข้อเรียกร้องตามมาตรา ๑๓ แล้ว ถ้าข้อเรียกร้องนั้นยังอยู่ในระหว่างการเจรจา การไกล่เกลี่ย หรือการชี้ขาดข้อพิพาทแรงงาน ตามมาตรา ๑๓ ถึงมาตรา ๒๙ ห้ามมิให้นายจ้าง เลิกจ้างหรือโยกย้ายหน้าที่การงานลูกจ้าง ผู้แทน ลูกจ้าง กรรมการอนุกรรมการ หรือสมาชิก สหภาพแรงงาน หรือกรรมการหรืออนุกรรมการ สหพันธ์แรงงาน ซึ่งเกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้อง เว้น แต่บุคคลดังกล่าว (๑) ทุจริตต่อหน้าที่หรือกระท าความผิดอาญา โดยเจตนาแก่นายจ้าง (๒)จงใจท าให้นายจ้างได้รับความเสียหาย (๓) ฝ่าฝืนข้อบังคับ ระเบียบ หรือค าสั่งอัน ชอบด้วยกฎหมายของนายจ้าง โดยนายจ้าง ได้ว่ากล่าวและตักเตือนเป็นหนังสือแล้ว เว้น แต่กรณีที่ร้ายแรง นายจ้างไม่จ าต้องว่ากล่าว และตักเตือน ทั้งนี้ข้อบังคับ ระเบียบหรือ ค าสั่งนั้นต้องมิได้ออกเพื่อขัดขวางมิให้บุคคล ดังกล่าวด าเนินการเกี่ยวกับข้อเรียกร้อง (๔) ละทิ้งหน้าที่เป็นเวลาสามวันท างาน ติดต่อกันโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ห้ามมิให้ลูกจ้าง ผู้แทนลูกจ้าง กรรมการ อนุกรรมการ หรือสมาชิกสหภาพแรงงาน หรือ กรรมการ หรืออนุกรรมการสหพันธ์แรงงาน ซึ่ง เกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้อง สนับสนุน หรือก่อ เหตุการนัดหยุดงาน

มาตรา ๓๒

ห้ามมิให้บุคคลอื่นซึ่งมิใช่นายจ้าง ลูกจ้าง กรรมการสมาคมนายจ้าง กรรมการสหภาพ แรงงาน กรรมการสหพันธ์นายจ้าง กรรมการ สหพันธ์แรงงาน ผู้แทนหรือที่ปรึกษาซึ่งเกี่ยวข้อง กับข้อเรียกร้อง เข้าไปด าเนินการหรือร่วมกระท า การใด ๆในการเรียกร้อง การเจรจา การไกล่ เกลี่ย การชี้ขาดข้อพิพาทแรงงาน การปิดงาน หรือการชุมนุมในการนัดหยุดงาน

มาตรา ๓๓

ในกรณีที่ประเทศประสบปัญหาทางเศรษฐกิจ อย่างร้ายแรงและได้มีการประกาศห้ามขึ้นราคา สินค้าและบริการ รัฐมนตรีมีอ านาจประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา ห้ามมิให้ลูกจ้าง สหภาพ แรงงาน หรือสหพันธ์แรงงานยื่นข้อเรียกร้องให้ นายจ้าง สมาคมนายจ้าง หรือสหพันธ์นายจ้าง เพิ่มค่าจ้างแก่ลูกจ้าง หรือห้ามมิให้นายจ้างเพิ่ม ค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างได้ ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับแก่การเลื่อน อัตราค่าจ้างเพื่อเป็นบ าเหน็จแก่ลูกจ้างประจ าปี ซึ่งนายจ้างได้ก าหนดไว้แน่นอนแล้ว หรือการ เลื่อนอัตราค่าจ้างเนื่องจากลูกจ้างเปลี่ยนแปลง หน้าที่การงาน ประกาศของรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่งจะยกเลิก เสียเมื่อใดก็ได้โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา

หมวด ๓ การปิ ดงานและการนัดหยุดงาน

มาตรา ๓๔

ห้ามมิให้นายจ้างปิดงานหรือลูกจ้างนัดหยุดงาน ในกรณีดังต่อไปนี้ (๑) เมื่อยังไม่มีการแจ้งข้อเรียกร้องต่ออีกฝ่าย หนึ่งตามมาตรา ๑๓ หรือได้แจ้งข้อเรียกร้อง แล้วแต่ข้อพิพาทแรงงานนั้นยังไม่เป็นข้อ พิพาทแรงงานที่ตกลงกันไม่ได้ตามมาตรา ๒๒ วรรคสาม (๒) เมื่อฝ่ายซึ่งมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตาม ข้อตกลง ตามมาตรา ๑๘ ได้ปฏิบัติตาม ข้อตกลง (๓) เมื่อฝ่ายซึ่งมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตาม ข้อตกลงที่พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงาน ได้ไกล่เกลี่ยตามมาตรา ๒๒ วรรคสอง ได้ ปฏิบัติตามข้อตกลง (๔) เมื่อฝ่ายซึ่งมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามค าชี้ ขาดของผู้ชี้ขาดข้อพิพาทแรงงานซึ่งตั้งตาม มาตรา ๒๕ หรือมาตรา ๒๖ ได้ปฏิบัติตามค าชี้ ขาด (๕) เมื่ออยู่ในระหว่างการพิจารณาวินิจฉัย ของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์หรือมีค า วินิจฉัยของรัฐมนตรีตามมาตรา ๒๓ หรือค าชี้ ขาดของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ตาม มาตรา ๒๔ (๖) เมื่ออยู่ในระหว่างการชี้ขาดของผู้ชี้ขาดข้อ พิพาทแรงงาน ซึ่งตั้งตามมาตรา ๒๕ หรือ มาตรา ๒๖ ไม่ว่ากรณีจะเป็นประการใด ห้ามมิให้นายจ้าง ปิดงานหรือลูกจ้างนัดหยุดงานโดยมิได้แจ้งเป็น หนังสือให้พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงาน และอีกฝ่ายหนึ่งทราบล่วงหน้าเป็นเวลาอย่าง น้อยยี่สิบสี่ชั่วโมงนับแต่เวลาที่รับแจ้ง

มาตรา ๓๕

ในกรณีที่รัฐมนตรีเห็นว่าการปิดงานหรือการนัด หยุดงานนั้น อาจท าให้เกิดความเสียหายแก่ เศรษฐกิจของประเทศ หรืออาจก่อให้เกิดความ เดือดร้อนแก่ประชาชน หรืออาจเป็นภัยต่อความ มั่นคงของประเทศ หรืออาจขัดต่อความสงบ เรียบร้อยของประชาชน ให้รัฐมนตรีมีอ านาจ ดังต่อไปนี้ (๑) สั่งให้นายจ้างซึ่งปิดงานรับลูกจ้างกลับเข้า ท างานและจ่ายค่าจ้างตามอัตราที่เคยจ่าย ให้แก่ลูกจ้างนั้น (๒) สั่งให้ลูกจ้างซึ่งนัดหยุดงานกลับเข้า ท างานตามปกติ (๓)จัดให้บุคคลเข้าท างานแทนที่ลูกจ้างซึ่ง มิได้ท างานเพราะการปิดงาน หรือการนัดหยุด งาน นายจ้างต้องยอมให้บุคคลเหล่านั้นเข้า ท างาน และห้ามมิให้ลูกจ้างขัดขวาง ให้ นายจ้างจ่ายค่าจ้างแก่บุคคลเหล่านั้นตาม อัตราที่เคยจ่ายให้แก่ลูกจ้าง (๔) สั่งให้คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ ด าเนินการชี้ขาดข้อพิพาทแรงงาน

มาตรา ๓๖

ในกรณีที่มีประกาศใช้กฎอัยการศึกตาม กฎหมายว่าด้วยกฎอัยการศึก หรือประกาศ สถานการณ์ฉุกเฉินตามกฎหมายว่าด้วยการ บริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน ให้รัฐมนตรี มีอ านาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา ห้ามมิให้ นายจ้างปิดงาน หรือลูกจ้างนัดหยุดงาน ในเขต ท้องที่ที่ได้ประกาศใช้กฎอัยการศึก หรือประกาศ สถานการณ์ฉุกเฉินทั้งหมดหรือบางส่วนได้ ในกรณีที่มีการปิดงานหรือการนัดหยุดงานอยู่ ก่อนมีประกาศของรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่ง ให้ รัฐมนตรีมีอ านาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา สั่งให้นายจ้างซึ่งปิดงาน รับลูกจ้างกลับเข้า ท างาน หรือสั่งให้ลูกจ้างซึ่งนัดหยุดงานกลับเข้า ท างานตามปกติภายในระยะเวลาที่รัฐมนตรี ก าหนด ประกาศของรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่งจะยกเลิก เสียเมื่อใดก็ได้โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา

หมวด ๔ คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์

มาตรา ๓๗

ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์” ประกอบด้วย ประธานกรรมการหนึ่งคนและกรรมการอื่นอีกไม่ น้อยกว่าแปดคน แต่ไม่เกินสิบสี่คน ในจ านวน นั้นอย่างน้อยต้องมีกรรมการซึ่งเป็นฝ่ายนายจ้าง สามคนและฝ่ายลูกจ้างสามคน ให้รัฐมนตรีเป็นผู้แต่งตั้งประธานกรรมการและ กรรมการ

มาตรา ๓๘

ให้ประธานกรรมการ และกรรมการตามมาตรา ๓๗ อยู่ในต าแหน่งคราวละสามปีในวาระ เริ่มแรกเมื่อครบก าหนดหนึ่งปีให้ประธาน กรรมการและกรรมการพ้นจากต าแหน่งหนึ่งใน สามโดยวิธีจับสลาก และเมื่อครบสองปีให้ ประธานกรรมการหรือกรรมการที่เหลืออยู่พ้น จากต าแหน่งอีกหนึ่งในสามโดยวิธีจับสลาก ในกรณีที่มีการแต่งตั้งประธานกรรมการหรือ กรรมการแทนประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่ง พ้นจากต าแหน่งตามวาระหรือโดยวิธีจับสลาก ให้ผู้ได้รับแต่งตั้งใหม่นั้นอยู่ในต าแหน่งคราวละ สามปี ในกรณีที่มีการแต่งตั้งประธานกรรมการหรือ กรรมการแทนประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่ง พ้นจากต าแหน่งตามมาตรา ๓๙ (๑) (๒) (๓) (๕) (๖) หรือ(๗) ให้ผู้ได้รับแต่งตั้งแทนนั้นอยู่ใน ต าแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของประธาน กรรมการหรือกรรมการซึ่งตนแทน ประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งพ้นจาก ต าแหน่งอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้

มาตรา ๓๙

นอกจากการพ้นจากต าแหน่งตามวาระตาม มาตรา ๓๘ ประธานกรรมการ หรือกรรมการพ้น จากต าแหน่ง เมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) รัฐมนตรีให้ออก (๔) พ้นจากต าแหน่งโดยการจับสลากตาม มาตรา ๓๘ วรรคหนึ่ง (๕) เป็นบุคคลล้มละลาย (๖) เป็นคนไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ ความสามารถ หรือ (๗) ได้รับโทษจ าคุกโดยค าพิพากษาถึงที่สุดให้ จ าคุก

มาตรา ๔๐

การประชุมของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าห้าคน และ ต้องมีกรรมการซึ่งเป็นฝ่ ายนายจ้างและฝ่าย ลูกจ้างอย่างน้อยฝ่ายละหนึ่งคน จึงจะเป็นองค์ ประชุม แต่ถ้าเป็นการประชุมเพื่อพิจารณา วินิจฉัยข้อพิพาทแรงงานตามมาตรา ๒๓ มาตรา ๒๔ หรือมาตรา ๓๕ (๔) ต้องมีกรรมการมา ประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ านวนกรรมการ ทั้งหมด และต้องมีกรรมการซึ่งเป็นฝ่ายนายจ้าง และฝ่ายลูกจ้างอย่างน้อยฝ่ายละหนึ่งคน จึงจะ เป็นองค์ประชุม ถ้าในการประชุมคราวใดประธานกรรมการไม่อยู่ ในที่ประชุมหรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้ กรรมการซึ่งมาประชุมเลือกกรรมการด้วยกันคน หนึ่ง เป็นประธานในที่ประชุม มติของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคน หนึ่งมีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียง เท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้น อีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด

มาตรา ๔๑

ให้คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์มีอ านาจและ หน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) วินิจฉัยข้อพิพาทแรงงานตามมาตรา ๒๓ (๒)ชี้ขาดข้อพิพาทแรงงานตามมาตรา ๒๔ หรือมาตรา ๓๕ (๔) (๓)ชี้ขาดข้อพิพาทแรงงานตามที่ได้รับแต่งตั้ง หรือมอบหมาย (๔) วินิจฉัยชี้ขาดค าร้องตามมาตรา ๑๒๕ และในกรณีที่คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ชี้ ขาดว่าเป็นการกระท าอันไม่เป็นธรรม ให้มี อ านาจสั่งให้นายจ้างรับลูกจ้างกลับเข้าท างาน หรือให้จ่ายค่าเสียหาย หรือให้ผู้ฝ่าฝืนปฏิบัติ หรือไม่ปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งได้ตามที่ เห็นสมควร (๕) เสนอความเห็นเกี่ยวกับการเรียกร้อง การ เจรจา การระงับข้อพิพาทแรงงาน การนัดหยุด งานและการปิดงาน ตามที่รัฐมนตรีมอบหมาย (๖) ตราข้อบังคับการประชุมและวางระเบียบ การพิจารณาวินิจฉัย และชี้ขาดข้อพิพาท แรงงาน และการพิจารณาวินิจฉัยชี้ขาดการ กระท าอันไม่เป็นธรรม และการออกค าสั่งของ คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์

มาตรา ๔๒

คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์มีอ านาจแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการแรงงานสัมพันธ์เพื่อหา ข้อเท็จจริงและเสนอความเห็นในเรื่องที่ คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์มอบหมายเป็น การประจ าหรือเฉพาะคราวได้

มาตรา ๔๓

ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ ให้กรรมการแรงงาน สัมพันธ์หรืออนุกรรมการแรงงานสัมพันธ์มี อ านาจ ดังต่อไปนี้ (๑) เข้าไปในสถานที่ท างานของนายจ้าง สถานที่ที่ลูกจ้างท างานอยู่ หรือส านักงานของ สมาคมนายจ้าง สหภาพแรงงาน สหพันธ์ นายจ้าง หรือสหพันธ์แรงงาน ในระหว่างเวลา ท าการ เพื่อสอบถามข้อเท็จจริงหรือตรวจสอบ เอกสารได้ตามความจ าเป็น (๒) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลมาให้ ถ้อยค า หรือให้ส่งสิ่งของหรือเอกสารที่ เกี่ยวข้องมาเพื่อประกอบการพิจารณาของ คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์หรือ คณะอนุกรรมการแรงงานสัมพันธ์ ให้ผู้ซึ่งเกี่ยวข้องอ านวยความสะดวก ตอบ หนังสือสอบถามชี้แจงข้อเท็จจริงหรือส่งสิ่งของ หรือเอกสารที่เกี่ยวข้องแก่กรรมการแรงงาน สัมพันธ์หรืออนุกรรมการแรงงานสัมพันธ์ ดังกล่าวในการปฏิบัติหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง

มาตรา ๔๔

กรรมการแรงงานสัมพันธ์หรืออนุกรรมการ แรงงานสัมพันธ์จะมีหนังสือเชิญผู้เชี่ยวชาญหรือ ผู้ทรงคุณวุฒิมาแสดงความคิดเห็นในเรื่องที่ เกี่ยวข้องก็ได้

หมวด ๕ คณะกรรมการลูกจ้าง

มาตรา ๔๕

ในสถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างตั้งแต่ห้าสิบ คนขึ้นไป ลูกจ้างอาจจัดตั้งคณะกรรมการลูกจ้าง ในสถานประกอบกิจการนั้นได้ ในกรณีที่ลูกจ้างในสถานประกอบกิจการนั้นเกิน หนึ่งในห้าของจ านวนลูกจ้างทั้งหมดเป็นสมาชิก ของสหภาพแรงงาน ให้คณะกรรมการลูกจ้าง ประกอบด้วยลูกจ้างในสถานประกอบกิจการนั้น ที่สหภาพแรงงานแต่งตั้งมีจ านวนมากกว่า กรรมการอื่นที่มิได้เป็นสมาชิกของสหภาพ แรงงานหนึ่งคน ถ้าลูกจ้างในสถานประกอบ กิจการนั้นเกินกึ่งหนึ่งของจ านวนลูกจ้างทั้งหมด เป็นสมาชิกของสหภาพแรงงาน สหภาพแรงงาน อาจแต่งตั้งกรรมการลูกจ้างทั้งคณะก็ได้ ให้น ามาตรา ๑๕ วรรคสามและวรรคสี่มาใช้ บังคับแก่การแต่งตั้งกรรมการลูกจ้างตามวรรค สองโดยอนุโลม

มาตรา ๔๖

คณะกรรมการลูกจ้างมีจ านวน ดังต่อไปนี้ (๑) ห้าคน ส าหรับสถานประกอบกิจการที่มี ลูกจ้างตั้งแต่ห้าสิบคนขึ้นไป แต่ไม่เกินหนึ่งร้อย คน (๒) เจ็ดคน ส าหรับสถานประกอบกิจการที่มี ลูกจ้างเกินหนึ่งร้อยคน แต่ไม่เกินสองร้อยคน (๓) เก้าคน ส าหรับสถานประกอบกิจการที่มี ลูกจ้างเกินสองร้อยคน แต่ไม่เกินสี่ร้อยคน (๔) สิบเอ็ดคน ส าหรับสถานประกอบกิจการที่มี ลูกจ้างเกินสี่ร้อยคน แต่ไม่เกินแปดร้อยคน (๕) สิบสามคน ส าหรับสถานประกอบกิจการที มีลูกจ้างเกินแปดร้อยคน แต่ไม่เกินหนึ่งพันห้า ร้อยคน (๖) สิบห้าคน ส าหรับสถานประกอบกิจการที่มี ลูกจ้างเกินหนึ่งพันห้าร้อยคน แต่ไม่เกินสองพัน ห้าร้อยคน (๗) สิบเจ็ดคนถึงยี่สิบเอ็ดคน ส าหรับสถาน ประกอบกิจการที่มีลูกจ้างเกินสองพันห้าร้อย คน หลักเกณฑ์และวิธีการในการเลือกตั้งกรรมการ ลูกจ้างให้เป็นไปตามที่อธิบดีก าหนด โดย ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๔๗

กรรมการลูกจ้างอยู่ในต าแหน่งคราวละสามปี แต่อาจได้รับเลือกตั้งหรือแต่งตั้งใหม่ได้

มาตรา ๔๘

นอกจากพ้นจากต าแหน่งตามวาระ กรรมการ ลูกจ้างพ้นจากต าแหน่ง เมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) เป็นคนไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ ความสามารถ (๔) ได้รับโทษจ าคุกโดยค าพิพากษาถึงที่สุดให้ จ าคุก (๕) ลูกจ้างเกินกึ่งหนึ่งของจ านวนลูกจ้าง ทั้งหมดในสถานประกอบกิจการนั้น มีมติให้พ้น จากต าแหน่ง (๖) ศาลแรงงานมีค าสั่งให้พ้นจากต าแหน่ง (๗) มีการเลือกตั้งหรือแต่งตั้งกรรมการลูกจ้าง ใหม่ทั้งคณะ เมื่อกรรมการลูกจ้างพ้นจากต าแหน่งก่อนวาระ ให้มีการเลือกตั้งหรือแต่งตั้งกรรมการลูกจ้างแทน ต าแหน่งที่ว่างแล้วแต่กรณี กรรมการลูกจ้างซึ่งได้รับเลือกตั้งหรือแต่งตั้งตาม วรรคสองอยู่ในต าแหน่งตามวาระของกรรมการ ซึ่งตนแทน

มาตรา ๔๙

ให้มีการเลือกตั้งหรือแต่งตั้งกรรมการลูกจ้างใหม่ ทั้งคณะ เมื่อ (๑)จ านวนลูกจ้างในสถานประกอบกิจการนั้น มีจ านวนเพิ่มขึ้นหรือลดลงเกินกึ่งหนึ่งของ จ านวนลูกจ้างทั้งหมดที่มีอยู่เดิม (๒) กรรมการลูกจ้างพ้นจากต าแหน่งเกินกึ่ง หนึ่ง (๓) ลูกจ้างเกินกึ่งหนึ่งของลูกจ้างในสถาน ประกอบกิจการนั้นมีมติให้กรรมการลูกจ้างทั้ง คณะพ้นจากต าแหน่ง (๔) ศาลแรงงานมีค าสั่งให้กรรมการลูกจ้างทั้ง คณะพ้นจากต าแหน่ง

มาตรา ๕๐

นายจ้างต้องจัดให้มีการประชุมหารือกับ คณะกรรมการลูกจ้างอย่างน้อยสามเดือนต่อ หนึ่งครั้ง หรือเมื่อกรรมการลูกจ้างเกินกึ่งหนึ่งของ กรรมการลูกจ้างทั้งหมด หรือสหภาพแรงงานร้อง ขอโดยมีเหตุผลสมควร เพื่อ (๑)จัดสวัสดิการแก่ลูกจ้าง (๒) ปรึกษาหารือเพื่อก าหนดข้อบังคับในการ ท างานอันจะเป็นประโยชน์ต่อนายจ้างและ ลูกจ้าง (๓) พิจารณาค าร้องทุกข์ของลูกจ้าง (๔) หาทางปรองดองและระงับข้อขัดแย้งใน สถานประกอบกิจการ ในกรณีที่คณะกรรมการลูกจ้างเห็นว่าการกระท า ของนายจ้างจะท าให้ลูกจ้างไม่ได้รับความเป็น ธรรมหรือได้รับความเดือดร้อนเกินสมควร คณะกรรมการลูกจ้าง ลูกจ้างหรือสหภาพ แรงงานมีสิทธิร้องขอให้ศาลแรงงานพิจารณา วินิจฉัย

มาตรา ๕๑

ในกรณีที่กรรมการลูกจ้างผู้ใดหรือคณะกรรมการ ลูกจ้างไม่ปฏิบัติหน้าที่ของตนโดยสุจริต หรือ กระท าการอันไม่สมควรอันเป็นภัยต่อความสงบ เรียบร้อยของประชาชน หรือเปิดเผยความลับ ของนายจ้างเกี่ยวกับการประกอบกิจการโดยไม่ มีเหตุผลสมควร นายจ้างมีสิทธิร้องขอให้ศาล แรงงานมีค าสั่งให้กรรมการลูกจ้างผู้นั้นหรือ กรรมการลูกจ้างทั้งคณะพ้นจากต าแหน่งได้

มาตรา ๕๒

ห้ามมิให้นายจ้างเลิกจ้าง ลดค่าจ้าง ลงโทษ ขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการลูกจ้าง หรือกระท าการใด ๆอันอาจเป็นผลให้กรรมการ ลูกจ้างไม่สามารถท างานอยู่ต่อไปได้เว้นแต่จะ ได้รับอนุญาตจากศาลแรงงาน

มาตรา ๕๓

ห้ามมิให้นายจ้างให้หรือตกลงจะให้เงินหรือ ทรัพย์สินแก่กรรมการลูกจ้าง เว้นแต่ค่าจ้าง ค่า ล่วงเวลา ค่าท างานในวันหยุด โบนัส เงินปันผล หรือประโยชน์อื่นที่กรรมการลูกจ้างมีสิทธิได้รับ ตามปกติในฐานะลูกจ้าง

หมวด ๖ สมาคมนายจ้าง

มาตรา ๕๔

สมาคมนายจ้างจะมีขึ้นได้ก็แต่โดยอาศัยอ านาจ ตามบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ สมาคมนายจ้างต้องมีวัตถุที่ประสงค์เพื่อการ แสวงหาและคุ้มครองผลประโยชน์เกี่ยวกับสภาพ การจ้างและส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่าง นายจ้างกับลูกจ้างและระหว่างนายจ้างด้วยกัน

มาตรา ๕๕

สมาคมนายจ้างต้องมีข้อบังคับและต้องจด ทะเบียนต่อนายทะเบียน เมื่อได้จดทะเบียนแล้ว ให้สมาคมนายจ้างเป็นนิติบุคคล

มาตรา ๕๖

ผู้มีสิทธิจัดตั้งสมาคมนายจ้างต้องเป็นนายจ้างที่ ประกอบกิจการประเภทเดียวกัน บรรลุนิติภาวะ และมีสัญชาติไทย

มาตรา ๕๗

การขอจดทะเบียนสมาคมนายจ้างนั้น ให้ นายจ้างผู้มีสิทธิจัดตั้งสมาคมนายจ้างจ านวนไม่ น้อยกว่าสามคนเป็นผู้เริ่มก่อการ ยื่นค าขอเป็น หนังสือต่อนายทะเบียน พร้อมด้วยร่างข้อบังคับ ของสมาคมนายจ้างอย่างน้อยสามฉบับ ค าขอนั้น ต้องระบุชื่ออายุอาชีพหรือวิชาชีพและ ที่อยู่ของผู้เริ่มก่อการทุกคน

มาตรา ๕๘

ข้อบังคับของสมาคมนายจ้างอย่างน้อยต้องมี ข้อความ ดังต่อไปนี้ (๑)ชื่อซึ่งต้องมีค าว่า “สมาคมนายจ้าง” ก ากับ ไว้กับชื่อนั้นด้วย (๒) วัตถุที่ประสงค์ (๓) ที่ตั้งส านักงาน (๔) วิธีรับสมาชิกและการขาดจากสมาชิกภาพ (๕)อัตราเงินค่าสมัครและค่าบ ารุงและวิธีการ ช าระเงินนั้น (๖)ข้อก าหนดเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่ของ สมาชิก (๗)ข้อก าหนดเกี่ยวกับการจัดการ การใช้จ่าย การเก็บรักษาเงินและทรัพย์สินอื่น ตลอดจน การท าบัญชีและการตรวจบัญชี (๘)ข้อก าหนดเกี่ยวกับวิธีการพิจารณาในการ ปิดงานและวิธีการอนุมัติข้อตกลงเกี่ยวกับ สภาพการจ้าง (๙)ข้อก าหนดเกี่ยวกับการประชุมใหญ่ (๑๐)ข้อก าหนดเกี่ยวกับจ านวนกรรมการ การ เลือกตั้งกรรมการ วาระของการเป็นกรรมการ การพ้นจากต าแหน่งของกรรมการและการ ประชุมของคณะกรรมการ

มาตรา ๕๙

เมื่อนายทะเบียนได้รับค าขอพร้อมทั้งร่าง ข้อบังคับแล้วเห็นว่าผู้ยื่นค าขอมีคุณสมบัติ ถูกต้องตามมาตรา ๕๖ ข้อบังคับถูกต้องตาม มาตรา ๕๘ และวัตถุที่ประสงค์ถูกต้องตาม มาตรา ๕๔ วรรคสองและไม่ขัดต่อความสงบ เรียบร้อยของประชาชน ให้นายทะเบียนรับจด ทะเบียนและออกใบส าคัญแสดงการจดทะเบียน แก่สมาคมนายจ้างนั้น ถ้านายทะเบียนเห็นว่า ค าขอหรือร่างข้อบังคับไม่ ถูกต้องตามวรรคหนึ่ง ให้มีค าสั่งให้แก้ไขเพิ่มเติม ให้ถูกต้อง เมื่อแก้ไขเพิ่มเติมถูกต้องแล้ว ให้รับ จดทะเบียนและออกใบส าคัญแสดงการจด ทะเบียนแก่สมาคมนายจ้างนั้น ถ้านายทะเบียนเห็นว่า ไม่อาจรับจดทะเบียนได้ เนื่องจากวัตถุที่ประสงค์ขัดต่อความสงบ เรียบร้อยของประชาชน ให้นายทะเบียนมีค าสั่ง ไม่รับจดทะเบียน และแจ้งค าสั่งไม่รับจด ทะเบียน พร้อมด้วยเหตุผลที่ไม่รับจดทะเบียนไป ยังผู้ขอจดทะเบียนโดยมิชักช้า ผู้ขอจดทะเบียนมีสิทธิอุทธรณ์ค าสั่งไม่รับจด ทะเบียนนั้นต่อรัฐมนตรีได้โดยท าเป็นหนังสือยื่น ต่อนายทะเบียนภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ ได้รับแจ้งค าสั่ง ให้รัฐมนตรีวินิจฉัยอุทธรณ์และแจ้งให้ผู้อุทธรณ ทราบภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือ อุทธรณ์ ในกรณีที่ผู้อุทธรณ์ไม่พอใจค าวินิจฉัยของ รัฐมนตรีผู้อุทธรณ์มีสิทธิด าเนินการต่อไป เพื่อให้ศาลแรงงานพิจารณาวินิจฉัยได้

มาตรา ๖๐

ให้นายทะเบียนประกาศการจดทะเบียนสมาคม นายจ้างในราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๖๑

ให้ผู้เริ่มก่อการจัดตั้งสมาคมนายจ้างจัดให้มีการ ประชุมใหญ่สามัญครั้งแรก ภายในหนึ่งร้อยยี่สิบ วันนับแต่วันที่จดทะเบียน เพื่อเลือกตั้ง คณะกรรมการและมอบหมายการทั้งปวงให้แก่ คณะกรรมการและอนุมัติร่างข้อบังคับที่ได้ยื่น แก่นายทะเบียนตามมาตรา ๕๙ เมื่อที่ประชุมใหญ่ได้เลือกตั้งคณะกรรมการและ อนุมัติร่างข้อบังคับแล้วให้น าส าเนาข้อบังคับ และรายชื่อ ที่อยู่อาชีพหรือวิชาชีพของกรรมการ ไปจดทะเบียนภายในสิบสี่วันนับแต่วันที่ที่ ประชุมใหญ่ลงมติ

มาตรา ๖๒

การแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับของสมาคมนายจ้าง จะกระท าได้โดยมติของที่ประชุมใหญ่และต้อง น าไปจดทะเบียนภายในสิบสี่วันนับแต่วันที่ที่ ประชุมใหญ่ลงมติ การแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับตามวรรคหนึ่ง จะมี ผลใช้บังคับต่อเมื่อนายทะเบียนได้รับจดทะเบียน แล้ว ให้น ามาตรา ๕๙ มาใช้บังคับแก่การขอแก้ไข เพิ่มเติมข้อบังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๖๓

ผู้ซึ่งจะเป็นสมาชิกของสมาคมนายจ้างได้จะต้อง เป็นนายจ้างที่ประกอบกิจการประเภทเดียวกัน ในกรณีที่นายจ้างเป็นนิติบุคคล ให้ถือว่านิติ บุคคลนั้นเป็นสมาชิกของสมาคมนายจ้าง

มาตรา ๖๔

สมาชิกของสมาคมนายจ้างมีสิทธิขอตรวจสอบ ทะเบียนสมาชิก เอกสารหรือบัญชีเพื่อทราบการ ด าเนินกิจการของสมาคมนายจ้างได้ในเวลาเปิด ท าการตามที่คณะกรรมการก าหนดไว้ ในการขอตรวจสอบตามวรรคหนึ่ง เจ้าหน้าที่ของ สมาคมนายจ้างต้องให้ความสะดวกตามสมควร

มาตรา ๖๕

สมาชิกภาพของสมาชิกสมาคมนายจ้างสิ้นสุด เมื่อ ตาย ลาออก ที่ประชุมใหญ่ให้ออกหรือ ตามที่ก าหนดในข้อบังคับของสมาคมนายจ้าง

มาตรา ๖๖

เพื่อประโยชน์ของสมาชิกของสมาคมนายจ้าง ให้สมาคมนายจ้างมีอ านาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) เรียกร้อง เจรจาท าความตกลงและรับทราบ ค าชี้ขาดหรือท าข้อตกลงกับสหภาพแรงงาน หรือลูกจ้างในกิจการของสมาชิกได้ (๒)จัดการและด าเนินการเพื่อให้สมาชิกได้รับ ประโยชน์ ทั้งนี้ภายใต้บังคับของวัตถุที่ ประสงค์ของสมาคมนายจ้าง (๓)จัดให้มีบริการสนเทศเพื่อให้สมาชิกมา ติดต่อเกี่ยวกับการด าเนินธุรกิจ (๔)จัดให้มีบริการการให้ค าปรึกษาเพื่อแก้ไข ปัญหาหรือขจัดข้อขัดแย้งเกี่ยวกับการ บริหารงานและการท างาน (๕)จัดให้มีการให้บริการเกี่ยวกับการจัดสรร เงินหรือทรัพย์สินเพื่อสวัสดิการของสมาชิกหรือ เพื่อสาธารณประโยชน์ ทั้งนี้ตามที่ที่ประชุม ใหญ่เห็นสมควร (๖) เรียกเก็บเงินค่าสมัครเป็นสมาชิก และเงิน ค่าบ ารุงตามอัตราที่ก าหนดในข้อบังคับของ สมาคมนายจ้าง

มาตรา ๖๗

เมื่อสมาคมนายจ้างปฏิบัติการดังต่อไปนี้เพื่อ ประโยชน์ของสมาชิกอันมิใช่เป็นกิจการเกี่ยวกับ การเมือง ให้นายจ้าง สมาคมนายจ้าง กรรมการ อนุกรรมการและเจ้าหน้าที่ของสมาคมนายจ้าง ได้รับการยกเว้นไม่ต้องถูกกล่าวหา หรือฟ้องร้อง ทางอาญา หรือทางแพ่ง (๑) เข้าร่วมเจรจาท าความตกลงกับลูกจ้าง สหภาพแรงงาน นายจ้าง สมาคมนายจ้างอื่น สหพันธ์แรงงาน หรือสหพันธ์นายจ้าง เพื่อ เรียกร้องสิทธิหรือประโยชน์ที่สมาชิกสมควร ได้รับ (๒) สั่งให้ปิดงาน หรือช่วยเหลือชักชวนหรือ สนับสนุนให้สมาชิกปิดงาน (๓)ชี้แจงหรือโฆษณาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับข้อ พิพาทแรงงาน หรือ (๔)จัดให้มีการชุมนุมสมาชิกของสมาคม นายจ้าง ทั้งนี้เว้นแต่เป็นความผิดทางอาญาในลักษณะ ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดภยันตรายต่อ ประชาชน เกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย เกี่ยวกับ เสรีภาพและชื่อเสียง เกี่ยวกับทรัพย์และความผิด ในทางแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับการกระท าความผิด ทางอาญาในลักษณะดังกล่าว

มาตรา ๖๘

ให้สมาคมนายจ้างมีคณะกรรมการเป็น ผู้ด าเนินการและเป็นผู้แทนของสมาคมนายจ้าง ในกิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก เพื่อการนี้ คณะกรรมการจะมอบหมายให้กรรมการคนหนึ่ง หรือหลายคนท าการแทนก็ได้ คณะกรรมการอาจแต่งตั้งอนุกรรมการเพื่อ ปฏิบัติงานตามที่มอบหมายได้

มาตรา ๖๙

หรืออนุกรรมการตามมาตรา ๖๘ ต้องมี คุณสมบัติดังต่อไปนี้ (๑) เป็นสมาชิกของสมาคมนายจ้างหรือผู้แทน ของนิติบุคคลซึ่งเป็นสมาชิกของสมาคม นายจ้าง (๒) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด

มาตรา ๗๐

สมาคมนายจ้างจะกระท าการดังต่อไปนี้ได้ก็แต่ โดยมติของที่ประชุมใหญ่ (๑)แก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ (๒) ด าเนินกิจการอันอาจกระทบกระเทือนถึง ส่วนได้เสียของสมาชิกเป็นส่วนรวม (๓) เลือกตั้งกรรมการ เลือกตั้งผู้สอบบัญชี รับรองงบดุล รายงานประจ าปีและงบประมาณ (๔)จัดสรรเงินหรือทรัพย์สินเพื่อสวัสดิการของ สมาชิกหรือเพื่อสาธารณประโยชน์ (๕) เลิกสมาคมนายจ้าง (๖) ควบสมาคมนายจ้างเข้ากัน (๗) ก่อตั้งสหพันธ์นายจ้างหรือเป็นสมาชิกของ สหพันธ์นายจ้าง

มาตรา ๗๑

สมาคมนายจ้างต้องจัดให้มีทะเบียนสมาชิกตาม แบบที่อธิบดีก าหนด และเก็บรักษาไว้ที่ ส านักงานพร้อมที่จะให้ตรวจสอบได้ในเวลาท า การ ให้สมาคมนายจ้างประกาศวันและเวลาเปิดท า การไว้ที่ส านักงาน

มาตรา ๗๒

ให้นายทะเบียนหรือผู้ซึ่งนายทะเบียนมอบหมาย มีอ านาจ (๑) เข้าไปในส านักงานของสมาคมนายจ้างใน เวลาท าการเพื่อตรวจสอบกิจการของสมาคม นายจ้าง (๒) สั่งให้กรรมการ พนักงานหรือลูกจ้างของ สมาคมนายจ้าง ส่งหรือแสดงเอกสารหรือบัญชี ของสมาคมนายจ้างเพื่อประกอบการพิจารณา กรณีที่มีปัญหาเกิดขึ้น (๓) สอบถามบุคคลใน (๒) หรือเรียกบุคคล ดังกล่าวมาเพื่อสอบถามหรือให้ชี้แจงข้อเท็จจริง เกี่ยวกับการด าเนินกิจการของสมาคมนายจ้าง

มาตรา ๗๓

นายทะเบียนมีอ านาจสั่งให้กรรมการผู้ใดผู้หนึ่ง หรือคณะกรรมการของสมาคมนายจ้างออกจาก ต าแหน่งได้เมื่อปรากฏว่า (๑) กระท าการอันมิชอบด้วยกฎหมายซึ่งเป็น การขัดขวางการปฏิบัติงานตามหน้าที่ของ พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงาน ผู้ชี้ขาดข้อ พิพาทแรงงานหรือคณะกรรมการแรงงาน สัมพันธ์ (๒) ด าเนินกิจการไม่ถูกต้องตามวัตถุที่ประสงค์ ของสมาคมนายจ้างอันเป็นการขัดต่อกฎหมาย หรือความสงบเรียบร้อยของประชาชน หรืออาจ เป็นภัยต่อเศรษฐกิจหรือความมั่นคงของ ประเทศ หรือ (๓) ให้หรือยินยอมให้ผู้ใดผู้หนึ่งซึ่งมิใช่ กรรมการเป็นผู้ด าเนินกิจการของสมาคม นายจ้าง ค าสั่งตามวรรคหนึ่ง ให้ท าเป็นหนังสือและแจ้งให้ ผู้ซึ่งเกี่ยวข้องและสมาคมนายจ้างทราบโดยมิ ชักช้า

มาตรา ๗๔

ผู้ซึ่งได้รับค าสั่งตามมาตรา ๗๓ มีสิทธิอุทธรณ์ ค าสั่งนั้นต่อรัฐมนตรีโดยท าเป็นหนังสือยื่นต่อ นายทะเบียนภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับ ค าสั่ง ให้รัฐมนตรีวินิจฉัยอุทธรณ์และแจ้งให้ผู้อุทธรณ์ ทราบภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือ อุทธรณ์ ในกรณีที่ผู้อุทธรณ์ไม่พอใจค าวินิจฉัยของ รัฐมนตรีผู้อุทธรณ์มีสิทธิด าเนินการต่อไป เพื่อให้ศาลแรงงานพิจารณาวินิจฉัยได้

มาตรา ๗๕

สมาคมนายจ้างต้องจัดให้มีการตรวจสอบบัญชี ทุกปีและต้องเสนองบดุลพร้อมด้วยรายงานการ สอบบัญชีของผู้สอบบัญชีต่อที่ประชุมใหญ่ เมื่อที่ประชุมใหญ่รับรองงบดุลและรายงานการ สอบบัญชีแล้ว ให้ส่งส าเนาหนึ่งชุดให้แก่นาย ทะเบียนภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ที่ประชุม ใหญ่รับรอง

มาตรา ๗๖

สมาคมนายจ้างตั้งแต่สองสมาคมขึ้นไปที่มี สมาชิกซึ่งประกอบกิจการประเภทเดียวกัน อาจ ควบเข้ากันเป็นสมาคมนายจ้างเดียวกันได้ การควบสมาคมนายจ้างเข้ากันตามวรรคหนึ่ง ต้องได้รับมติจากที่ประชุมใหญ่ของแต่ละสมาคม ด้วยคะแนนเสียงเกินกึ่งหนึ่งของจ านวนสมาชิก ทั้งหมดและต้องได้รับความเห็นชอบจากนาย ทะเบียน ในการขอความเห็นชอบจากนายทะเบียน ให้ส่ง ส าเนารายงานการประชุมใหญ่ของสมาคม นายจ้างซึ่งลงมติให้ควบเข้ากันไปด้วย

มาตรา ๗๗

เมื่อนายทะเบียนให้ความเห็นชอบตามมาตรา ๗๖ แล้ว ให้สมาคมนายจ้างแจ้งเป็นหนังสือไป ยังเจ้าหนี้ทั้งปวงของสมาคมนายจ้าง เพื่อให้ ทราบถึงการที่ประสงค์จะควบสมาคมนายจ้าง เข้ากัน และขอให้เจ้าหนี้ผู้มีข้อคัดค้านอย่างใด อย่างหนึ่งในการควบสมาคมนายจ้างเข้ากันนั้น ส่งค าคัดค้านไปยังสมาคมนายจ้างภายใน สามสิบวันนับแต่วันที่แจ้ง ถ้าไม่มีเจ้าหนี้คัดค้านภายในก าหนดเวลา ดังกล่าวนั้น ก็ให้ถือว่าไม่มีค าคัดค้านและ สมาคมนายจ้างอาจควบเข้ากันได้ ถ้ามีเจ้าหนี้คัดค้าน สมาคมนายจ้างจะควบเข้า กันมิได้จนกว่าจะได้ช าระหนี้หรือได้ให้ประกัน เพื่อหนี้นั้นแล้ว

มาตรา ๗๘

ให้คณะกรรมการของแต่ละสมาคมนายจ้างที่ ควบเข้ากันตั้งผู้แทนของตนขึ้นสมาคมละไม่เกิน สามคน เพื่อด าเนินการจดทะเบียนตามมาตรา ๗๙

มาตรา ๗๙

สมาคมที่ตั้งขึ้นใหม่โดยควบเข้ากันนั้น ต้องจด ทะเบียนเป็นสมาคมนายจ้างใหม่ตามประเภท การประกอบกิจการของสมาคมนายจ้างที่มีอยู่ เดิม โดยยื่นค าขอจดทะเบียนเป็นหนังสือต่อนาย ทะเบียน ในค าขอจดทะเบียนสมาคมนายจ้างใหม่ ต้องมี ผู้แทนของสมาคมนายจ้างทุกสมาคมที่ควบเข้า กันลงลายมือชื่ออย่างน้อยสมาคมละสองคน ค าขอจดทะเบียนสมาคมนายจ้างใหม่ต้องมี เอกสารดังต่อไปนี้ยื่นพร้อมกันด้วย (๑) หนังสือของสมาคมนายจ้างที่ควบเข้ากัน นั้นรับรองว่าได้แจ้งไปยังเจ้าหนี้ทั้งปวงตาม มาตรา ๗๗ วรรคหนึ่งแล้ว ไม่มีเจ้าหนี้คัดค้าน ภายในระยะเวลาที่ก าหนด หรือกรณีที่มีเจ้าหนี้ คัดค้านสมาคมนายจ้างก็ได้ช าระหนี้หรือได้ให้ ประกันเพื่อหนี้รายนั้นแล้ว (๒) ร่างข้อบังคับของสมาคมนายจ้างใหม่ที่ขอ จดทะเบียนสองฉบับ (๓) ส าเนารายงานการประชุมของสมาคม นายจ้างที่ควบเข้ากันหนึ่งฉบับ เอกสารตาม (๒) และ (๓) นั้น ผู้ได้รับเลือกตั้ง เป็นกรรมการชุดแรกของสมาคมนายจ้างใหม่ ต้องลงลายมือชื่อรับรองสองคน ให้น ามาตรา ๕๔ ถึงมาตรา ๗๕ มาใช้บังคับโดย อนุโลม

มาตรา ๘๐

เมื่อจดทะเบียนสมาคมนายจ้างที่ควบเข้ากันเป็น สมาคมนายจ้างใหม่แล้ว ให้นายทะเบียนขีดชื่อ สมาคมนายจ้างเดิมที่ได้ควบเข้ากันนั้นออกจาก ทะเบียน

มาตรา ๘๑

สมาคมนายจ้างใหม่นี้ย่อมได้ไปทั้งทรัพย์สิน หนี้สิน สิทธิหน้าที่และความรับผิดของสมาคม นายจ้างเดิมที่ได้ควบเข้ากันนั้นทั้งสิ้น สมาชิกของสมาคมนายจ้างเดิมที่ได้ควบเข้ากัน นั้น ย่อมเป็นสมาชิกของสมาคมนายจ้างใหม่น

มาตรา ๘๒

สมาคมนายจ้างย่อมเลิกด้วยเหตุใดเหตุหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (๑) ถ้ามีข้อบังคับของสมาคมนายจ้าง ก าหนดให้เลิกในกรณีใด เมื่อมีกรณีนั้น (๒) เมื่อที่ประชุมใหญ่มีมติให้เลิก (๓) เมื่อนายทะเบียนมีค าสั่งให้เลิก (๔) เมื่อล้มละลาย

มาตรา ๘๓

นายทะเบียนมีอ านาจสั่งให้เลิกสมาคมนายจ้าง ได้ในกรณีดังต่อไปนี้ (๑) เมื่อปรากฏว่าการด าเนินการของสมาคม นายจ้างขัดต่อวัตถุที่ประสงค์ขัดต่อกฎหมาย หรือเป็นภัยต่อเศรษฐกิจหรือความมั่นคงของ ประเทศ หรือขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือ ศีลธรรมอันดีของประชาชน (๒) เมื่อนายทะเบียนมีค าสั่งให้เลือกตั้ง กรรมการขึ้นใหม่ทั้งคณะและไม่ด าเนินการ เลือกตั้งภายในระยะเวลาที่นายทะเบียน ก าหนดหรือภายในระยะเวลาที่นายทะเบียน ขยายระยะเวลาให้จนสิ้นสุดระยะเวลาดังกล่าว หรือ (๓) เมื่อสมาคมนายจ้างไม่ด าเนินกิจการ ติดต่อกันเป็นเวลาเกินสองปี เมื่อนายทะเบียนมีค าสั่งให้เลิกสมาคมนายจ้าง ใด ให้แจ้งค าสั่งเป็นหนังสือให้สมาคมนายจ้าง นั้นทราบโดยมิชักช้า ค าสั่งให้เลิกสมาคมนายจ้างตามมาตรานี้ กรรมการเกินกึ่งหนึ่งของจ านวนกรรมการ ทั้งหมดซึ่งด ารงต าแหน่งอยู่ในวันที่ถูกสั่งให้เลิกมี สิทธิเข้าชื่อกันอุทธรณ์ค าสั่งนั้นต่อรัฐมนตรีโดย ท าเป็นหนังสือยื่นต่อนายทะเบียนภายในสามสิบ วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งค าสั่ง ให้รัฐมนตรีวินิจฉัยอุทธรณ์และแจ้งให้ผู้อุทธรณ์ ทราบภายในสามสิบวันนับแต่วันที่รับอุทธรณ์ ในกรณีที่ผู้อุทธรณ์ไม่พอใจค าวินิจฉัยของ รัฐมนตรีผู้อุทธรณ์มีสิทธิด าเนินการต่อไปเพื่อให้ ศาลแรงงานพิจารณาวินิจฉัยได้ ค าสั่งเลิกสมาคมนายจ้างให้ประกาศในราช กิจจานุเบกษา เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาการยื่น อุทธรณ์หรือเมื่อศาลแรงงานวินิจฉัย แล้วแต่กรณ

มาตรา ๘๔

เมื่อสมาคมนายจ้างต้องเลิกตามมาตรา ๘๒ (๑) (๒) หรือ(๓) หรือมาตรา ๘๓ ให้แต่งตั้งผู้ช าระ บัญชีและท าการช าระบัญชีและให้น า บทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ว่าด้วยการช าระบัญชีห้างหุ้นส่วนจด ทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจ ากัด และบริษัทจ ากัดมา ใช้บังคับแก่การช าระบัญชีสมาคมนายจ้างโดย อนุโลม

มาตรา ๘๕

เมื่อช าระบัญชีแล้ว ถ้ามีทรัพย์สินเหลืออยู่จะแบ่ง ให้แก่สมาชิกของสมาคมนายจ้างไม่ได้ทรัพย์สิน นั้นจะต้องโอนไปให้แก่นิติบุคคลอื่นตามที่ได้ระบุ ไว้ในข้อบังคับว่าด้วยวิธีการจัดการของสมาคม นายจ้าง หรือตามมติของที่ประชุมใหญ่ ถ้าใน ข้อบังคับหรือที่ประชุมใหญ่มิได้ระบุนิติบุคคลใด ให้เป็นผู้รับทรัพย์สินที่เหลือนั้น ให้ผู้ช าระบัญชี มอบแก่กรมแรงงานเพื่อสวัสดิการของลูกจ้าง

หมวด ๗ สหภาพแรงงาน

มาตรา ๘๖

สหภาพแรงงานจะมีขึ้นได้ก็แต่โดยอาศัยอ านาจ ตามบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ สหภาพแรงงานต้องมีวัตถุที่ประสงค์เพื่อการ แสวงหาและคุ้มครองผลประโยชน์เกี่ยวกับสภาพ การจ้างและส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่าง นายจ้างกับลูกจ้าง และระหว่างลูกจ้างด้วยกัน

มาตรา ๘๗

สหภาพแรงงานต้องมีข้อบังคับและต้องจด ทะเบียนต่อนายทะเบียน เมื่อได้จดทะเบียนแล้ว ให้สหภาพแรงงานเป็นนิติบุคคล

มาตรา ๘๘

ู้มีสิทธิจัดตั้งสหภาพแรงงานต้องเป็นลูกจ้างของ นายจ้างคนเดียวกัน หรือเป็นลูกจ้างซึ่งท างานใน กิจการประเภทเดียวกันโดยไม่ค านึงว่าจะมี นายจ้างกี่คน บรรลุนิติภาวะ และมีสัญชาติไทย

มาตรา ๘๙

การขอจดทะเบียนสหภาพแรงงานนั้น ให้ลูกจ้าง ผู้มีสิทธิจัดตั้งสหภาพแรงงานจ านวนไม่น้อยกว่า สิบคนเป็นผู้เริ่มก่อการ ยื่นค าขอเป็นหนังสือต่อ นายทะเบียน พร้อมด้วยร่างข้อบังคับของ สหภาพแรงงานอย่างน้อยสามฉบับ ค าขอนั้น ต้องระบุชื่อ อายุ อาชีพหรือวิชาชีพและ ที่อยู่ของผู้เริ่มก่อการทุกคน

มาตรา ๙๐

ข้อบังคับของสหภาพแรงงานอย่างน้อยต้องมี ข้อความ ดังต่อไปนี้ (๑) ชื่อ ซึ่งต้องมีค าว่า “สหภาพแรงงาน” ก ากับ ไว้กับชื่อนั้นด้วย (๒) วัตถุที่ประสงค์ (๓) ที่ตั้งส านักงาน (๔) วิธีรับสมาชิกและการขาดจากสมาชิกภาพ (๕) อัตราเงินค่าสมัครและค่าบ ารุงและวิธีการ ช าระเงินนั้น (๖) ข้อก าหนดเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่ของ สมาชิก (๗) ข้อก าหนดเกี่ยวกับการจัดการ การใช้จ่าย การเก็บรักษาเงินและทรัพย์สินอื่น ตลอดจนการ ท าบัญชีและการตรวจบัญชี (๘) ข้อก าหนดเกี่ยวกับวิธีการพิจารณาในการ นัดหยุดงานและวิธีการอนุมัติข้อตกลงเกี่ยวกับ สภาพการจ้าง (๙) ข้อก าหนดเกี่ยวกับการประชุมใหญ่ (๑๐) ข้อก าหนดเกี่ยวกับจ านวนกรรมการ การ เลือกตั้งกรรมการ วาระของการเป็นกรรมการ การพ้นจากต าแหน่งของกรรมการ และการ ประชุมของคณะกรรมการ

มาตรา ๙๑

เมื่อนายทะเบียนได้รับค าขอพร้อมทั้งร่าง ข้อบังคับแล้วเห็นว่าผู้ยื่นค าขอมีคุณสมบัต ถูกต้องตามมาตรา ๘๘ ข้อบังคับถูกต้องตาม มาตรา ๙๐ และวัตถุที่ประสงค์ถูกต้องตาม มาตรา ๘๖ วรรคสอง และไม่ขัดต่อความสงบ เรียบร้อยของประชาชน ให้นายทะเบียนรับจด ทะเบียนและออกใบส าคัญแสดงการจดทะเบียน แก่สหภาพแรงงานนั้น ถ้านายทะเบียนเห็นว่า ค าขอหรือร่างข้อบังคับไม่ ถูกต้องตามวรรคหนึ่ง ให้มีค าสั่งให้แก้ไขเพิ่มเติม ให้ถูกต้อง เมื่อแก้ไขเพิ่มเติมถูกต้องแล้ว ให้รับ จดทะเบียนและออกใบส าคัญแสดงการจด ทะเบียนแก่สหภาพแรงงานนั้น ถ้านายทะเบียนเห็นว่า ไม่อาจรับจดทะเบียนได้ เนื่องจากวัตถุที่ประสงค์ขัดต่อความสงบ เรียบร้อยของประชาชน ให้นายทะเบียนมีค าสั่ง ไม่รับจดทะเบียน และแจ้งค าสั่งไม่รับจด ทะเบียนพร้อมด้วยเหตุผลที่ไม่รับจดทะเบียนไป ยังผู้ขอจดทะเบียนโดยมิชักช้า ผู้ขอจดทะเบียนมีสิทธิอุทธรณ์ค าสั่งไม่รับจด ทะเบียนนั้นต่อรัฐมนตรีได้ โดยท าเป็นหนังสือยื่น ต่อนายทะเบียนภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ ได้รับแจ้งค าสั่ง ให้รัฐมนตรีวินิจฉัยอุทธรณ์และแจ้งให้ผู้อุทธรณ์ ทราบภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือ อุทธรณ์ ในกรณีที่ผู้อุทธรณ์ไม่พอใจค าวินิจฉัยของ รัฐมนตรี ผู้อุทธรณ์มีสิทธิด าเนินการต่อไป เพื่อให้ศาลแรงงานพิจารณาวินิจฉัยได

มาตรา ๙๒

ให้นายทะเบียนประกาศการจดทะเบียนสหภาพ แรงงานในราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๙๓

ให้ผู้เริ่มก่อการจัดตั้งสหภาพแรงงานจัดให้มีการ ประชุมใหญ่สามัญครั้งแรกภายในหนึ่งร้อยยี่สิบ วันนับแต่วันที่จดทะเบียน เพื่อเลือกตั้ง คณะกรรมการและมอบหมายการทั้งปวงให้แก่ คณะกรรมการและอนุมัติร่างข้อบังคับที่ได้ยื่นแก่ นายทะเบียนตามมาตรา ๙๑ เมื่อที่ประชุมใหญ่ได้เลือกตั้งคณะกรรมการและ อนุมัติร่างข้อบังคับแล้วให้น าส าเนาข้อบังคับ และรายชื่อ ที่อยู่ อาชีพ หรือวิชาชีพของ กรรมการไปจดทะเบียนภายในสิบสี่วันนับแต่ วันที่ที่ประชุมใหญ่ลงมติ

มาตรา ๙๔

การแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับของสหภาพแรงงาน จะกระท าได้โดยมติของที่ประชุมใหญ่และต้อง น าไปจดทะเบียนภายในสิบสี่วันนับแต่วันที่ที่ ประชุมใหญ่ลงมติ การแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับตามวรรคหนึ่ง จะมี ผลใช้บังคับต่อเมื่อนายทะเบียนได้รับจดทะเบียน แล้ว ให้น ามาตรา ๙๑ มาใช้บังคับแก่การขอแก้ไข เพิ่มเติมข้อบังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๙๕

ผู้ซึ่งจะเป็นสมาชิกของสหภาพแรงงานได้จะต้อง เป็นลูกจ้างของนายจ้างคนเดียวกันกับผู้ขอจด ทะเบียนสหภาพแรงงานหรือเป็นลูกจ้างซึ่ง ท างานในกิจการประเภทเดียวกันกับผู้ขอจด ทะเบียนสหภาพแรงงาน และมีอายุตั้งแต่สิบห้า ปีขึ้นไป ห้ามมิให้พนักงานและฝ่ายบริหารตามกฎหมาย ว่าด้วยพนักงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์เป็นสมาชิก ของสหภาพแรงงานตามวรรคหนึ่ง ลูกจ้างซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาที่มีอ านาจในการ จ้าง การลดค่าจ้าง การเลิกจ้าง การให้บ าเหน็จ หรือการลงโทษ จะเป็นสมาชิกในสหภาพแรงงาน ที่ลูกจ้างอื่นได้จัดตั้งหรือเป็นสมาชิกอยู่ไม่ได้และ ลูกจ้างอื่นจะเป็นสมาชิกในสหภาพแรงงานที่ ลูกจ้างซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาดังกล่าวได้จัดตั้งขึ้น หรือเป็นสมาชิกอยู่ไม่ได้

มาตรา ๙๖

สมาชิกของสหภาพแรงงานมีสิทธิขอตรวจสอบ ทะเบียนสมาชิก เอกสาร หรือบัญชี เพื่อทราบ การด าเนินกิจการของสหภาพแรงงานได้ในเวลา เปิดท าการตามที่คณะกรรมการก าหนดไว้ ในการขอตรวจสอบตามวรรคหนึ่ง เจ้าหน้าที่ของ สหภาพแรงงานต้องให้ความสะดวกตามสมควร

มาตรา ๙๗

สมาชิกภาพของสมาชิกสหภาพแรงงานสิ้นสุดลง เมื่อ ตาย ลาออก ที่ประชุมใหญ่ให้ออก หรือ ตามที่ก าหนดในข้อบังคับของสหภาพแรงงาน

มาตรา ๙๘

เพื่อประโยชน์ของสมาชิกของสหภาพแรงงานให้ สหภาพแรงงานมีอ านาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) เรียกร้อง เจรจาท าความตกลงและ รับทราบค าชี้ขาด หรือท าข้อตกลงกับนายจ้าง หรือสมาคมนายจ้างในกิจการของสมาชิกได้ (๒) จัดการและด าเนินการเพื่อให้สมาชิกได้รับ ประโยชน์ ทั้งนี้ ภายใต้บังคับของวัตถุที่ ประสงค์ของสหภาพแรงงาน (๓) จัดให้มีบริการสนเทศเพื่อให้สมาชิกมา ติดต่อเกี่ยวกับการจัดหางาน (๔) จัดให้มีบริการการให้ค าปรึกษาเพื่อแก้ไข ปัญหาหรือขจัดข้อขัดแย้งเกี่ยวกับการ บริหารงานและการท างาน (๕) จัดให้มีการให้บริการเกี่ยวกับการจัดสรร เงินหรือทรัพย์สิน เพื่อสวัสดิการของสมาชิก หรือเพื่อสาธารณประโยชน์ ทั้งนี้ ตามที่ที่ ประชุมใหญ่เห็นสมควร (๖) เรียกเก็บเงินค่าสมัครเป็นสมาชิก และเงิน ค่าบ ารุงตามอัตราที่ก าหนดในข้อบังคับของ สหภาพแรงงาน

มาตรา ๙๙

เมื่อสหภาพแรงงานปฏิบัติการดังต่อไปนี้ เพื่อ ประโยชน์ของสมาชิกอันมิใช่เป็นกิจการเกี่ยวกับ การเมือง ให้ลูกจ้าง สหภาพแรงงาน กรรมการ อนุกรรมการ และเจ้าหน้าที่ของสหภาพแรงงาน ได้รับการยกเว้นไม่ต้องถูกกล่าวหาหรือฟ้องร้อง ทางอาญาหรือทางแพ่ง (๑) เข้าร่วมเจรจาท าความตกลงกับนายจ้าง สมาคมนายจ้าง ลูกจ้าง สหภาพแรงงานอื่น สหพันธ์นายจ้าง หรือสหพันธ์แรงงาน เพื่อ เรียกร้องสิทธิหรือประโยชน์ที่สมาชิกสมควร ได้รับ (๒) นัดหยุดงานหรือช่วยเหลือ ชักชวน หรือ สนับสนุนให้สมาชิกนัดหยุดงาน (๓) ชี้แจงหรือโฆษณาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับข้อ พิพาทแรงงาน (๔) จัดให้มีการชุมนุมหรือเข้าร่วมโดยสงบใน การนัดหยุดงาน ทั้งนี้ เว้นแต่เป็นความผิดทางอาญาในลักษณะ ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดภยันตรายต่อ ประชาชน เกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย เกี่ยวกับ เสรีภาพและชื่อเสียง เกี่ยวกับทรัพย์ และ ความผิดในทางแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับการกระท า ความผิดทางอาญาในลักษณะดังกล่าว

มาตรา ๑๐๐

ให้สหภาพแรงงานมีคณะกรรมการเป็นผู้ด าเนิน กิจการ และเป็นผู้แทนของสหภาพแรงงานใน กิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก เพื่อการนี้ คณะกรรมการจะมอบหมายให้กรรมการคนหนึ่ง หรือหลายคนท าการแทนก็ได้ คณะกรรมการอาจแต่งตั้งอนุกรรมการเพื่อ ปฏิบัติงานตามที่มอบหมายได้

มาตรา ๑๐๑

ผู้ซึ่งจะได้รับเลือกตั้งหรือแต่งตั้งเป็นกรรมการ หรืออนุกรรมการตามมาตรา ๑๐๐ ต้องมี คุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ (๑) เป็นสมาชิกของสหภาพแรงงานนั้น (๒) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด (๓) มีอายุไม่ต ่ากว่ายี่สิบปี

มาตรา ๑๐๒

ลูกจ้างซึ่งเป็นกรรมการสหภาพแรงงานมีสิทธิลา เพื่อไปด าเนินกิจการสหภาพแรงงานในฐานะ ผู้แทนลูกจ้างในการเจรจา การไกล่เกลี่ย และ การชี้ขาดข้อพิพาทแรงงาน และมีสิทธิลาเพื่อไป ร่วมประชุมตามที่ทางราชการก าหนดได้ ทั้งนี้ ให้ลูกจ้างดังกล่าว แจ้งให้นายจ้างทราบล่วงหน้า ถึงเหตุที่ลาโดยชัดแจ้งพร้อมทั้งแสดงหลักฐานที่ เกี่ยวข้อง ถ้ามี และให้ถือว่าวันลาของลูกจ้างนั้น เป็นวันท างาน

มาตรา ๑๐๓

สหภาพแรงงานจะกระท าการดังต่อไปนี้ ได้ก็แต่ โดยมติของที่ประชุมใหญ่ (๑) แก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ (๒) ด าเนินกิจการอันอาจกระทบกระเทือนถึง ส่วนได้เสียของสมาชิกเป็นส่วนรวม (๓) เลือกตั้งกรรมการ เลือกตั้งผู้สอบบัญชี รับรองงบดุล รายงานประจ าปี และ งบประมาณ (๔) จัดสรรเงินหรือทรัพย์สินเพื่อสวัสดิการของ สมาชิกหรือเพื่อสาธารณประโยชน์ (๕) เลิกสหภาพแรงงาน (๖) ควบสหภาพแรงงานเข้ากัน หรือ (๗) ก่อตั้งสหพันธ์แรงงานหรือเป็นสมาชิกของ สหพันธ์แรงงาน (๘) การนัดหยุดงานเมื่อมีข้อพิพาทแรงงานที ตกลงกันไม่ได้ตามมาตรา ๒๒ วรรคสาม ทั้งนี้ ต้องมีคะแนนเสียงเกินกึ่งหนึ่งของสมาชิก ทั้งหมดของสหภาพแรงงาน และต้อง ลงคะแนนเสียงเป็นการลับ

มาตรา ๑๐๔

สหภาพแรงงานต้องจัดให้มีทะเบียนสมาชิกตาม แบบที่อธิบดีก าหนด และเก็บรักษาไว้ที่ ส านักงานพร้อมที่จะให้ตรวจสอบได้ในเวลาท า การ ให้สหภาพแรงงานประกาศวันและเวลาเปิดท า การไว้ที่ส านักงาน

มาตรา ๑๐๕

ให้นายทะเบียนหรือผู้ซึ่งนายทะเบียนมอบหมาย มีอ านาจ (๑) เข้าไปในส านักงานของสหภาพแรงงานใน เวลาท าการเพื่อตรวจสอบกิจการของสหภาพ แรงงาน (๒) สั่งให้กรรมการ พนักงานหรือลูกจ้างของ สหภาพแรงงาน ส่งหรือแสดงเอกสาร หรือ บัญชีของสหภาพแรงงานเพื่อประกอบการ พิจารณากรณีที่มีปัญหาเกิดขึ้น (๓) สอบถามบุคคลใน (๒) หรือเรียกบุคคล ดังกล่าวมาเพื่อสอบถามหรือให้ชี้แจง ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการด าเนินกิจการของ สหภาพแรงงาน

มาตรา ๑๐๖

นายทะเบียนมีอ านาจสั่งให้กรรมการผู้ใดผู้หนึ่ง หรือคณะกรรมการของสหภาพแรงงานออกจาก ต าแหน่งได้ เมื่อปรากฏว่า (๑) กระท าการอันมิชอบด้วยกฎหมายซึ่งเป็น การขัดขวางการปฏิบัติงานตามหน้าที่ของ พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงาน ผู้ชี้ขาดข้อ พิพาทแรงงานหรือคณะกรรมการแรงงาน สัมพันธ์ (๒) ด าเนินกิจการไม่ถูกต้องตามวัตถุที่ ประสงค์ของสหภาพแรงงานอันเป็นการขัดต่อ กฎหมาย หรือความสงบเรียบร้อยของ ประชาชน หรืออาจเป็นภัยแก่เศรษฐกิจหรือ ความมั่นคงของประเทศ หรือ (๓) ให้หรือยินยอมให้ผู้ใดผู้หนึ่งซึ่งมิใช่ กรรมการเป็นผู้ด าเนินกิจการของสหภาพ แรงงาน ค าสั่งตามวรรคหนึ่ง ให้ท าเป็นหนังสือและแจ้งให ผู้ซึ่งเกี่ยวข้องและสหภาพแรงงานทราบโดยมิ ชักช้า

มาตรา ๑๐๗

้ซึ่งได้รับค าสั่งตามมาตรา ๑๐๖ มีสิทธิอุทธรณ์ ค าสั่งนั้นต่อรัฐมนตรี โดยท าเป็นหนังสือยื่นต่อ นายทะเบียนภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับ ค าสั่ง ให้รัฐมนตรีวินิจฉัยอุทธรณ์และแจ้งให้ผู้อุทธรณ์ ทราบภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือ อุทธรณ์ ในกรณีที่ผู้อุทธรณ์ไม่พอใจค าวินิจฉัยของ รัฐมนตรี ผู้อุทธรณ์มีสิทธิด าเนินการต่อไป เพื่อให้ศาลแรงงานพิจารณาวินิจฉัยได้

มาตรา ๑๐๘

สหภาพแรงงานต้องจัดให้มีการตรวจสอบบัญชี ทุกปี และต้องเสนองบดุลพร้อมด้วยรายงานการ สอบบัญชีของผู้สอบบัญชีต่อที่ประชุมใหญ่ เมื่อที่ประชุมใหญ่รับรองงบดุลและรายงานการ สอบบัญชีแล้ว ให้ส่งส าเนาหนึ่งชุดให้แก่นาย ทะเบียนภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ที่ประชุม ใหญ่รับรอง

มาตรา ๑๐๙

สหภาพแรงงานตั้งแต่สองสหภาพขึ้นไปที่มี สมาชิกเป็นลูกจ้างของนายจ้างคนเดียวกันไม่ว่า จะเป็นลูกจ้างซึ่งท างานในกิจการประเภท เดียวกันหรือไม่อาจควบเข้ากันเป็นสหภาพ แรงงานเดียวกันได้ สหภาพแรงงานตั้งแต่สองสหภาพขึ้นไปที่มี สมาชิกเป็นลูกจ้างซึ่งท างานในกิจการประเภท เดียวกันไม่ว่าจะเป็นลูกจ้างของนายจ้างคน เดียวกันหรือไม่อาจควบเข้ากันเป็นสหภาพ แรงงานเดียวกันได้ การควบสหภาพแรงงานเข้ากันตามวรรคหนึ่ง หรือวรรคสอง ต้องได้รับมติของที่ประชุมใหญ่ ของแต่ละสหภาพด้วยคะแนนเสียงเกินกึ่งหนึ่ง ของจ านวนสมาชิกทั้งหมดและต้องได้รับความ เห็นชอบจากนายทะเบียน ในการขอความเห็นชอบจากนายทะเบียนให้ส่ง ส าเนารายงานการประชุมใหญ่ของสหภาพ แรงงานซึ่งลงมติให้ควบเข้ากันไปด้วย

มาตรา ๑๑๐

ให้น ามาตรา ๗๗ มาตรา ๗๘ มาตรา ๗๙ มาตรา ๘๐ และมาตรา ๘๑ มาใช้บังคับแก่การ ควบสหภาพแรงงานเข้ากันโดยอนุโลม

มาตรา ๑๑๑

ให้น ามาตรา ๘๒ มาตรา ๘๓ มาตรา ๘๔ และ มาตรา ๘๕ มาใช้บังคับแก่การเลิกสหภาพ แรงงานโดยอนุโลม

หมวด ๘ สหพันธ์นายจ้างและสหพันธ์แรงงาน

มาตรา ๑๑๒

สมาคมนายจ้างตั้งแต่สองสมาคมขึ้นไปที่มี สมาชิกประกอบกิจการประเภทเดียวกัน อาจ รวมกันจดทะเบียนจัดตั้งเป็นสหพันธ์นายจ้าง เพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างสมาคม นายจ้างและคุ้มครองผลประโยชน์ของสมาคม นายจ้างและนายจ้างได้

มาตรา ๑๑๓

สหภาพแรงงานตั้งแต่สองสหภาพขึ้นไปและแต่ ละสหภาพแรงงาน (๑) มีสมาชิกเป็นลูกจ้างของนายจ้างคน เดียวกัน ไม่ว่าจะเป็นลูกจ้างซึ่งท างานใน กิจการประเภทเดียวกันหรือไม่ หรือ (๒) มีสมาชิกเป็นลูกจ้างซึ่งท างานในกิจการ ประเภทเดียวกัน ไม่ว่าจะเป็นลูกจ้างของ นายจ้างคนเดียวกันหรือไม่ อาจรวมกันจด ทะเบียนจัดตั้งเป็นสหพันธ์แรงงานเพื่อส่งเสริม ความสัมพันธ์อันดีระหว่างสหภาพแรงงาน และคุ้มครองผลประโยชน์ของสหภาพแรงงาน และลูกจ้าง

มาตรา ๑๑๔

การจัดตั้งหรือการเข้าเป็นสมาชิกของสหพันธ์ นายจ้างหรือสหพันธ์แรงงานตามมาตรา ๑๑๒ หรือมาตรา ๑๑๓ จะกระท าได้ต่อเมื่อได้รับความ เห็นชอบจากสมาชิกด้วยคะแนนเสียงเกินกึ่งหนึ่ง ของจ านวนสมาชิกทั้งหมดของแต่ละสมาคม นายจ้างหรือแต่ละสหภาพแรงงาน การออกเสียงลงคะแนนตามวรรคหนึ่งให้เป็นไป ตามที่ก าหนดในข้อบังคับว่าด้วยวิธีการจัดการ สมาคมนายจ้างหรือข้อบังคับว่าด้วยวิธีการ จัดการสหภาพแรงงาน

มาตรา ๑๑๕

ให้สหพันธ์นายจ้างและสหพันธ์แรงงานที่ได้จด ทะเบียนแล้วเป็นนิติบุคคล

มาตรา ๑๑๖

สมาคมนายจ้างซึ่งเป็นสมาชิกสหพันธ์นายจ้าง และสหภาพแรงงานซึ่งเป็นสมาชิกสหพันธ์ แรงงาน มีสิทธิส่งผู้แทนไปร่วมประชุมและ ด าเนินการของสหพันธ์นายจ้างหรือสหพันธ์ แรงงานได้ ตามจ านวนที่ได้ก าหนดไว้ใน ข้อบังคับว่าด้วยวิธีการจัดการสหพันธ์นายจ้าง หรือข้อบังคับว่าด้วยวิธีการจัดการสหพันธ์ แรงงาน

มาตรา ๑๑๗

คณะกรรมการสหพันธ์นายจ้างให้เลือกตั้งจาก ผู้แทนของสมาคมนายจ้างซึ่งเป็นสมาชิกของ สหพันธ์นายจ้างนั้น คณะกรรมการสหพันธ์แรงงานให้เลือกตั้งจาก ผู้แทนของสหภาพแรงงานซึ่งเป็นสมาชิกของ สหพันธ์แรงงานนั้น

มาตรา ๑๑๘

ให้น าบทบัญญัติว่าด้วยสมาคมนายจ้างใน หมวด ๖ และสหภาพแรงงานในหมวด ๗ มาใช้ บังคับแก่สหพันธ์นายจ้าง และสหพันธ์แรงงาน โดยอนุโลม

มาตรา ๑๑๙

สมาคมนายจ้างหรือสหพันธ์นายจ้างไม่น้อยกว่า ห้าแห่ง อาจจัดตั้งสภาองค์การนายจ้าง เพื่อ ส่งเสริมการศึกษาและส่งเสริมการแรงงาน สัมพันธ์ได้ สภาองค์การนายจ้างต้องมีข้อบังคับและต้องจด ทะเบียนต่อนายทะเบียน เมื่อได้จดทะเบียนแล้ว ให้สภาองค์การนายจ้างเป็นนิติบุคคล ให้น าบทบัญญัติว่าด้วยสมาคมนายจ้างใน หมวด ๖ และสหพันธ์นายจ้างในหมวด ๘ มาใช้ บังคับแก่สภาองค์การนายจ้างโดยอนุโลม

มาตรา ๑๒๐

สหภาพแรงงานหรือสหพันธ์แรงงานไม่น้อยกว่า สิบห้าแห่ง อาจจัดตั้งสภาองค์การลูกจ้าง เพื่อ ส่งเสริมการศึกษาและส่งเสริมการแรงงาน สัมพันธ์ได้ สภาองค์การลูกจ้างต้องมีข้อบังคับและต้องจด ทะเบียนต่อนายทะเบียน เมื่อได้จดทะเบียนแล้ว ให้สภาองค์การลูกจ้างเป็นนิติบุคคล ให้น าบทบัญญัติว่าด้วยสหภาพแรงงานในหมวด ๗ และสหพันธ์แรงงานในหมวด ๘ มาใช้บังคับ แก่สภาองค์การลูกจ้างโดยอนุโลม

มาตรา ๑๒๐ ทวิ

กรรมการสมาคมนายจ้าง สหพันธ์นายจ้าง และ สภาองค์การนายจ้างซึ่งนายทะเบียนสั่งให้พ้น จากต าแหน่ง เนื่องจากการกระท าการฝ่าฝืน บทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้ จะด ารง ต าแหน่งกรรมการสมาคมนายจ้าง สหพันธ์ นายจ้าง และสภาองค์การนายจ้างคราวต่อไปได้ เมื่อพ้นหนึ่งปีนับแต่วันที่นายทะเบียนสั่งให้พ้น จากต าแหน่ง กรรมการสหภาพแรงงาน สหพันธ์แรงงาน และ สภาองค์การลูกจ้าง ซึ่งนายทะเบียนสั่งให้พ้น จากต าแหน่งเนื่องจากกระท าการฝ่าฝืน บทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้จะด ารง ต าแหน่งกรรมการสหภาพแรงงาน สหพันธ์ แรงงาน และสภาองค์การลูกจ้าง คราวต่อไปได้ เมื่อพ้นหนึ่งปีนับแต่วันที่นายทะเบียนสั่งให้พ้น จากต าแหน่ง

มาตรา ๑๒๐ ตร

สหพันธ์แรงงานตามกฎหมายว่าด้วยแรงงาน รัฐวิสาหกิจสัมพันธ์อาจเข้าเป็นสมาชิกสภา องค์การลูกจ้างได้

หมวด ๙ การกระท าอันไม่เป็ นธรรม

มาตรา ๑๒๑

ห้ามมิให้นายจ้าง (๑) เลิกจ้าง หรือกระท าการใด ๆ อันอาจเป็น ผลให้ลูกจ้าง ผู้แทนลูกจ้าง กรรมการสหภาพ แรงงาน หรือกรรมการสหพันธ์แรงงาน ไม่ สามารถทนท างานอยู่ต่อไปได้เพราะเหตุที่ ลูกจ้าง หรือสหภาพแรงงานได้นัดชุมนุม ท าค า ร้อง ยื่นข้อเรียกร้อง เจรจา หรือด าเนินการ ฟ้องร้อง หรือเป็นพยานหรือให้หลักฐานต่อ พนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการ คุ้มครองแรงงานหรือนายทะเบียน พนักงาน ประนอมข้อพิพาทแรงงาน ผู้ชี้ขาดข้อพิพาท แรงงาน หรือกรรมการแรงงานสัมพันธ์ ตาม พระราชบัญญัตินี้ หรือต่อศาลแรงงาน หรือ เพราะเหตุที่ลูกจ้าง หรือสหภาพแรงงานก าลัง จะกระท าการดังกล่าว (๒) เลิกจ้างหรือกระท าการใด ๆอันอาจเป็น ผลให้ลูกจ้างไม่สามารถทนท างานอยู่ต่อไปได้ เพราะเหตุที่ลูกจ้างนั้นเป็นสมาชิกของสหภาพ แรงงาน (๓) ขัดขวางในการที่ลูกจ้างเป็นสมาชิกหรือให้ ลูกจ้างออกจากการเป็นสมาชิกของสหภาพ แรงงาน หรือให้ หรือตกลงจะให้เงิน หรือ ทรัพย์สินแก่ลูกจ้างหรือเจ้าหน้าที่ของสหภาพ แรงงานเพื่อมิให้สมัครหรือรับสมัครลูกจ้างเป็น สมาชิก หรือเพื่อให้ออกจากการเป็นสมาชิก ของสหภาพแรงงาน (๔) ขัดขวางการด าเนินการของสหภาพ แรงงานหรือสหพันธ์แรงงาน หรือขัดขวางการ ใช้สิทธิของลูกจ้างในการเป็นสมาชิกสหภาพ แรงงาน หรือ (๕) เข้าแทรกแซงในการด าเนินการของ สหภาพแรงงานหรือสหพันธ์แรงงานโดยไม่มี อ านาจโดยชอบด้วยกฎหมาย

มาตรา ๑๒๒

ห้ามมิให้ผู้ใด (๑) บังคับ หรือขู่เข็ญโดยทางตรง หรือ ทางอ้อม ให้ลูกจ้างต้องเป็นสมาชิกสหภาพ แรงงาน หรือต้องออกจากการเป็นสมาชิก สหภาพแรงงาน หรือ (๒) กระท าการใด ๆ อันอาจเป็นผลให้นายจ้าง ฝ่าฝืนมาตรา ๑๒๑

มาตรา ๑๒๓

ในระหว่างที่ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างหรือ ค าชี้ขาดมีผลใช้บังคับ ห้ามมิให้นายจ้างเลิกจ้าง ลูกจ้าง ผู้แทนลูกจ้าง กรรมการ อนุกรรมการ หรือสมาชิกสหภาพแรงงาน หรือกรรมการ หรือ อนุกรรมการสหพันธ์แรงงาน ซึ่งเกี่ยวข้องกับข้อ เรียกร้อง เว้นแต่บุคคลดังกล่าว (๑) ทุจริตต่อหน้าที่หรือกระท าความผิดอาญา โดยเจตนาแก่นายจ้าง (๒) จงใจท าให้นายจ้างได้รับความเสียหาย (๓) ฝ่าฝืนข้อบังคับ ระเบียบ หรือค าสั่งอัน ชอบด้วยกฎหมายของนายจ้าง โดยนายจ้าง ได้ว่ากล่าวและตักเตือนเป็นหนังสือแล้ว เว้น แต่กรณีที่ร้ายแรง นายจ้างไม่จ าต้องว่ากล่าว และตักเตือน ทั้งนี้ ข้อบังคับ ระเบียบหรือ ค าสั่งนั้นต้องมิได้ออกเพื่อขัดขวางมิให้บุคคล ดังกล่าวด าเนินการเกี่ยวกับข้อเรียกร้อง หรือ (๔) ละทิ้งหน้าที่เป็นเวลาสามวันท างาน ติดต่อกันโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร (๕) กระท าการใด ๆ เป็นการยุยง สนับสนุน หรือชักชวนให้มีการฝ่ าฝืนข้อตกลงเกี่ยวกับ สภาพการจ้างหรือค าชี้ขาด

มาตรา ๑๒๔

เมื่อมีการฝ่าฝืนมาตรา ๑๒๑ มาตรา ๑๒๒ หรือ มาตรา ๑๒๓ ผู้เสียหายเนื่องจากการฝ่ าฝืนอาจ ยื่นค าร้องกล่าวหาผู้ฝ่าฝืนต่อคณะกรรมการ แรงงานสัมพันธ์ได้ภายในหกสิบวันนับแต่วันที่มี การฝ่าฝืน

มาตรา ๑๒๕

เมื่อได้รับค าร้องกล่าวหาตามมาตรา ๑๒๔ แล้ว ให้คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์พิจารณา วินิจฉัยชี้ขาดและออกค าสั่งภายในเก้าสิบวันนับ แต่วันที่ได้รับค าร้องกล่าวหา รัฐมนตรีมีอ านาจขยายระยะเวลาให้ คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์พิจารณาวินิจฉัยชี้ ขาดได้ตามที่เห็นสมควร

มาตรา ๑๒๖

ในกรณีที่ผู้ถูกกล่าวหาได้ปฏิบัติตามค าสั่งของ คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ตามมาตรา ๑๒๕ ภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการแรงงาน สัมพันธ์ก าหนด การด าเนินคดีอาญาต่อบุคคล นั้นให้เป็นอันระงับไป

มาตรา ๑๒๗

การฝ่าฝืนมาตรา ๑๒๑ มาตรา ๑๒๒ หรือมาตรา ๑๒๓ จะด าเนินคดีอาญาได้ต่อเมื่อผู้เสียหาย เนื่องจากการฝ่าฝืนได้ยื่นค าร้องกล่าวหาผู้ฝ่าฝืน ตามมาตรา ๑๒๔ และผู้ถูกกล่าวหาไม่ปฏิบัติ ตามค าสั่งของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ ตามมาตรา ๑๒๕

หมวด ๑๐ บทก าหนดโทษ

มาตรา ๑๒๘

ผู้แทนนายจ้างหรือผู้แทนลูกจ้างตามมาตรา ๑๓ หรือมาตรา ๑๖ หรือผู้แทนสมาคมนายจ้างหรือ ผู้แทนสหภาพแรงงานตามมาตรา ๑๕ ผู้ใด รับ หรือยอมจะรับเงิน หรือทรัพย์สินจากผู้ใดผู้หนึ่ง เพื่อกระท าการอันเป็นเหตุให้นายจ้าง ลูกจ้าง สมาคมนายจ้าง หรือสหภาพแรงงานซึ่งตนเป็น ผู้แทนในการเรียกร้อง เจรจาท าความตกลงหรือ รับทราบค าชี้ขาดต้องเสียผลประโยชน์อันควรได้ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่ เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๑๒๙

ี่ปรึกษานายจ้างหรือที่ปรึกษาลูกจ้างตาม มาตรา ๑๗ ผู้ใด รับหรือยอมจะรับเงินหรือ ทรัพย์สินจากผู้ใดผู้หนึ่งเพื่อกระท าการอันเป็น เหตุให้นายจ้างหรือลูกจ้างซึ่งตนเป็นที่ปรึกษา ต้องเสียผลประโยชน์อันควรได้ ต้องระวางโทษ จ าคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๑๒๙ ทวิ

ผู้ใดกระท าตนเป็นที่ปรึกษานายจ้าง หรือที่ ปรึกษาลูกจ้างโดยไม่ได้รับการจดทะเบียนตาม มาตรา ๑๗ วรรคสอง ต้องระวางโทษจ าคุกไม่ เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้ง จ าทั้งปรับ

มาตรา ๑๓๐

นายจ้างผู้ใดฝ่ าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๘ มาตรา ๒๐ หรือมาตรา ๒๒ วรรคสอง ประกอบด้วยมาตรา ๑๘ ต้องระวางโทษปรับไม่ เกินหนึ่งพันบาท

มาตรา ๑๓๑

นายจ้างหรือลูกจ้างผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างหรือค าชี้ขาดข้อ พิพาทแรงงานที่ได้จดทะเบียนตามมาตรา ๑๘ วรรคสอง มาตรา ๒๒ วรรคสอง หรือมาตรา ๒๙ วรรคสี่ในระหว่างที่ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการ จ้างหรือค าชี้ขาดข้อพิพาทแรงงานนั้นมีผลใช้ บังคับ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๑๓๒

นายจ้าง ลูกจ้าง สมาคมนายจ้าง สหภาพ แรงงาน สหพันธ์นายจ้าง หรือสหพันธ์แรงงานใด ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามค าวินิจฉัยของ คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์หรือค าวินิจฉัย อุทธรณ์ของรัฐมนตรีตามมาตรา ๒๓ ต้องระวาง โทษจ าคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่น บาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๑๓๔

ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามค าชี้ขาดข้อพิพาท แรงงานตามมาตรา ๒๔ มาตรา ๒๕ หรือมาตรา ๓๕ (๔) ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือ ปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๑๓๔

ผู้ชี้ขาดข้อพิพาทแรงงานผู้ใด รับหรือยอมจะรับ เงินหรือทรัพย์สินจากผู้ใดผู้หนึ่ง เพื่อจูงใจให้ชี้ ขาดข้อพิพาทแรงงานอันเป็นเหตุให้นายจ้าง ลูกจ้าง สมาคมนายจ้าง หรือสหภาพแรงงาน ต้องเสียผลประโยชน์อันควรได้ ต้องระวางโทษ จ าคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๑๓๕

ผู้ชี้ขาดข้อพิพาทแรงงานผู้ใดไม่ปฏิบัติตาม มาตรา ๒๙ วรรคสาม หรือวรรคสี่ ต้องระวาง โทษปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท

มาตรา ๑๓๖

นายจ้างผู้ใดฝ่ าฝืนมาตรา ๓๑ วรรคหนึ่ง ต้อง ระวางโทษจ าคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกิน หนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๑๓๗

ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๓๒ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่ เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือ ทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๑๓๘

นายจ้าง ลูกจ้าง สมาคมนายจ้าง สหภาพ แรงงาน สหพันธ์นายจ้าง หรือสหพันธ์แรงงานใด ฝ่าฝืนประกาศของรัฐมนตรีที่ออกตามมาตรา ๓๓ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินหก เดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจ าทั้ง ปรับ

มาตรา ๑๓๙

นายจ้างหรือลูกจ้างผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๓๔ ต้อง ระวางโทษจ าคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกิน หนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๑๔๐

นายจ้างหรือลูกจ้างผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม ค าสั่งของรัฐมนตรีตามมาตรา ๓๕ (๑) (๒) หรือ (๓) ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินหกเดือน หรือ ปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๑๔๑

นายจ้างหรือลูกจ้างผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม มาตรา ๓๖ วรรคหนึ่ง หรือวรรคสอง ต้องระวาง โทษจ าคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่น บาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๑๔๒

ผู้ใดไม่อ านวยความสะดวก ขัดขวาง ไม่ตอบ หนังสือสอบถาม ไม่ชี้แจงข้อเท็จจริง หรือไม่ส่ง สิ่งของหรือเอกสารที่เกี่ยวข้องแก่กรรมการ แรงงานสัมพันธ์ หรืออนุกรรมการแรงงาน สัมพันธ์ตามมาตรา ๔๓ หรือแก่นายทะเบียน หรือผู้ซึ่งนายทะเบียนมอบหมายตามมาตรา ๗๒ หรือมาตรา ๑๐๕ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกิน หนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้ง จ าทั้งปรับ

มาตรา ๑๔๓

นายจ้างผู้ใดฝ่ าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๕๐ มาตรา ๕๒ หรือมาตรา ๕๓ ต้องระวางโทษ จ าคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพัน บาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๑๔๔

ผู้เริ่มก่อการจัดตั้งสมาคมนายจ้างผู้ใดไม่ปฏิบัติ ตามมาตรา ๖๑ หรือกรรมการสมาคมนายจ้าง ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๖๒ ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกินวันละห้าสิบบาทตลอดระยะเวลาที่ยัง ไม่ปฏิบัติ

มาตรา ๑๔๕

สมาคมนายจ้างใดรับบุคคลเข้าเป็นสมาชิกโดย ฝ่าฝืนมาตรา ๖๓ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่ง พันบาท

มาตรา ๑๔๖

สมาคมนายจ้างใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม มาตรา ๗๑ หรือมาตรา ๗๕ ต้องระวางโทษปรับ ไม่เกินสองพันบาท กรรมการสมาคมนายจ้างผู้ใดรู้เห็นเป็นใจให้ สมาคมนายจ้างกระท าการฝ่ าฝืนหรือไม่ปฏิบัติ ตามมาตรา ๗๑ หรือมาตรา ๗๕ ต้องระวางโทษ จ าคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพัน บาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๑๔๗

ผู้ช าระบัญชีผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๘๕ หรือ มาตรา ๑๑๑ ประกอบด้วยมาตรา ๘๕ หรือ มาตรา ๑๑๘ ประกอบด้วยมาตรา ๘๕ หรือ มาตรา ๑๑๑ ต้องระวางโทษปรับวันละไม่เกินห้า สิบบาทตลอดระยะเวลาที่ยังไม่ปฏิบัติ

มาตรา ๑๔๘

ผู้เริ่มก่อการจัดตั้งสหภาพแรงงานผู้ใดไม่ปฏิบัติ ตามมาตรา ๙๓ หรือกรรมการสหภาพแรงงาน ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๙๔ ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกินวันละห้าสิบบาทตลอดระยะเวลาที่ยัง ไม่ปฏิบัติ

มาตรา ๑๔๙

สหภาพแรงงานใดรับบุคคลเข้าเป็นสมาชิกโดย ฝ่าฝืนมาตรา ๙๕ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่ง พันบาท

มาตรา ๑๕๐

สหภาพแรงงานใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม มาตรา ๑๐๔ หรือมาตรา ๑๐๘ ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกินสองพันบาท กรรมการสหภาพแรงงานผู้ใดรู้เห็นเป็นใจให้ สหภาพแรงงานกระท าการฝ่ าฝืนหรือไม่ปฏิบัติ ตามมาตรา ๑๐๔ หรือมาตรา ๑๐๘ ต้องระวาง โทษจ าคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่ง พันบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๑๕๑

ผู้จัดตั้งสหพันธ์นายจ้างผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๑๘ ประกอบด้วยมาตรา ๖๑ หรือผู้จัดตั้ง สหพันธ์แรงงานผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๑๘ ประกอบด้วยมาตรา ๙๓ ต้องระวางโทษปรับไม่ เกินวันละห้าสิบบาทตลอดระยะเวลาที่ยังไม่ ปฏิบัติ

มาตรา ๑๕๒

กรรมการสหพันธ์นายจ้างผู้ใดไม่ปฏิบัติตาม มาตรา ๑๑๘ ประกอบด้วยมาตรา ๖๒ หรือ กรรมการสหพันธ์แรงงานผู้ใดไม่ปฏิบัติตาม มาตรา ๑๑๘ ประกอบด้วยมาตรา ๙๔ ต้อง ระวางโทษปรับไม่เกินวันละห้าสิบบาทตลอด ระยะเวลาที่ยังไม่ปฏิบัติ

มาตรา ๑๕๓

สหพันธ์นายจ้างใดฝ่ าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม มาตรา ๑๑๘ ประกอบด้วยมาตรา ๗๑ หรือ มาตรา ๗๕ หรือสหพันธ์แรงงานใดฝ่าฝืนหรือไม่ ปฏิบัติตามมาตรา ๑๑๘ ประกอบด้วยมาตรา ๑๐๔ หรือมาตรา ๑๐๘ ต้องระวางโทษปรับไม่ เกินสองพันบาท กรรมการสหพันธ์นายจ้างผู้ใดรู้เห็นเป็นใจให้ สหพันธ์นายจ้างกระท าการฝ่ าฝืนหรือไม่ปฏิบัติ ตามมาตรา ๑๑๘ ประกอบด้วยมาตรา ๗๑ หรือ มาตรา ๗๕ หรือกรรมการสหพันธ์แรงงานผู้ใดรู้ เห็นเป็นใจให้สหพันธ์แรงงานกระท าการฝ่าฝืน หรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๑๘ ประกอบด้วย มาตรา ๑๐๔ หรือมาตรา ๑๐๘ ต้องระวางโทษ จ าคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพัน บาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๑๕๔

ผู้ใดใช้ชื่อซึ่งมีอักษรไทยประกอบว่า “สมาคม นายจ้าง” หรือ “สหภาพแรงงาน” หรือ “สหพันธ์ นายจ้าง” หรือ “สหพันธ์แรงงาน” หรืออักษร ต่างประเทศซึ่งมีความหมายท านองเดียวกัน ประกอบในป้ายชื่อ ดวงตรา จดหมาย ใบแจ้ง ความหรือเอกสารอย่างอื่นเกี่ยวกับกิจการธุรกิจ โดยมิได้เป็นสมาคมนายจ้าง สหภาพแรงงาน สหพันธ์นายจ้าง หรือสหพันธ์แรงงาน ต้องระวาง โทษปรับไม่เกินหนึ่งพันบาทและปรับอีกเป็น รายวันไม่เกินวันละห้าสิบบาทจนกว่าจะเลิกใช้

มาตรา ๑๕๕

ผู้ใดเป็นสมาชิกของสมาคมนายจ้างหรือสหภาพ แรงงาน โดยรู้อยู่ว่าสมาคมนายจ้างหรือสหภาพ แรงงานนั้นยังไม่ได้จดทะเบียน ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท ผู้ใดเป็นผู้ด าเนินการสมาคมนายจ้างหรือ สหภาพแรงงานที่ยังไม่ได้จดทะเบียน ต้องระวาง โทษจ าคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่ง พันบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๑๕๖

เมื่อสมาคมนายจ้าง สหภาพแรงงาน สหพันธ์ นายจ้าง หรือสหพันธ์แรงงาน ได้เลิกตาม พระราชบัญญัตินี้ กรรมการหรืออนุกรรมการ สมาคมนายจ้าง สหภาพแรงงาน สหพันธ์ นายจ้าง หรือสหพันธ์แรงงานผู้ใดขัดขวางการ ด าเนินการของผู้ช าระบัญชี ต้องระวางโทษจ าคุก ไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๑๕๗

ผู้ใดยังคงด าเนินกิจการของสมาคมนายจ้าง สหภาพแรงงาน สหพันธ์นายจ้าง หรือสหพันธ์ แรงงาน ซึ่งได้เลิกไปแล้วตามพระราชบัญญัตินี้ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับ ไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๑๕๗ ทวิ

ู้ใดด าเนินการสภาองค์การนายจ้างหรือสภา องค์การลูกจ้าง หรือใช้ชื่อซึ่งมีอักษรไทย ประกอบว่า “สภาองค์การนายจ้าง” หรือ “สภา องค์การลูกจ้าง” ในเอกสารเกี่ยวกับกิจการธุรกิจ โดยมิได้ปฏิบัติตามมาตรา ๑๑๙ หรือมาตรา ๑๒๐ แล้วแต่กรณี ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกิน หกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้ง จ าทั้งปรับ

มาตรา ๑๕๘

นายจ้างผู้ใดฝ่ าฝืนมาตรา ๑๒๑ หรือมาตรา ๑๒๓ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินหกเดือน หรือ ปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๑๕๙

ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๑๒๒ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่ เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือ ทั้งจ าทั้งปรับ

บทเฉพาะกาล

มาตรา ๑๖๐

บรรดาค าร้องกล่าวหา ข้อเรียกร้อง ข้อพิพาท แรงงาน ข้อตกลง ค าชี้ขาดของผู้ชี้ขาดข้อพิพาท แรงงาน ค าชี้ขาดหรือค าสั่งของคณะกรรมการ แรงงานสัมพันธ์ หรือคดีซึ่งเกิดขึ้นหรือยังไม่ถึง ที่สุดก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ เป็นไปตามประกาศของกระทรวงมหาดไทยที่ ออกตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๐๓ ลงวันที่ ๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ จนกว่าค าร้อง กล่าวหา ข้อเรียกร้อง ข้อพิพาทแรงงาน ข้อตกลง ค าชี้ขาด ค าสั่ง หรือคดีนั้นจะถึงที่สุด ให้ผู้ชี้ขาดข้อพิพาทแรงงานและคณะกรรมการ แรงงานสัมพันธ์ซึ่งแต่งตั้งขึ้นตาม พระราชบัญญัตินี้ มีอ านาจพิจารณาวินิจฉัยชี้ ขาด ตลอดจนมีอ านาจสั่งเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว ตามวรรคหนึ่ง เช่นเดียวกับผู้ชี้ขาดข้อพิพาท แรงงานและคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ซึ่ง แต่งตั้งขึ้นตามประกาศของกระทรวงมหาดไทยที่ ออกตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๐๓ ลงวันที่ ๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๕

มาตรา ๑๖๑

สมาคมนายจ้างและสมาคมลูกจ้างซึ่งได้จด ทะเบียนจัดตั้งขึ้นตามประกาศของ กระทรวงมหาดไทยที่ออกตามประกาศของคณะ ปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๐๓ ลงวันที่ ๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ ให้ถือว่าเป็นสมาคมนายจ้างและสหภาพ แรงงานตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๑๖๒

ค าขอจัดตั้งสมาคมนายจ้างหรือสมาคมลูกจ้างที่ ได้ยื่นไว้ตามประกาศของกระทรวงมหาดไทยที่ ออกตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๐๓ ลงวันที่ ๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ ให้ถือว่าเป็น ค าขอตามพระราชบัญญัติน

มาตรา ๑๖๓

ในระหว่างที่ยังมิได้มีกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้ง ศาลแรงงานใช้บังคับ ให้ศาลยุติธรรมมีอ านาจ หน้าที่เช่นเดียวกับศาลแรงงาน ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ สญั ญา ธรรมศกัดิ์ นายกรัฐมนตรี

「1975년 근로관계법」

 국가·지역: 태국  제 정 일: 1975년 2월 14일  개 정 일: 2011년 11월 9일(「2011년 근로관계법 (제3권)」

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ณ วันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์พ.ศ. ๒๕๑๘ เป็นปีที่ ๓๐ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยแรงงาน สัมพันธ์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยค าแนะน าและยินยอม ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติท าหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้ 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서 현 왕조의 30번째 해인 1975년(불기2518년) 2월 14일에 하사하셨다. 푸미폰아둔야뎃 국왕 폐하께서는 다음과 같이 공포하도록 하셨다. 근로관계 관련 법률을 갖추는 것 이 합당하다. 그러므로 국회의 직무를 수행하 는 국가입법의회 조언과 동의를 통하여 다음과 같이 법을 제정한 다.

제1조

이 법은 “1975 근로관계법”이 라고 한다.

제2조

이 법은 관보에 게재한 날부터 30일이 경과한 날에 시행하도록 한다.

제3조

1972년 3월 16일자 개혁단 공 고 제103호의제4항 및 제11항 은 폐지하도록 한다.

제4조

이 법은 다음 각 항에 대해서는 적용하지 아니한다. (1) 중앙 정부 (2) 지방 정부 (3) 방콕시 정부 및 팟타야시 정부를 포함한 지방 자치 단체 (4) 제120조의3에 따라 노동 자연맹이 근로자조직협의회 회 원으로 가입하는 것을 제외하 고, 국영기업근로 관련 법률에 따른 국영기업 사업 (5) 칙령으로 정하는 바에 따 른 기타 사업

제5조

이 법에서 사용하는 용어의 뜻 은 다음과 같다. “사용자”란 임금을 지급하여 근 로자를 고용하기로 합의한 사람 을 말하며, 사용자로부터 대행 위임을 받은 사람도 포함하여 말한다. 사용자가 법인인 경우, 해당 법인을 대행하는 권한을 가진 사람을 말하여, 법인 대행 권을 가진 사람으로부터 대행하 도록 위임을 받은 사람도 포함 하여 말한다. “근로자”란 임금을 받기 위하여 사용자에게 근로를 제공하기로 합의한 사람을 말한다. “고용 상태”란 고용 또는 근로, 근로일 및 근로 시간, 임금, 복 지, 고용 종료 또는 고용이나 근로와 관련한 사용자 또는 근 로자의 기타 이익을 말한다. “고용 상태 관련 합의”란 사용 자와 근로자 간 또는 사용자나 사용자협회와 노동조합 간의 근 로 상태와 관련한 합의를 말한 다. “노동 쟁의”란 사용자와 근로자 간의 노동 상태와 관련한 분쟁 을 말한다. “직장 폐쇄”란 노동 쟁의로 인 하여 사용자가 잠정적으로 근로 자의 근로를 거부하는 것을 말 한다. “파업”이란 노동 쟁의로 인하여 근로자가 연합하여 일시적으로 근로를 하지 아니하는 것을 말 한다. “사용자협회”란 이 법에 따라 설립되는 사용자의 기구를 말한 다. “노동조합”이란 이 법에 따라 설립되는 노동자의 기구를 말한 다. “사용자연합”이란 이 법에 따라 설립되는 2개 이상의 사용자협 회의 기구를 말한다. “노동연맹”이란 이 법에 따라 설립되는 2개 이상의 노동조합 의 기구를 말한다. “등록담당관”이란 이 법에 따라 집행하도록 장관이 임명하는 사 람을 말한다. “노동쟁의조정관”이란 장관이 이 법에 따라 집행하도록 임명 하는 사람을 말한다. “국장”이란 근로국장을 말한다. “장관”이란 이 법에 따른 주무 장관을 말한다.

제6조

내무부 장관이 이 법에 따른 주 무 장관이 되도록 하며, 다음 각 항의 권한을 갖도록 한다. (1) 이 법에 따른 집행을 위한 등록담당관과 노동쟁의조정관 및 노동쟁의중재자 임명 (2) 이 법에 따른 집행을 위한 부령 제정 제(1)항에 따른 임명은 관보에 게재하도록 한다. 해당 부령은 관보에 게재를 완 료하였을 때 시행하도록 한다.

제7조

내무부 근로국에 중앙등록사무 소를 설치하고, 전국의 사용자 협회와 노동조합, 사용자연합 및 노동연맹 등록을 감독하는 권한 및 직무를 담당하도록 하 며, 방콕시등록사무소로서의 직 무도 수행하도록 한다. 방콕시 이외에, 장관이 중앙등 록사무소 직속으로 도(짱왓)등 록사무소를 설치할 수도 있다.

제8조

내무부에 근로관계위원회를 설 치하고 다음 각 항의 권한과 직 무를 담당하도록 한다. (1) 청원 및 노동 쟁의 관련 기본적 사실 관계 조사 조치 (2) 근로관계위원회의 의결에 따르도록 하는 조치 (3) 기타 권한 및 직무

제9조

내무부에 노동쟁의중재사무소를 설치하고, 다음 각 항의 권한과 직무를 담당하도록 한다. (1) 당사자 선출용으로 제출하 기 위한 노동쟁의중재자의 명 단 및 자격 작성 (2) 노동 쟁의 중재 관련 학술 및 법률적 감독 및 조치

제1장 고용 상태 관련 합의

제10조

20인 이상의 근로자가 있는 사 업장은 이 장에 따른 고용 상태 관련 합의를 마련하도록 한다. 고용 상태 관련 합의는 서면으 로 작성하도록 한다. 해당 사업장에 대한 고용 상태 관련 합의 유무 여부가 의심되 는 경우, 근로 보호 관련 법률 에 따라 사용자가 마련하여야 하는 근로 관련 규약을 이 법에 따른 고용 상태 관련 합의로 보 도록 한다.

제11조

근로 상태 관련 합의는 최소한 다음 각 항의 내용을 갖추어야 한다. (1) 고용 또는 근로 조건 (2) 근로일 및 근로시간 규정 (3) 임금 (4) 복지 (5) 고용 종료 (6) 근로자의 고충 정황 제기 (7) 고용 상태 합의 관련 개정 또는 연장

제12조

고용 상태 관련 합의는 사용자 와 근로자가 합의한 기간 내에 서 효력을 발생하나, 3년을 초과 하여 효력을 발생하도록 합의할 수는 없다. 만약 기간을 정하지 아니하였다면, 고용 상태 관련 합의는 경우에 따라 사용자와 근로자가 합의한 날 또는 사용 자가 근로자를 고용한 날부터 1 년 동안 효력을 갖도록 한다. 고용 상태 관련 합의에 따라 정 한 기간이 종료된 경우, 만약 재협상이 없었다면, 해당 근로 관련 합의는 1회에 1년을 추가 로 하여 효력을 갖는다고 보도 록 한다.

제13조

고용 상태 관련 합의 규정 또는 고용 상태 관련 개정 요구는 사 용자 또는 근로자가 서면으로 상대측에 요구 사항을 알려야 한다. 사용자가 요구 사항을 통보하는 경우, 사용자는 협상 참여자로 본인의 성명을 명시하여 협상 참여자 성명을 명시하거나 협상 참여자로 대표를 세울 수도 있 다. 만약 사용자가 대표를 협상 참여자로 세우는 경우, 사용자 의 대표는 이사나 주주, 동업자 또는 사용자의 정직원이나 사용 자협회 위원 또는 사용자연합 위원이어야 하며, 7인을 초과하 지 아니하여야 한다. 근로자가 요구 사항을 통보하는 경우에는 해당 요구 사항은 전 체 근로자의 15% 이상인, 해당 요구 사항과 관련한 근로자의 명단 및 서명을 포함하여야 한 다. 만약 근로자가 협상에 참여 할 대표를 선출하였다면, 요구 사항 통보와 함께 7인을 초과하 지 아니하는 협상 참여 대표 성 명을 명시하도록 한다. 만약 근 로자가 협상에 참여할 대표를 아직 선출하지 아니하였다면, 근로자는 지체없이 협상에 참여 할 7인 이하의 대표를 선출하 고, 협상 참여 대표 성명을 명 시하도록 한다. 요구 사항과 관련한 협상 참여 와 조치 및 결정 통보를 수령하 기 위한 근로자 대표 선출 및 기한은 부령에서 정하는 원칙 및 절차를 따르도록 한다.

제14조

근로자 대표 선출은 근로자가 직접 처리하거나, 노동쟁의조정 관에게 대행을 신청할 수도 있 다. 근로자 대표의 인원수는 선 거관리자가 정하는 바를 따르도 록 하나, 7인을 초과하지 아니하 여야 한다. 근로자 대표는 해당 요구 사항과 관련한 근로자이거 나, 요구 사항과 관련한 근로자 가 조합원인 노동조합의 위원 또는 노동연맹의 위원이어야 한 다.

제15조

사용자협회 또는 노동조합은 제 13조에 따른 요구 사항을 회원 인 사용자 또는 조합원인 근로 자를 대신하여 상대방에 통보할 수도 있다. 근로자인 조합원은 전체 근로자 인원수의 1/5이상 이어야 한다. 노동조합이 해당 요구 사항을 통보하는 경우, 요구 사항과 관 련한 근로자의 명단 및 서명을 갖출 필요는 없다. 해당 노동조합이, 첫번째 단락 에 명시한 인원수를 충족하는 요구 사항 관련 근로자를 조합 원으로 확보하였는지 여부가 의 심되는 경우, 관련 사용자나 사 용자협회 또는 노동조합이 요구 사항을 서면으로 노동쟁의조정 관에게 제출하여 검증하도록 할 수도 있다. 노동쟁의조정관이 해당 요구 사항을 접수한 때에 는 그 노동조합이 요구 사항과 관련한 근로자를 조합원으로 확 보하였는지 여부에 대한 전체 근거에 대한 조사 조치를 하도 록 하고, 만약 갖추었다면 노동 쟁의 중재관이 인증서를 신청자 에게 근거로 발급하도록 한다. 만약 노동 쟁의 중재관이 없다 면 관련 당사자에게 통보하도록 한다. 노동조합이 요구 사항을 통보한 경우, 만약 어떠한 일방의 요청 에 따른 노동쟁의조정관에게 그 러한 요구 사항과 관련한 근로 자 일부가 다른 노동조합의 조 합원이라고 드러난다면, 노동쟁 의조정관은 제13조에 따른 조치 에 대한 근로자 대표 선출 투표 를 마련하도록 한다.

제16조

요구 사항을 접수한 때에는 요 구 사항을 접수한 측이 서면으 로 본인 또는 대표의 성명을 요 구 사항을 통보한 측에 지체없 이 알리도록 하며, 양측은 요구 사항을 접수한 날부터 3일 이내 에 협상을 개시하도록 한다

제17조

사용자 또는 근로자는 제13조 또는 제16조에 따른 본인의 대 표에게 조언을 제공하기 위한 고문을 임명할 수도 있으나, 각 측 당 2인을 초과하지 아니하여 야 한다. 첫번째 단락에 따른 고문은 국 장이 정하는 자격을 갖추어야 하며, 신청서를 제출하고 국장 또는 국장이 위임한 사람에게 등록을 완료하여야 고문으로 임 명될 수 있다. 사용자 또는 근로자가 고문을 임명한 경우, 사용자 또는 근로 자는 제13조에 따른 요구 사항 에서 또는 이후 임명한 때에 대 리인 성명 신고서에서 본인측 고문의 성명을 상대측에 통보하 도록 하며, 고문은 회의 및 협 상에 참석하여 합의할 수 있다.

제17조의부칙

제17조에 따라 사용자 고문 또 는 근로자 고문으로 등록된 사 람은 등록일부터 2년 기한의 고 문이 되도록 한다. 만약 국장이 정하는 바에 따른 자격을 결여하였다면, 첫번째 단락에 따른 기한 만료 전에 고 문을 고문직에서 면직할 수 있 다. 두번째 단락에 따라 고문직에서 퇴직하는 경우, 해당자는 국장 이 고문직에서 면직을 명한 날 부터 2년이 경과하였을 때 사용 자 고문 또는 근로자 고문으로 재등록 신청할 수 있다.

제18조

만약 사용자 또는 사용자협회와 근로자 또는 노동조합이 제13조 에 따른 요구 사항과 관련한 합 의가 가능하다면, 경우에 따라 사용자 또는 사용자 대표 및 근 로자 대표 또는 노동조합 운영 자가 서명한 서면으로 해당 고 용 상태 관련 합의를 하고, 사 용자는 고용 상태 관련 합의를 관련 근로자가 근로하는 장소에 합의일부터 3일 이내에 게재를 시작하여 최소한 30일의 기간 동안 공개적으로 게시하도록 한 다. 사용자는 첫번째 단락에 따른 고용 상태 관련 합의를 합의일 부터 15일 이내에 국장 또는 국 장이 위임한 사람에게 등록하도 록 한다.

제19조

고용 상태 관련 합의는 해당 요 구 사항에 서명한 사용자 및 근 로자와 아울러 협상 참여 대표 선출에 동참한 모든 근로자에 대해서도 구속력을 갖는다. 사용자 또는 사용자협회와 노동 조합 또는 동종 사업에 근로하 는 근로자를 조합원으로 하여 동종 사업에 근로하는 근로자 간에 체결하거나, 전체 근로자 의 2/3를 초과하여 고용 상태 관련 요구에 동참한 고용 상태 관련 합의는 해당 고용 상태 관 련 합의가 사용자 및 동종 사업 에서 근로하는 모든 근로자에 대하여 구속력을 갖는다고 보도 록 한다.

제20조

고용 상태 관련 합의가 구속력 을 갖춘 때에는 사용자가 근로 자와 고용 상태 관련 합의를 위 반하거나 모순되는 근로계약을 체결하지 아니하도록 금지한다. 다만, 그러한 근로계약이 근로 자에게 더 유리한 것은 제외한 다.

제2장 노동 쟁의 해결 방안

제21조

제16조에 따라 규정하는 협상이 없거나, 협상은 있었으나 이유 를 불문하고 합의가 불가능한 경우에는 노동 쟁의가 발생하였 다고 보도록 하며, 요구 사항을 통보하는 측은 경우에 따라 제 16조에 따른 기한이 만료된 날 또는 합의가 결렬된 날부터 24 시간 이내에 노동쟁의조정관에 게 서면으로 신고하도록 한다.

제22조

노동쟁의조정관이 제21조에 따 른 신고 접수를 완료한 때에는 노동쟁의조정관이 신고서를 접 수한 날부터 5일 이내에 노동쟁 의조정관은 요구 사항을 통보하 는 측과 요구 사항을 접수하는 측이 합의하도록 하기 위한 중 재 조치를 하도록 한다. 만약 첫번째 단락에 따른 기간 내에 합의가 있었다면, 제18조 를 준용하도록 한다. 첫번째 단락에 따른 기간 내에 합의가 불가능한 경우, 그러한 노동 쟁의는 합의 불가능한 노 동 쟁의로 보도록 하다. 이러한 경우, 사용자 및 근로자는 제26 조에 따른 노동쟁의중재자를 임 명하거나, 제34조를 위반하지 아니하여, 제23조나 제24조, 제 25조 또는 제36조의 적용 하에 서 사용자가 직장을 폐쇄하거나 근로자가 파업을 할 수도 있다.

제23조

다음 각 항의 어느 하나에 해당 하는 사업에서 합의 불가능한 노동 쟁의가 있는 때에는 노동 쟁의조정관이 검토, 결정을 위 하여 근로관계위원회에 노동 쟁 의를 제출하고, 노동 쟁의 접수 일부터 30일 이내에 양측에 통 보하도록 한다. (1) 철도 (2) 항만 (3) 전화 또는 전기 통신 (4) 에너지나 전력의 생산 또 는 대국민 판매 (5) 상수도 (6) 연료유 생산 또는 정제 (7) 병원 사업 또는 의료 시설 사업 (8) 부령에서 정하는 바에 따 른 기타 사업 노동쟁의조정관은 검토, 결정을 위하여 근로관계위원회에 노동 쟁의 사항을 송부하고, 노동 쟁 의를 접수한 날부터 30일 이내 에 양측에 통지하도록 한다. 사용자나 사용자협회, 사용자연 합, 근로자, 노동조합 또는 노동 연맹은 결정문을 수령한 날부터 7일 이내에 장관에게 이의를 제 기할 권리가 있다. 장관은 이의 를 접수한 날부터 10일 이내에 이의를 결정하고 양측에 통지하 도록 한다. 기한 내에 이의를 제기하지 아 니한 근로관계위원회의 결정 및 장관의 이의 결정은 최종 결정 이 되도록 하며, 요구 사항을 통보하는 측과 요구 사항을 접 수하는 측은 이를 준수하여야 한다.

제24조

제23조에 따른 사업을 제외한 어떠한 사업에서 합의 불가능한 노동 쟁의가 있는 때에, 만약 장관이 합의 불가능한 해당 노 동 쟁의가 국가 경제 또는 국민 의 안녕질서에 영향이 있을 수 있다고 판단한다면, 장관은 근 로관계위원회에 해당 노동 쟁의 에 대하여 결정하도록 명령할 권한이 있으며, 근로관계위원회 는 명령이 있는 날부터 30일 이 내에 결정하도록 한다. 장관은 합당한 바에 따라 근로 관계위원회가 결정하도록 하는 기간 연장에 대한 권한이 있다. 근로관계위원회의 결정은 최종 적인 것이 되도록 한다. 요구 사항을 통보한 측과 요구 사항 을 접수한 측은 이를 준수하여 야 한다.

제25조

계엄령 관련 법률에 따른 계엄 령 적용 선포나 비상 사태 또는 국가가 심각한 경제적 문제에 직면한 경우에 대한 공공 행정 관련 법률에 따른 비상 사태 선 포가 있는 경우, 장관은 특정 지방 또는 특정 종류의 사업에 서 발생한 제22조 세번째 단락 에 따른 합의 불가능한 노동 쟁 의에 대하여 장관이 정하거나 임명하는 단체가 검토, 결정하 도록 관보에 게재하는 권한을 갖도록 한다. 그러한 단체의 결정은 최종적인 것이 되도록 한다. 요구 사항을 통보한 측과 요구 사항을 접수 한 측은 이를 준수하여야 한다. 첫번째 단락에 따른 장관의 고 시는 언제라도 관보에 게재하여 취소할 수도 있다.

제26조

제22조 세번째 단락에 따른 합 의 불가능한 노동 쟁의가 있는 때에는 사용자와 근로자가 해당 노동 쟁의에 대한 결정을 위하 여 1인 또는 다수의 노동쟁의중 재자를 임명할 수 있다.

제27조

임명을 인지한 날부터 7일 이내 에 노동쟁의중재자는 노동 쟁의 관련 결정 송부일 및 노동 쟁의 검토 일시와 장소를 정하여 요 구 사항을 통보한 측과 요구 사 항을 접수하는 측에 서면으로 통지하도록 한다.

제28조

노동 쟁의 검토에서 노동쟁의중 재자는 요구 사항을 통보하는 측 및 요구 사항을 접수하는 측 에 이유 설명 및 증거 제시 기 회를 제공하여야 한다.

제29조

노동쟁의중재자가 노동 쟁의에 대한 검토를 완료한 때에는 결 정서를 작성하도록 한다. 결정 서는 최소한 다음 각 항의 내용 을 갖추어야 한다. (1) 결정서 작성 연월일 (2) 노동 쟁의의 쟁점 (3) 검토하여 발견한 사실 관 계 (4) 결정의 이유 (5) 어떠한 한 측 또는 양측이 실행하거나, 실행을 자제하도 록 하는 결정 노동쟁의중재자의 결정은 다수 결을 따르도록 하며, 노동쟁의 중재자가 서명하여야 한다. 노동쟁의중재자는 요구 사항을 통보한 측과 요구 사항을 접수 한 측 또는 제13조나 제16조에 따른 대리인에게 결정서를 작성 한 날부터 3일 이내에 결정문을 송부하여 알리는 동시에 요구 사항 관련 근로자가 근무하고 있는 장소에 결정서 사본을 부 착하도록 한다. 노동쟁의중재자는 결정일부터 15일 이내에 노동 쟁의 결정서 를 국장 또는 국장이 위임한 사 람에게 등록하여야 한다.

제30조

기한 내에 이의를 제기하지 아 니한 근로관계위원회의 결정 및 제23조에 따른 장관의 이의 결 정, 제24조나 제35조의(4) 또는 제41조의(3)에 따른 근로관계위 원회의 결정, 제25조 또는 제29 조에 따른 노동 쟁의 결정은 판 결 또는 결정일부터 1년간 유효 하도록 한다.

제31조

제13조에 따른 요구 사항에 대 한 신고가 완료된 때에, 만약 그러한 요구 사항이 조정 검토 또는 제13조부터 제29조까지에 따른 노동 쟁의 결정 중에 있다 면, 사용자가 요구 사항과 관련 한 근로자나 근로자 대표, 위원, 소위원회, 노동조합원 또는 노 동 연맹 위원이나 소위원에 대 한 해고 또는 직무 이동을 금지 한다. 다만 다음 각 항의 어느 하나에 해당하는 사람은 제외한 다. (1) 사용자에 대하여 고의로 직무 부정 행위를 하거나 형사 범을 저지른 사람 (2) 사용자에게 고의로 피해를 입힌 사람 (3) 규칙이나 규정 또는 사용 자의 합법적인 명령을 위반한 사람은 사용자가 서면으로 견 책 및 경고를 한다. 다만 심각 한 경우에는 사용자가 견책 및 경고를 할 필요가 없다. 이와 관련하여, 그러한 규칙이나 규 정 또는 명령이 해당자의 요구 사항과 관련 이행을 방해하기 위한 것이 아니어야 한다. (4) 정당한 이유 없이 3일의 근무일 동안 연속으로 직무를 유기한 사람 요구 사항과 관련한 근로자나 근로자 대표, 위원, 소위원회 또 는 노동조합원 또는 노동 연맹 위원이나 소위원회가 파업 사태 를 지지하거나 야기하는 것을 금지한다.

제32조

사용자나 근로자, 사용자협회 위원, 노동조합 위원, 사용자연 합 위원, 노동연맹 위원 대표 또는 고문이 요구 사항이나 검 토, 조정, 노동 쟁의 결정, 직장 폐쇄 또는 파업 회의에 참여하여 실행하거나 어떠한 행위에 동참 하는 것을 금지한다.

제33조

국가가 심각한 경제적 문제에 직면하였으며, 상품 및 서비스 요금 인상 금지 고시가 있는 경 우, 장관은 관보에 근로자나 노 동조합 또는 노동연맹이 사용자 나 사용자협회 또는 사용자연합 에 대하여 근로자의 임금 인상 요구 또는 사용자에 대한 근로 자의 임금 인상 금지를 고시할 권한이 있다. 첫번째 단락의 내용은 사용자가 확정한 근로자의 상여금 용도의 임금률 인상 또는 근로자의 직 무 변경으로 인한 임금률 인상 에 대해서는 적용하지 아니한 다. 첫번째 단락에 따른 장관의 고 시는 언제든 관보에 게재하여 취소할 수도 있다.

제3장 직장 폐쇄 및 파업

제34조

다음 각 항의 어느 하나에 해당 하는 경우, 사용자의 직장 폐쇄 또는 근로자의 파업을 금지한 다. (1) 제13조에 따라 상대방에 요구 사항을 통보하지 아니하 였거나, 요구 사항을 통보하였 으나 그러한 노동 쟁의가 아직 제22조 세번째 단락에 따른 합의 불가능한 노동 쟁의로 성 립되지 아니한 때 (2) 제18조에 의거한 합의에 따라 이행하여야 하는 책임이 있는 측이 합의에 따라 이행한 때 (3) 노동쟁의중재자가 제22조 두번째 단락에 따라 조정한 합 의에 따른 이행 책임이 있는 측이 합의에 따라 이행한 때 (4) 제25조 또는 제26조에 따 라 임명된 노동쟁의중재자의 결정에 따른 이행 책임이 있는 측이 결정에 따라 이행한 때 (5) 근로관계위원회의 검토, 결정이 진행 중이거나, 제23조 에 따른 장관의 결정 또는 제 24조에 따른 근로관계위원회 의 결정이 있는 때 (6) 제25조 또는 제26조에 따 라 임명된 노동쟁의중재자의 결정이 진행 중에 있는 때 어떠한 사항의 경우라 하더라도 통보를 받은 때부터 최소 24시 간 전에 노동쟁의조정관 및 상 대방에 서면으로 사전 통보 없 이 사업주가 직장 폐쇄를 하거 나 근로자가 파업을 하는 것을 금지한다.

제35조

장관이 해당 직장 폐쇄 또는 파 업이 국가 경제에 피해를 초래 하거나, 국민에게 고통을 야기 하거나, 국가 안보에 위험이 되 거나, 국민의 안녕질서에 위반 이 될 수 있다고 보는 경우, 장 관은 다음 각 항의 권한을 갖도 록 한다. (1) 직장을 폐쇄한 사용자에게 근로자의 직장 복귀 및 해당 근로자에게 지급했던 비율에 따라 임금을 지급하도록 명령 한다. (2) 파업을 하는 근로자에게 통상적인 업무로 복귀하도록 명령한다. (3) 직장 폐쇄나 파업으로 인 하여 근로하지 아니하는 근로 자의 대체 인력에 대하여 사용 자가 해당자의 근로를 허락하 도록 하고, 근로자를 방해하지 아니하도록 금지하며, 사용자 가 해당자에게 근로자에게 지 급했던 비율에 따라 임금을 지 급하도록 조치한다. (4) 근로관계위원회가 노동 쟁 의 결정을 진행하도록 명령한 다.

제36조

계엄령 관련 법률에 따른 계엄 령 적용 선포 또는 공공 행정 관련 법률에 따른 비상 사태 선 포가 있는 경우, 장관은 계엄령 적용이 선포되거나 비상 사태가 선포된 일부 지역 또는 전역에 서의 사용자의 직장 폐쇄 또는 근로자의 파업 금지를 관보에 고시할 수 있는 권한을 갖도록 한다. 첫번째 단락에 따른 장관의 고 시가 있기 전에 직장 폐쇄 또는 파업이 있는 경우, 장관은 관보 에 장관이 정하는 기한 내에 직 장을 폐쇄한 사용자에게 근로자 를 직장으로 복귀시키도록 명령 하거나, 파업 중인 근로자에게 일상 업무에 복귀하도록 명령하 는 고시를 게재할 권한이 있다. 첫번째 단락에 따른 장관의 고 시는 언제라도 관보에 게재하여 취소할 수도 있다.

제4장 근로관계위원회

제37조

1인의 위원장 및 8인 이상, 12 인 이하의 기타 위원으로 구성 되는 “근로관계위원회”라는 명 칭의 위원회 하나를 두도록 한 다. 해당 인원에는 최소한 사용 자측 위원 3인 및 근로자측 위 원 3인이 포함되어야 한다. 장관이 위원장 및 위원을 임명 하도록 한다.

제38조

제37조에 따른 위원장 및 위원 은 1회당 3년간 재임하도록 한 다. 임기 초 만1년이 된 때에는 제비뽑기 방법을 통하여 위원장 및 위원의 1/3이 퇴임하도록 하 며, 만2년이 된 때에는 제비뽑 기 방법을 통하여 남은 위원장 및 위원의 1/3이 퇴임하도록 한 다. 임기나 제비뽑기 방법에 의하여 퇴임하는 위원장 또는 위원을 대신하는 위원장 또는 위원 임 명이 있는 경우, 새로 임명된 사람은 회당 3년간 재임하도록 한다. 제39조제(1)항이나 제(2)항, 제 (3)항, 제(5)항 또는 제(7)항에 따라 퇴임하는 위원장 또는 위 원을 대신하는 위원장 또는 위 원 임명이 있는 경우, 대신 임 명된 사람은 본인이 대신하는 위원장 또는 위원의 잔여 임기 동안 재임하도록 한다. 퇴임한 위원장 또는 위원은 재 임명이 가능할 수 있다.

제37조

위원장 또는 위원은 제38조에 따른 임기에 따른 퇴임 외에 다 음 각 항의 어느 하나에 해당하 는 때에 퇴임한다. (1) 사망한 때 (2) 사임한 때 (3) 장관이 해임한 때 (4) 제38조 첫번째 단락에 따라 제비뽑기 방법에 의하여 퇴임하 는 때 (5) 파산자가 된 때 (6) 금치산자 또는 한정치산자 가 된 때 (7) 금고형에 처하도록 하는 최 종 판결에 의하여 금고형에 처 해진 때

제40조

근로관계위원회의 회의는 최소 한 5인의 위원이 필요하며, 사 용자측 및 근로자측 위원이 각 각 1인 이상 참석하여야 정족수 가 된다. 다만, 만약 제23조나 제24조 또는 제35조제(4)항에 따른 노동 쟁의 검토, 결정을 위한 회의라면 전체 위원수의 과반이 필요하며, 사용자측 및 근로자측 위원이 각각 1인 이상 참석하여야 정족수가 된다. 만약 특정 회차의 회의에서 위 원장이 회의에 부재하거나 직무 를 수행할 수 없다면 회의에 참 석한 위원이 직접 1인의 위원을 의장으로 선정하도록 한다. 의결은 다수결을 따르도록 한 다. 위원 1인은 1개의 표결권을 행사한다. 만약 동률이라면 의 장이 추가로 1표를 결정투표로 행사하도록 한다.

제41조

근로관계위원회는 다음 각 항의 권한 및 직무를 담당하도록 한 다. (1) 제23조에 따른 노동 쟁 의 결정 (2) 제24조 또는 제35조제 (4)항에 따른 노동 쟁의 결 정 (3) 임명 또는 위임된 바에 따른 노동 쟁의 결정 (4) 제125조에 따른 요구 사 항 결정 및 근로관계위원회 가 불공정한 행위라고 결정 하는 경우, 합당하다고 판단 하는 바에 따라 사용자에게 근로자를 직장에 복귀하도록 하거나, 피해액을 지급하도록 하거나, 위반자에게 어떠한 한가지를 실행하거나 실행하 지 아니하도록 명령하는 권 한을 갖도록 한다. (5) 장관이 위임한 바에 따 라 요구와 협상, 노동 쟁의 중지, 파업 및 직장 폐쇄 관 련 의견을 제출한다. (6) 회의 규칙 제정과 검토, 결정 및 노동 쟁의 결정, 불 공정한 행위 결정 검토를 규 정하고 근로관계위원회의 명 령을 정한다.

제42조

근로관계위원회는 정규 또는 임 시로 근로관계위원회가 위임하 는 사안에 대한 진상을 규명하 거나 의견을 제출하기 위한 근 로관계소위원회 임명권이 있다.

제43조

직무 수행을 하는 경우, 근로관 계위원 또는 근로관계소위원은 다음 각 항의 권한을 갖도록 한 다. (1) 필요한 바에 따라 사실 관 계 심문 또는 서류 조사를 위 하여 근로 시간 동안 사용자의 사업장이나 근로자가 근무하는 장소 또는 사용자협회나 사용 자연합 또는 노동조합 사무실 에 진입한다. (2) 근로관계위원회 또는 근로 관계소위원회의 검토를 위하여 질의서를 송부하거나 사람을 소환하거나 관련 물품 또는 서 류를 송부하도록 한다. 관련인은 첫번째 단락에 따른 직무 수행에 대하여 근로관계위 원 또는 근로관계소위원에게 편 의 제공이나, 사실 관계 질의서 답변 또는 관련 물품이나 서류 를 송부하도록 한다.

제44조

근로관계위원 또는 근로관계소 위원은 전문가 또는 권위자가 관련 사안에 대한 의견을 제시 하도록 초청장을 송부할 수도 있다.

제5장 근로자위원회

제45조

50인 이상의 근로자가 있는 사 업장에서는 근로자가 해당 사업 장의 근로자위원회를 조직할 수 있다. 해당 사업장에 노동 조합의 조 합원인 근로자의 인원수가 전체 근로자 인원수의 1/5을 초과하 는 경우, 근로자위원회는 노동 조합 조합원이 아닌 다른 위원 보다 1인이 많은 인원을 노동조 합이 임명하는 해당 사업장의 근로자로 구성하도록 한다. 만 약 해당 사업장에 노동 조합의 조합원인 근로자의 인원수가 전 체 근로자 인원수의 과반을 초 과한다면, 노동조합은 근로자위 원 전원을 임명할 수도 있다. 제15조 세번째 단락 및 네번째 단락을 두번째 단락에 따른 근 로자위원의 임명에 준용하도록 한다.

제46조

근로자위원회의 인원수는 다음 각 항과 같다. (1) 50인 이상, 100인 이하의 근로자가 있는 사업장에서는 5인 (2) 100인 초과, 200인 이하의 근로자가 있는 사업장에서는 7인 (3) 200인 초과, 400인 이하의 근로자가 있는 사업장에서는 9인 (4) 400인 초과, 800인 이하의 근로자가 있는 사업장에서는 11인 (5) 800인 초과, 1,000인 이하 의 근로자가 있는 사업장에서 는 13인 (6) 1,000인 초과, 2,000인 이 하의 근로자가 있는 사업장에 서는 15인 (7) 2,000인을 초과하는 근로 자가 있는 사업장에서는 17인 부터 20인까지 근로자위원 선출의 원칙 및 절 차는 국장이 관보에 고시하는 바를 따르도록 한다.

제47조

근로자위원은 새로 선출 또는 임명된 날부터 회당 3년간 재임 한다.

제48조

근로자위원은 임기에 따른 퇴임 외에 다음 각 항의 어느 하나에 해당하는 때에 퇴임한다. (1) 사망한 때 (2) 사임한 때 (3) 금치산자 또는 한정치산자 가 된 때 (4) 금고형에 처하도록 하는 최종 판결에 의하여 금고형에 처하여 진 때 (5) 사업장의 전체 근로자 수 의 과반의 근로자가 해임을 의 결한 때 (6) 노동재판소가 해임하도록 명령한 때 (7) 근로자위원 전원을 새로 선출하거나 임명한 때 근로자위원이 임기 전에 퇴임한 때에는 경우에 따라 공석을 대 신할 근로자위원을 선출 또는 임명하도록 한다. 두번째 단락에 따라 선출 또는 임명되는 근로자위원은 본인이 대신할 위원의 임기 동안 재임 한다.

제49조

다음 각 항의 어느 하나에 해당 하는 때에 새로운 근로자 위원 전원을 선출 또는 임명하도록 한다. (1) 해당 사업장의 근로자 수 가 기존 전체 근로자 수의 절 반 이상 증가하거나 감소한 때 (2) 근로자위원의 과반이 퇴임 한 때 (3) 해당 사업장 근로자의 과 반의 근로자가 근로자위원 전 원을 해임하도록 의결한 때 (4) 노동재판소가 근로자위원 전원을 해임하도록 명령한 때

제50조

사용자는 최소한 3개월마다 1회 또는 전체 근로자위원 과반수의 근로자위원이나 노동조합이 다 음 각 항의 어느 하나를 위하여 정당한 이유로 요구하는 때에 협의회를 마련하여야 한다. (1) 근로자에 대한 복지 조치 (2) 사용자 및 근로자에게 이 익이 되는 근로 규칙 규정을 위한 협의 (3) 근로자의 진정 검토 (4) 사업장에서의 화합 또는 분쟁 중지를 위한 모색 근로자위원회가 사용자의 행위 가 근로자에게 공정하지 아니하 거나 과도한 곤경에 처하도록 한다고 판단하는 때에는 근로자 위원회나 근로자 또는 노동조합 이 노동재판소의 심리를 요청할 권한이 있다.

제51조

어떠한 근로자위원 또는 근로자 위원회가 본인의 직무를 성실하 게 수행하지 아니하거나, 국민 의 안녕질서에 위험이 되는 부 적절한 행위를 하거나, 정당한 이유 없이 사업 운영과 관련한 사용자의 비밀을 공개하는 경 우, 사용자는 노동재판소에 해 당 근로자위원 또는 근로자위원 전원에 대한 해임 명령을 요청 할 권한이 있다.

제52조

노동재판소의 승인을 받은 것을 제외하고, 사용자가 해고나 임 금 삭감, 처벌, 근로자위원의 직 무 수행 방해 또는 근로자위원 의 지속전인 근로를 불가능하도 록 하는 결과가 되는 어떠한 행 위를 하는 것을 금지한다.

제53조

사용자가 근로자위원에게 임금 이나 시간 외 수당, 휴일 근로 수당, 상여금, 배당금 또는 근로 자위원이 근로자의 자격으로 통 상적으로 수령할 권리가 있는 기타 혜택을 제외하고 금전 또 는 재산을 지급하거나 지급 합 의를 하는 것을 금지한다.

제6장 사용자협회

제54조

사용자협회는 이 법률의 내용에 따른 권한에 의거하여서만 설립 할 수 있다. 사용자협회는 고용 상태 관련 이익 추구 및 보호와 사용자와 근로자 간 및 사용자 간의 우호 관계를 증진하기 위한 취지가 있어야 한다.

제55조

사용자협회는 정관이 있어야 하 며, 등록담당관에게 등록하여야 한다. 등록을 완료한 때에 사용 자 협회는 법인이 되도록 한다.

제56조

사용자협회를 설립할 수 있는 권리가 있는 사람은 동종 사업 을 운영하는 사용자 및 성인이 어야 하며, 태국 국적자이어야 한다.

제57조

해당 사용자협회 등록 신청은 사용자협회 설립 권리가 있는 사용자 3인 이상이 발기인이 되 도록 하며, 사용자협회 정관 최 소 3부와 함께 서면으로 등록담 당관에게 신청서를 제출하도록 한다. 해당 신청서는 발기인 전원의 성명과 연령, 직업 또는 전문 직업 및 주소를 기재하여야 한 다.

제58조

사용자협회의 정관은 최소한 다 음 각 항의 내용을 갖추어야 한 다. (1) “사용자협회”라는 단어를 해당 명칭에 붙여 두어야 하는 명칭 (2) 취지 (3) 사무실 소재지 (4) 회원 가입 및 회원 자격 상실 절차 (5) 가입비와 찬조금 및 해당 금전의 납부 방법 (6) 회원의 권리 및 의무 관련 규정 (7) 금전 및 기타 자산 관리와 지출, 보관과 아울러 회계 및 회계 감사 관련 규정 (8) 직장 폐쇄에 대한 검토 절 차 및 고용 상태와 관련한 합 의 승인 절차 관련 규정 (9) 총회 관련 규정 (10) 위원 수와 위원 선출, 위 원 임기, 위원의 퇴임 및 위원 회의 회의 관련 규정

제59조

등록담당관이 정관 초안과 함께 신청서 접수를 완료하였고, 신 청자가 제56조에 부합하는 자격 과 제58조에 따른 정관을 갖추 었으며, 제54조 두번째 단락에 부합하는 취지를 갖추었고, 국 민의 안녕질서에 위배되지 아니 한다고 판단하는 때에는 등록담 당관은 등록을 접수하고 그러한 사용자협회에 등록증명서를 발 급하도록 한다. 만약 등록담당관이 신청서 또는 정관 초안이 첫번째 단락에 부 합하지 아니한다고 판단한다면, 정정 명령을 하도록 한다. 올바 르게 수정을 완료한 때에는 등 록을 접수하고 그러한 사용자협 회에 등록증명서를 발급하도록 한다. 만약 등록담당관이 국민의 안녕 질서에 위배되는 취지로 인하여 등록 접수가 불가하다고 판단한 다면, 등록담당관은 등록 거부 명령을 하도록 하고, 지체없이 등록 신청자에게 등록을 거부한 이유와 함께 등록 거부 명령을 통보하도록 한다. 등록 신청자는 그러한 등록 거 부 명령에 대하여, 명령을 통보 받은 날부터 30일 이내에 등록 담당관에게 서면으로 제출하여 장관에게 이의를 제기할 수 있 는 권리가 있다. 장관은 이의서를 접수한 날부터 30일 이내에 이의에 대한 판단 을 완료하고 이의 제기자에게 알리도록 한다. 이의 제기자가 장관의 판단에 불복하는 경우, 이의 제기자는 노동재판소가 심리하도록 하기 위한 후속 조치를 할 권리가 있 다.

제60조

등록담당관은 사용자협회 등록 공고를 관보에 게재하도록 한 다.

제61조

사용자협회 발기인은 등록일부 터 120일 이내에 위원단 선출 과 모든 업무를 위원단에 위임 하기 위한 제1차 정기 총회를 개최하고, 제59조에 따라 등록 담당관에게 제출한 정관 초안을 승인하도록 한다. 정기 총회에서 위원단 선출 및 정관 초안 승인을 완료한 때에 는 총회에서 의결한 날부터 14 일 이내에 정관 사본 및 위원의 명단과 주소, 직업 또는 전문 직업을 등록하도록 한다.

제62조

사용자협회의 정관 수정은 총회 의 의결을 통해서만 이행할 수 있으며, 총회에서 의결한 날부 터 14일 이내에 등록하여야 한 다. 첫번째 단락에 따른 정관 수정 은 등록담당관이 등록 접수를 완료한 때에 발효한다. 제59조를 정관 수정 신청에 준 용하도록 한다.

제63조

사용자협회의 회원이 될 수 있 는 사람은 동종 사업을 운영하 는 사용자이어야 한다. 사용자 가 법인인 경우, 그 법인은 사 용자협회의 회원으로 보도록 한 다.

제64조

사용자협회의 회원은 사용자협 회의 사업 운영에 대하여 알기 위하여 위원단이 정하는 바에 따른 업무 시간 중에 회원등록 부나 서류 또는 장부 조사를 요 구할 권한이 있다. 첫번째 단락에 따른 조사에서 사용자협회의 담당자는 합당한 바에 따른 편의를 제공하여야 한다.

제65조

사용자협회의 회원 자격은 사망 이나 사임, 총회에서 해임하는 때 또는 사용자협회의 정관에서 정하는 바에 따라 종료된다.

제66조

사용자협회는 사용자협회 회원 의 이익을 위하여 다음 각 항의 권한과 직무를 담당하도록 한다 (1) 회원의 업무와 관련한 요 구, 합의 체결 협상 및 판정 고지 또는 노동조합이나 근로 자와의 사용자협회의 합의 체 결 (2) 사용자협회의 취지 하에서 회원이 이익을 취하도록 하기 위한 처리 및 조치 (3) 사업 운영과 관련하여 회 원이 연락을 취할 수 있도록 하기 위한 정보서비스 마련 (4) 업무 관리 및 근로 관련 문제 해결 또는 분쟁 극복을 위한 자문 제공 서비스 마련 (5) 주주총회에서 합당하다고 판단하는 바에 따라 회원의 복 지 또는 공익을 위한 금전 또 는 자산 배분 관련 서비스 마 련 (6) 사용자협회의 정관에서 규 정한 요율에 따른 입회비 및 찬조금 청구

제67조

사용자협회가, 정치 관련 사업 이 아닌, 회원의 이익을 위하여 다음 각 항의 어느 하나에 해당 하는 집행을 한 때에는 사용자 와 사용자협회, 위원, 소위원 및 사용자협회의 담당자는 민형사 상 혐의를 받거나 제소되지 아 니하도록 면제된다. (1) 확보하여야 할 회원의 권 리 또는 이익을 요구하기 위하 여 근로자나 노동조합, 사용 자, 다른 사용자협회, 노동연 맹 또는 사용자연합과의 합의 체결 협상에 참여 (2) 직장 폐쇄 지시 또는 회원 이 직장을 폐쇄하도록 지원 또 는 지지하거나 권유 (3) 노동 쟁의 관련 사실 관계 에 대한 진술 또는 공표 (4) 사용자협회의 회원 회합 마련 이와 관련하여 국민에 대한 위 험 야기 관련, 생명 및 신체 관 련, 자유 및 명예 관련, 재산 관 련 범죄 형태의 형사범 및 이러 한 형태의 형사범 행위와 연관 된 민사범인 것은 제외한다.

제68조

사용자협회는 제삼자와 관련한 업무의 집행자 겸 사용자의 대 표로 위원단을 두도록 한다. 이 를 위하여 위원단은 위원 한 사 람 또는 여러 사람에게 대행을 위임할 수도 있다. 위원단은 위임한 바에 따른 집 행을 위하여 소위원회를 임명할 수도 있다.

제69조

제68조에 따라 위원 또는 소위 원으로 선출 또는 임명되는 사 람은 다음 각 항의 자격을 갖추 어야 한다. (1) 사용자협회의 회원 또는 사용자협회의 회원인 법인의 대표 (2) 선천적 태국 국적자

제70조

사용자협회는 총회에서의 의결 을 통해서만 다음 각 항에 해당 하는 행위가 가능하다. (1) 정관 수정 (2) 공통적으로 회원의 이해득 실에 영향을 미칠 수 있는 업 무 수행 (3) 위원 선출, 회계감사인 선 임, 결산과 연간 보고 및 예산 승인 (4) 회원의 복지 또는 공익을 위한 금전 또는 자산 할당 (5) 사용자협회 해산 (6) 사용자협회 합병 (7) 사용자연합 설립 또는 사 용자연합의 회원으로 가입

제71조

사용자협회는 국장이 정하는 양 식에 따라 회원 등록을 갖추어 야 하며, 업무 시간 동안 조사 할 수 있도록 사무실에 보관해 두도록 한다. 사용자협회는 사무실에 업무 일 시를 게시하도록 한다.

제72조

등록담당관 또는 등록담당관이 위임한 사람은 다음 각 항의 권 한을 갖도록 한다. (1) 사용자협회의 업무를 조사 하기 위하여 업무 시간에 사용 자협회의 사무실에 진입 (2) 문제가 발생한 경우에는 검토를 위하여 사용자협회의 위원이나 직원 또는 근로자에 게 사용자협회의 문서 또는 장 부를 송부하거나 제출하도록 지시 (3) 사용자협회의 사업 운영과 관련하여 제(2)항의 사람을 심 문하거나, 심문 또는 사실 관 계를 진술하도록 하기 위하여 해당자 소환

제73조

다음 각 항의 어느 하나에 해당 하는 행위가 드러난 때에는 등 록담당관은 사용자협회의 특정 위원 한 사람 또는 위원단을 해 임하도록 명령할 권한이 있다. (1) 노동쟁의조정관이나 노동 쟁의중재자 또는 근로관계위원 회의 직무 수행에 대한 방해가 되는 위법 행위 (2) 법률이나 국민의 안녕질서 에 위배되거나 국가의 경제 또 는 안보에 위협이 되는, 사용 자협회의 취지에 부합하지 아 니하는 업무 수행 (3) 위원이 아닌 어떠한 사람 에게 사용자협회의 업무를 수 행하도록 하거나, 수행하도록 승인 첫번째 단락에 따른 명령은 서 면으로 작성하고, 지체없이 관 련인 및 사용자협회에 통보하도 록 한다.

제74조

제73조에 따른 명령을 받은 사 람은 명령을 받은 날부터 15일 이내에 서면으로 작성하고 등록 담당관에게 제출하여 장관에게 해당 명령에 대한 이의를 제기 할 권리가 있다. 장관은 이의를 접수한 날부터 30일 이내에 이의에 대하여 결 정하고 이의 제기자에게 통보하 도록 한다. 이의 제기자가 장관의 결정에 불복하는 경우, 이의 제기자는 노동재판소가 판결하도록 하기 위한 후속 조치를 진행할 수 있 는 권리가 있다.

제75조

사용자협회는 매년 회계감사를 실시하도록 하며, 회계감사인의 회계감사보고와 함께 결산을 총 회에 제출하여야 한다. 총회에서 결산 및 회계감사보고 에 대한 승인을 완료한 때에는, 총회에서 승인한 날부터 30일 이내에 사본 1부를 등록담당관 에게 송부하도록 한다.

제76조

동종 사업을 운영하는 회원이 있는 두 개 이상의 사용자협회 는 하나의 사용자협회로 합병할 수도 있다. 첫번째 단락에 따른 사용자협회 합병은 각 사용자협회의 주주총 회에서 전체 회원 수의 과반 득 표로 의결되어야 하며, 등록담 당관의 승인을 받아야 한다. 등록담당관에게 승인을 신청하 는 경우, 합병을 의결한 사용자 협회의 총회 의사록 사본을 송 부하도록 한다.

제77조

등록담당관이 제76조 첫번째 단 락에 따라 승인한 때에는, 사용 자협회를 합병하고자 하는 것을 알리기 위하여, 사용자협회가 사용자협회의 채권자 전원에게 서면으로 통보하도록 하며, 그 러한 사용자협회 합병에 대하여 이의가 있는 채권자는 통보일부 터 30일 이내에 사용자협회에 이의서를 송부하도록 한다. 만약 해당 기한 내에 이의를 제 기하는 채권자가 없다면 이의가 없는 것으로 보도록 하며, 사용 자협회는 합병이 가능하다. 만약 채권자가 이의를 제기한다 면, 사용자협회는 채무를 청산 하거나, 해당 부채를 위한 담보 를 제공할 때까지 합병할 수 없 다.

제78조

합병한 각 사용자협회의 위원단 은 제79조에 따른 등록을 진행 하기 위하여 각 협회 당 3인을 초과하지 아니하는 본인의 대리 인을 임명하도록 한다.

제79조

그러한 합병에 의하여 새로 설 립된 협회는 등록담당관에게 서 면으로 등록 신청서를 제출하여 기존 사용자협회의 업종에 따라 신규 사용자협회로 등록하여야 한다. 신규 사용자협회로 등록하는 신 청서에는 합병하는 사용자협회 의 대리인이 각 협회 당 2인 이 상 서명하여야 한다. 신규 사용자협회 등록신청서는 다음 각 항의 서류를 갖추어 함 께 제출하여야 한다. (1) 제77조 첫번째 단락에 따 라 모든 채권자에게 통보를 완 료하였으며, 기한 내에 이의를 제기한 채권자가 없거나, 이의 를 제기한 채권자가 있는 경우 에는 채무를 청산하였거나 그 채무에 대한 담보 제공을 완료 하였다는 것을 보증하는 해당 합병 사용자협회의 문건 (2) 등록을 신청하는 신규 사 용자협회의 정관 초안 2부 (3) 합병한 사용자협회의 총회 의사록 사본 1부 제(2)항 및 제(3)항에 따른 서류 는 신규 사용자협회의 초대 위 원으로 선출된 사람 2인이 보증 서명하여야 한다. 제54조부터 제75조까지를 준용 하도록 한다.

제80조

합병한 사용자협회가 신규 사용 자협회로 등록을 완료한 때에 는, 등록담당관은 등록부에서 합병된 사용자협회의 명칭을 삭 제하도록 한다.

제81조

신규 사용자협회는 합병한 기존 사용자협회의 모든 자산과 부 채, 권리, 의무 및 책임을 인수 한다. 합병한 기존 사용자협회의 회원 은 신규 사용자협회의 회원이 된다.

제82조

사용자협회는 다음 각 항의 어 느 하나에 해당하는 이유에 의 하여 해산된다. (1) 어떠한 경우에 해산하도록 규정하는 사용자협회의 정관이 있다면 그러한 경우에 해당하 는 때 (2) 총회에서 해산하도록 의결 하는 때 (3) 등록담당관이 해산 명령을 한 때 (4) 파산한 때

제83조

등록담당관은 다음 각 항의 어 느 하나에 해당하는 경우 사용 자협회 해산 명령권을 갖는다. (1) 사용자협회의 이행이 취지 에 위배되거나, 법률을 위반하 거나, 국가의 경제 또는 안정 에 위험이 되거나, 국민의 안 녕질서 또는 미풍양속에 위배 되는 때 (2) 등록담당관이 전체 위원 선거를 명령하였으며, 등록담 당관이 정하는 기한 내 또는 등록담당관이 해당 기간을 연 장한 기한 내에 선거를 실시하 지 아니한 때 (3) 사용자협회가 2년을 초과 하여 연속으로 사업을 운용하 지 아니한 때 등록담당관이 어떠한 사용자협 회에 대한 해산 명령을 한 때에 는 지체없이 해당 사용자협회에 서면으로 명령을 통보하도록 한 다. 이 조에 따른 사용자협회 해산 명령은 해산 명령일에 재임하고 있는 전체 위원 수의 과반의 위 원이 연서하여, 명령 통보일부 터 30일 이내에 서면으로 작성 하여 등록담당관에게 제출하여 장관에게 이의를 제기할 권리가 있다. 장관은 이의 접수일부터 30일 이내에 이의에 대하여 결정하고 이의 제기자에게 통보하도록 한 다. 이의 제기자가 장관의 결정에 불복하는 경우, 이의 제기자는 노동재판소가 판결을 하도록 하 기 위한 후속 조치를 진행할 권 리가 있다. 사용자협회 해산 명령은 경우에 따라 이의 제기 기간이 종료하 거나 노동재판소가 판결한 때에 관보에 게재하도록 한다.

제84조

제82조제(1)항이나 제(2)항, 제 (3)항 또는 제83조에 따라 사용 자협회가 해산한 때에는 청산인 을 선임하고 청산하도록 하며, 등록합자회사와 유한합자회사 및 유한회사에 관한 「민상법 전」의 규정을 사용자협회 청산 에 준용하도록 한다.

제85조

청산이 완료된 때에 만약 잔여 자산이 있다면 사용자협회 회원 에게는 배분할 수 없다. 해당 자산은 사용자협회의 관리 규정 에서 명시하거나 총회의 의결에 따른 법인에 인도하여야 한다. 만약 규정이나 총회에서 특정인 을 잔여 자산 인수인으로 법인 을 명시하지 아니하였다면, 근 로자의 복지를 위하여 청산인이 근로국에 위탁하도록 한다.

제7장 노동조합

제86조

노동조합은 이 법의 규정에 따 른 권한에 의거하여서만 설립이 가능하다. 노동조합은 고용 상태 관련 이 익 추구 및 보호와 사용자와 근 로자 간 및 근로자 간의 우호 관계를 도모하기 위한 취지가 있어야 한다

제87조

노동조합은 정관이 있어야 하 며, 등록담당관에게 등록하여야 한다. 등록을 완료한 때에 노동 조합은 법인이 되도록 한다.

제88조

노동조합을 설립할 수 있는 권 리가 있는 사람은 동종 사업을 운영하는 사용자의 근로자 또는 사용자가 몇 사람인지를 불문하 고 동종사업에서 근로하는 근로 자 및 성인이어야 하며, 태국 국적자이어야 한다.

제89조

해당 노동조합 등록 신청은 노 동조합 설립 권리가 있는 근로 자 10인 이상이 발기인이 되도 록 하며, 최소한 3부의 노동조 합 정관과 함께 서면으로 등록 담당관에게 신청서를 제출하도 록 한다. 해당 신청서는 발기인 전원의 성명과 연령, 직업 또는 전문 직업 및 주소를 기재하여야 한 다.

제90조

노동조합의 정관은 최소한 다음 각 항의 내용을 갖추어야 한다. (1) “노동조합”라는 단어를 해당 명칭에 붙여 두어야 하는 명칭 (2) 취지 (3) 사무실 소재지 (4) 조합원 가입 및 조합원 자 격 상실 절차 (5) 가입비와 찬조금 및 해당 금전의 납부 방법 (6) 조합원의 권리 및 의무 관 련 규정 (7) 금전 및 기타 자산 관리와 지출, 보관과 아울러 회계 및 회계 감사 관련 규정 (8) 파업에 대한 검토 절차 및 고용 상태와 관련한 합의 승인 절차 관련 규정 (9) 총회 관련 규정 (10) 위원 수와 위원 선출, 위 원 임기, 위원의 퇴임 및 위원 회 회의 관련 규정

제91조

등록담당관이 정관 초안과 함께 신청서 접수를 완료하였고, 신 청자가 제88조에 부합하는 자격 과 제90조에 따른 정관을 갖추 었으며, 제86조 두번째 단락에 부합하는 취지를 갖추었고, 국 민의 안녕질서에 위배되지 아니 한다고 판단하는 때에는 등록담 당관은 등록을 접수하고 그러한 노동조합에 등록증명서를 발급 하도록 한다. 만약 등록담당관이 신청서 또는 정관 초안이 첫번째 단락에 부 합하지 아니한다고 판단한다면, 정정 명령을 하도록 한다. 올바 르게 수정을 완료한 때에는 등 록을 접수하고 그러한 사용자협 회에 등록증명서를 발급하도록 한다. 만약 등록담당관이 국민의 안녕 질서에 위배되는 취지로 인하여 등록 접수가 불가하다고 판단한 다면, 등록담당관은 등록 거부 명령을 하도록 하고, 지체없이 등록 신청자에게 등록을 거부한 이유와 함께 등록 거부 명령을 통보하도록 한다. 등록 신청자는 그러한 등록 거 부 명령에 대하여, 명령을 통보 받은 날부터 30일 이내에 등록 담당관에게 서면으로 제출하여 장관에게 이의를 제기할 수 있 는 권리가 있다. 장관은 이의서를 접수한 날부터 30일 이내에 이의에 대한 판단 을 완료하고 이의 제기자에게 알리도록 한다. 이의 제기자가 장관의 판단에 불복하는 경우, 이의 제기자는 노동법원이 심리하도록 하기 위 한 후속 조치를 할 권리가 있 다.

제92조

등록담당관은 노동조합 등록 공 고를 관보에 게재하도록 한다.

제93조

노동조합 발기인은 등록일부터 120일 이내에 위원단 선출과 모든 업무를 위원단에 위임하기 위한 제1차 정기 총회를 개최하 고, 제91조에 따라 등록담당관 에게 제출한 정관 초안을 승인 하도록 한다. 정기 총회에서 위원단 선출 및 정관 초안 승인을 완료한 때에 는 총회에서 의결한 날부터 14 일 이내에 정관 사본 및 위원의 명단과 주소, 직업 또는 전문 직업을 등록하도록 한다.

제94조

노동조합의 정관 수정은 총회의 의결을 통해서만 이행할 수 있 으며, 총회에서 의결한 날부터 14일 이내에 등록하여야 한다. 첫번째 단락에 따른 정관 수정 은 등록담당관이 등록 접수를 완료한 때에 발효한다. 제91조를 정관 수정 신청에 준 용하도록 한다.

제95조

노동조합의 조합원이 될 수 있 는 사람은 노동조합 등록 신청 자와 동일한 사용자의 근로자 또는 등록 노동조합 등록 신청 자와 동종 사업에서 근로하는 근로자이어야 하며, 만15세 이 상이어야 한다. 국영기업 근로관계 관련 법률에 따른 직원 및 임원은 첫번째 단 락에 따른 노동조합의 조합원이 되지 아니하도록 금지한다. 고용이나 임금 삭감, 해고, 연금 지급 또는 처벌 권한이 있는 감 독자인 근로자는 다른 근로자가 설립하거나 조합원으로 있는 노 동조합의 조합원이 될 수 없으 며, 해당 감독자인 근로자가 설 립하거나 조합원으로 있는 노동 조합의 조합원이 될 수 없다.

제96조

노동조합의 조합원은 노동조합 의 운영에 대하여 알기 위하여 위원단이 정하는 바에 다른 업 무 시간 중에 회원등록부나 서 류 또는 장부 조사를 요구할 권 한이 있다. 첫번째 단락에 따른 조사에서 노동조합의 담당자는 합당한 바 에 따른 편의를 제공하여야 한 다.

제97조

노동조합의 조합원 자격은 사망 이나 사임, 총회에서 해임하는 때 또는 노동조합 정관에서 정 하는 바에 따라 종료된다.

제98조

노동조합은 노동조합 조합원의 이익을 위하여 다음 각 항의 권 한과 직무를 담당하도록 한다. (1) 조합원의 업무와 관련한 요구, 합의 체결 협상 및 판정 고지 또는 사용자나 사용자협 회의 합의 체결 (2) 노동조합의 취지 하에서 조합원이 이익을 취하도록 하 기 위한 처리 및 조치 (3) 구직과 관련하여 조합원이 연락을 취할 수 있도록 하기 위한 정보서비스 마련 (4) 업무 관리 및 근로 관련 문제 해결 또는 분쟁 극복을 위한 자문 제공 서비스 마련 (5) 주주총회에서 합당하다고 판단하는 바에 따라 조합원의 복지 또는 공익을 위한 금전 또는 자산 배분 관련 서비스 마련 (6) 노동조합의 정관에서 규정 한 요율에 따른 입회비 및 찬 조금 청구

제99조

노동조합이, 정치 관련 사업이 아닌, 조합원의 이익을 위하여 다음 각 항의 어느 하나에 해당 하는 집행을 한 때에는 근로자 와 노동조합, 위원, 소위원 및 노동조합의 담당자는 민형사상 혐의를 받거나 제소되지 아니하 도록 면제된다. (1) 확보하여야 할 조합원의 권리 또는 이익을 요구하기 위 하여 사용자나 사용자협회, 근 로자, 다른 노동조합, 노동연 맹 또는 사용자연합과의 합의 체결 협상에 참여 (2) 파업 지시 또는 조합원이 파업을 하도록 지원 또는 지지 하거나 권유 (3) 노동 쟁의 관련 사실 관계 에 대한 진술 또는 공표 (4) 회합 또는 파업에 평화롭 게 참여하도록 마련 이와 관련하여 국민에 대한 위 험 야기 관련, 생명 및 신체 관 련, 자유 및 명예 관련, 재산 관 련 범죄 형태의 형사범 및 이러 한 형태의 형사범 행위와 연관 된 민사범인 것은 제외한다.

제100조

노동조합은 제삼자와 관련한 업 무의 집행자 겸 사용자의 대표 로 위원단을 두도록 한다. 이를 위하여 위원단은 위원 한 사람 또는 여러 사람에게 대행을 위 임할 수도 있다. 위원단은 위임한 바에 따른 집 행을 위하여 소위원회를 임명할 수도 있다.

제101조

제100조에 따라 위원 또는 소 위원으로 선출 또는 임명되는 사람은 다음 각 항의 자격을 갖 추어야 한다. (1) 해당 노동조합의 조합원 (2) 선천적 태국 국적자 (3) 만20세 이상

제102조

노동조합 위원인 근로자는 노동 쟁의 교섭과 중재 및 결정에 대 하여 근로자 대표 신분으로 노 동조합 사업을 수행하기 위한 휴가권 및 당국이 정하는 바에 따라 회의에 참석하기 위한 휴 가권을 갖는다. 이와 관련하여 해당 근로자는, 만약 있다면, 관 련 근거 제시와 함께 휴가 사유 를 사전에 사용자에게 명확하게 알려야 하며, 그러한 근로자의 휴가일은 근무일로 보도록 한 다.

제103조

노동조합은 총회에서의 의결을 통해서만 다음 각 항에 해당하 는 행위가 가능하다. (1) 정관 수정 (2) 조합원의 이해득실에 공통 적으로 영향을 미칠 수 있는 업무 수행 (3) 위원 선출, 회계감사인 선 임, 결산과 연간 보고 및 예산 승인 (4) 조합원의 복지 또는 공익 을 위한 금전 또는 자산 할당 (5) 노동조합 해산 (6) 노동조합 합병 (7) 노동연합 설립 또는 노동 연합 회원으로의 가입 (8) 비밀투표로 실시한 투표에 서 노동조합 전체 조합원 과반 득표를 획득한 때에 한하여 제 22조 세번째 단락에 따른 합 의 불가능한 노동 쟁의가 있는 때에 대한 파업

제104조

노동조합은 국장이 정하는 양식 에 따라 회원 등록을 갖추어야 하며, 업무 시간 동안 조사할 수 있도록 사무실에 보관해 두 도록 한다. 노동조합은 사무실에 업무 일시 를 게재하도록 한다.

제105조

등록담당관 또는 등록담당관이 위임한 사람은 다음 각 항의 권 한을 갖도록 한다. (1) 노동조합의 업무 조사를 위하여 업무 시간에 노동조합 의 사무실에 진입 (2) 문제가 발생한 경우, 검토 를 위하여 노동조합 위원이나 직원 또는 근로자에게 노동조 합의 문서 또는 장부를 송부하 거나 제출하도록 지시 (3) 노동조합의 사업 운영과 관련하여 제(2)항의 사람을 심 문하거나, 심문 또는 사실 관 계를 진술하도록 하기 위하여 해당자 소환

제106조

다음 각 항의 어느 하나에 해당 하는 행위가 드러난 때에는 등 록담당관은 노동조합의 특정 위 원 한 사람 또는 위원단을 해임 하도록 명령할 권한이 있다. (1) 노동쟁의조정관이나 노동 쟁의중재자 또는 근로관계위원 회의 직무 수행에 대한 방해가 되는 위법 행위 (2) 법률이나 국민의 안녕질서 에 위배되거나 국가의 경제 또 는 안보에 위협이 되는, 사용 자협회의 취지에 부합하지 아 니하는 업무 수행 행위 (3) 위원이 아닌 특정인에게 노동조합의 업무를 수행하도록 하거나, 수행하도록 승인하는 행위 첫번째 단락에 따른 명령은 서 면으로 작성하고, 지체없이 관 련인 및 노동조합에 통보하도록 한다.

제107조

제106조에 따른 명령을 받은 사람은 명령을 받은 날부터 15 일 이내에 서면으로 작성하여 등록담당관에게 제출함으로써 장관에게 해당 명령에 대한 이 의를 제기할 권리가 있다. 장관은 이의를 접수한 날부터 30일 이내에 이의에 대하여 결 정하고 이의 제기자에게 통보하 도록 한다. 이의 제기자가 장관의 결정에 불복하는 경우, 이의 제기자는 노동법원이 판결하도록 하기 위 한 후속 조치를 진행할 수 있는 권리가 있다.

제108조

노동조합은 매년 회계감사를 실 시하도록 하며, 회계감사인의 회계감사보고와 함께 결산을 총 회에 제출하여야 한다. 총회에서 결산 및 회계감사보고 에 대한 승인을 완료한 때에는, 총회에서 승인한 날부터 30일 이내에 사본 1부를 등록담당관 에게 송부하도록 한다.

제109조

동종 사업에서 근로하는 근로자 인지의 여부에 관계없이, 같은 사용자의 근로자인 조합원이 있 는 두 개 이상의 노동조합은 하 나의 노동조합으로 합병할 수도 있다. 같은 사용자의 근로자인지 여부 에 관계없이, 동종 사업에서 근 로하는 근로자인 조합원이 있는 2개 이상의 노동조합은 하나의 노동조합으로 합병할 수 있다. 첫번째 단락 또는 두번째 단락 에 따른 노동조합 합병은 각 노 동조합의 주주총회에서 전체 조 합원 수의 과반 득표로 의결되 어야 하며, 등록담당관의 승인 을 받아야 한다. 등록담당관에게 승인을 신청하 는 경우, 합병을 의결한 노동조 합의 총회 의사록 사본을 송부 하도록 한다.

제110조

제77조와 제78조, 제79조, 제 80조 및 제81조를 노동조합 합 병에 준용하도록 한다.

제111조

제82조와 제83조, 제84조 및 제85조를 노동조합 해산에 준용 하도록 한다.

제8장 사용자연합과 노동연맹

제112조

동종 사업을 운영하는 회원이 있는 2개 이상의 사용자협회는 사용자협회 간의 우호 관계 증 진과 사용자협회 및 사용자의 이익 보호를 위하여 사용자연합 으로 설립 등기할 수 있다.

제113조

다음 각 항의 어느 하나에 해당 하는 2개 이상의 노동조합 및 각 노동조합은 노동조합 간의 우호 관계 증진과 노동조합 및 근로자의 이익 보호를 위하여 노동연맹으로 설립 등기할 수 있다. (1) 동종 사업에서 근로하는 근로자인지 여부와 관계없이, 같은 사용자의 근로자인 조합 원이 있는 노동조합 (2) 같은 사용자의 근로자인지 여부와 관계없이, 동종 사업에 서 근로하는 근로자인 조합원 이 있는 노동조합

제114조

제112조 또는 제113조에 따른 사용자연합이나 노동연맹 설립 또는 가입은 회원이나 각 사용 자협회 또는 각 노동조합 전체 회원 또는 조합원 수의 과반의 득표로 회원 또는 조합원으로부 터 승인을 받은 때에 이행할 수 있다. 첫번째 단락에 따른 투표는 사 용자협회 운영 관련 정관 또는 노동조합 운영 관련 정관에서 규정하는 바를 따르도록 한다.

제115조

등록을 완료한 사용자연합 및 노동연맹은 법인이 되도록 한 다.

제116조

사용자연합의 회원인 사용자 연 합 및 노동연맹의 회원인 노동 조합은 사용자연합 운영 관련 정관 또는 노동연맹 운영 관련 정관에서 규정하는 인원 수에 따라 대리인을 회의에 참여시키 고, 사용자연합 또는 노동연맹 의 업무를 수행시킬 권리가 있 다.

제117조

사용자연합위원회는 해당 사용 자연합의 회원인 사용자협회에 서 선출하도록 한다. 노동연맹위원회는 해당 노동연 맹의 회원인 노동조합에서 선출 하도록 한다.

제118조

제6장의 사용자협회 및 제7장의 노동조합 관련 규정을 사용자연 합 및 노동연맹에 준용하도록 한다.

제119조

5개 이상의 사용자협회 또는 사 용자연합은 교육 지원 및 근로 관계 지원을 위하여 사용자기구 회의를 설립할 수 있다. 사용자기구회의는 정관을 갖추 어야 하며, 등기담당관에게 등 록하여야 한다. 등록을 완료한 때에 사용자기구회의는 법인이 되도록 한다. 제6장의 사용자협회 및 제8장의 사용자연합 관련 규정을 사용자 기구회의에 준용하도록 한다.

제120조

15개 이상의 노동조합 또는 노 동연맹은 교육 지원 및 근로 관 계 지원을 위하여 근로자기구회 의를 설립할 수 있다. 근로자기구회의는 정관을 갖추 어야 하며, 등기담당관에게 등 록하여야 한다. 등록을 완료한 때에 근로자기구회의는 법인이 되도록 한다. 제7장의 노동조합 및 제8장의 노동연맹 관련 규정을 근로자의 회에 준용하도록 한다.

제121조의부칙1

이 법의 규정에 대한 위반 행위 로 인하여 등기담당관이 퇴임하 도록 명령한 사용자협회와 사용 자연합 및 사용자기구회의 위원 은 등기담당관이 이임 명령을 한 날부터 1년이 경과한 때에는 다음 차례의 사용자협회와 사용 자연합 및 사용자기구회의 위원 으로 재임할 수 있다. 이 법의 규정에 대한 위반 행위 로 인하여 등기담당관이 퇴임하 도록 명령한 노동조합과 노동연 맹 및 근로자기구회의 위원은 등기담당관이 퇴임 명령을 한 날부터 1년이 경과한 때에는 차 회 노동조합과 노동연맹 및 근 로자기구회의 위원으로 재임할 수 있다.

제121조의부칙2

국영기업 근로관계 관련 법률에 따른 근로관계는 근로자기구회 의 회원으로 가입이 가능할 수 있다.

제9장 불공정 행위

제121조

사용자가 다음 각 항의 어느 하 나에 해당하는 행위를 하는 것 을 금지한다. (1) 근로자나 노동조합이 집회 를 하거나 청원서 작성, 요구 사항 제출, 협상 또는 소송 진 행을 하거나, 증인이 되거나, 근로보호 관련 법률에 따른 담 당관 또는 이 법에 따른 등록 담당관이나 노동쟁의조정관, 노동쟁의중재자 또는 근로관계 위원이나 법원에 증거를 제공 하였다는 이유 또는 근로자나 노동조합이 그러한 행위를 할 것이라는 이유로 해고하거나 근로자나 근로자 대표, 노동조 합 위원 또는 노동연맹 위원이 계속 근무할 수 없도록 하는 결과가 될 수 있는 행위 (2) 근로자가 노동조합의 조합 원이라는 이유로 해고 또는 근 로자가 계속 근무할 수 없도록 하는 결과가 될 수 있는 행위 (3) 근로자가 노동조합의 조합 원이 되는 것을 방해하거나, 근로자가 조합을 탈퇴하도록 하거나, 금전 또는 재산을 지 급하거나 지급하겠다고 합의하 여 근로자가 조합원으로 가입 하거나, 노동조합의 직원이 근 로자를 조합원으로 모집하지 아니하도록 하거나, 노동조합 에서 탈퇴하도록 하는 행위 (4) 노동조합 또는 노동연맹의 운영을 방해하거나, 노동조합 의 조합원이 되는 근로자의 권 리 행사를 방해하는 행위 (5) 권한없이 불법적으로 노동 조합 또는 노동연맹의 운영에 간섭하는 행위

제122조

어떠한 사람이 다음 각 항의 어 느 하나에 해당하는 행위를 하 는 것을 금지한다. (1) 근로자가 노동조합 조합원 이 되거나, 노동조합에서 탈퇴 하도록 직간접적으로 강제 또 는 위협하는 행위 (2) 사용자가 제121조를 위반 하도록 하는 결과가 될 수 있 는 행위

제123조

고용 상태 관련 합의 또는 결정 이 적용되고 있는 중에는 사용 자가 근로자나 근로자 대표, 위 원, 소위원 또는 요구 사항과 관련된 노동조합 조합원 또는 노동연맹 위원이나 소위원을 해 고하는 것을 금지한다. 다만, 다 음 각 항의 어느 하나에 해당하 는 사람은 제외한다. (1) 사용자에 대하여 고의로 직무 부정 행위를 하거나 형사 범을 저지른 사람 (2) 사용자에게 고의로 피해를 입힌 사람 (3) 규칙이나 규정 또는 사용 자의 합법적인 명령을 위반한 사람에 대해서는 사용자가 서 면으로 견책 및 경고를 한다. 다만 심각한 경우에는 사용자 가 견책 및 경고를 할 필요가 없다. 이와 관련하여, 그러한 규칙이나 규정 또는 명령이 해 당자의 요구 사항과 관련 이행 을 방해하기 위한 것이 아니어 야 한다. (4) 정당한 이유 없이 3일의 근무일 동안 연속으로 직무를 유기한 사람 (5) 고용 상태 관련 합의 또는 결정에 대한 위반이 있도록 하 는 선동이나 지지 또는 종용이 되는 행위를 한 사람

제124조

제121조나 제122조 또는 제 123조에 대한 위반이 있는 경 우, 위반으로 인한 피해자는 위 반이 있는 날부터 60일 이내에 근로관계위원회에 위반자에 대 한 불만 사항 청원서를 제출할 수 있다.

제125조

제124조에 따른 불만 사항 청 원서를 접수한 때에는 해당 청 원서를 접수한 날부터 90일 이 내에 근로관계위원회가 검토하 여 결정하고, 명령하도록 한다. 장관은 합당하다고 판단하는 바 에 따라 근로관계위원회의 검 토, 결정 기간을 연장할 권한이 있다.

제126조

불만 사항 청원의 대상자가 근 로관계위원회가 정하는 기한 내 에 제125조에 따른 근로관계위 원회의 명령에 따라 이행한 경 우, 해당자에 대한 형사 소송은 중지하도록 한다.

제127조

제121조나 제122조 또는 제 123조에 대한 위반은 위반으로 인한 피해자가 제124조에 따라 위반자에 대한 불만 사항 청원 서를 제출하였으며, 불만 사항 청원의 대상자가 제125조에 따 른 근로관계위원회의 명령을 이 행하지 아니한 때에는 형사 소 송을 진행할 수 있다.

제10장 처벌 규정

제128조

본인이 대표로 있는 사용자나 근로자, 사용자협회 또는 노동 조합이 요구나 협상 또는 마땅 히 취하여야 할 이익을 손상시 키는 결정을 수용하도록 하는 원인이 되는 행위를 위하여 어 떠한 사람에게 금품이나 자산을 수수하거나 수수할 것을 승낙하 는 제13조 또는 제16조에 따른 사용자 대표 또는 근로자 대표 나 제15조에 따른 사용자협회 대표 또는 노동조합 대표는 1년 이하의 금고형 또는 2만바트 이 하의 벌금형에 처하거나, 금고 형과 벌금형을 병과한다.

제129조

본인이 고문인 사용자 또는 근 로자가 마땅히 취하여야 할 이 익을 손상시키는 원인이 되는 행위를 위하여 금품이나 자산을 수수하거나 수수할 것을 승낙하 는 제17조에 따른 사용자 고문 또는 근로자 고문은 1년 이하의 금고형 또는 2만바트 이하의 벌 금형에 처하거나, 금고형과 벌 금형을 병과한다.

제129조의 부칙

제17조 두번째 단락에 따라 등 록하지 아니하고 사용자 고문 또는 근로자 고문으로 활동하는 사람은 1년 이하의 금고형 또는 2만바트 이하의 벌금형에 처하 거나, 금고형과 벌금형을 병과 한다.

제130조

제18조나 제20조, 제18조와 연 계한 제22조 두번째 단락을 위 반하거나 준수하지 아니하는 사 용자는 1천바트 이하의 벌금형 에 처한다.

제131조

고용 상태 관련 합의 또는 노동 쟁의 결정이 구속력을 가지는 동안 제18조 두번째 단락이나 제22조 두번째 단락 또는 제29 조 네번째 단락에 따라 등록한 고용 상태 관련 합의 또는 노동 쟁의 결정을 위반하거나 준수하 지 아니하는 사용자 또는 근로 자는 1개월 이하의 금고형 또는 1천바트 이하의 벌금형에 처하 거나, 금고형과 벌금형을 병과 한다.

제132조

근로관계 위원회의 결정 또는 제23조에 다른 장관의 이의 결 정을 위반하거나 준수하지 아니 하는 사용자나 근로자, 사용자 협회, 노동조합, 사용자연합 또 는 노동연맹은 2년 이하의 금고 형 또는 4만바트 이하의 벌금형 에 처하거나, 금고형과 벌금형 을 병과한다.

제133조

제24조나 제25조 또는 제35조 제(4)항에 따른 노동 쟁의 결정 을 위반하거나 준수하지 아니하 는 사람은 1년 이하의 금고형 또는 2만바트 이하의 벌금형에 처하거나, 금고형과 벌금형을 병과한다.

제134조

어떠한 사람으로부터 사용자나 근로자, 사용자협회 또는 노동 조합이 마땅히 취하여야 하는 이익을 손상시키는 원인이 되는 노동 쟁의 결정을 하도록 유도 하기 위한 금품 또는 자산을 수 수하거나 수수할 것을 승낙하는 노동쟁의중재자는 1년 이하의 금고형 또는 2만바트 이하의 벌 금형에 처하거나, 금고형과 벌 금형을 병과한다.

제135조

제29조 세번째 단락 또는 네번 째 단락을 준수하지 아니하는 노동쟁의중재자는 1천바트 이하 의 벌금형에 처한다.

제136조

제31조 첫번째 단락을 위반하는 사용자는 6개월 이하의 금고형 또는 1만바트 이하의 벌금형에 처하거나, 금고형과 벌금형을 병과한다.

제137조

제31조를 위반하는 사람은 1개 월 이하의 금고형 또는 1천바트 이하의 벌금형에 처하거나, 금 고형과 벌금형을 병과한다.

제138조

제33조 첫번째 단락에 따른 장 관의 고시를 위반하는 사용자나 근로자, 사용자협회, 노동조합, 사용자연합 또는 노동연맹은 6 개월 이하의 금고형 또는 1만바 트 이하의 벌금형에 처하거나, 금고형과 벌금형을 병과한다.

제139조

제34조를 위반하는 사용자 또는 근로자는 6개월 이하의 금고형 또는 1만바트 이하의 벌금형에 처하거나, 금고형과 벌금형을 병과한다.

제140조

제35조제(1)항이나 제(2)항 또 는 제(3)항을 위반하거나 준수 하지 아니하는 사용자 또는 근 로자는 6개월 이하의 금고형 또 는 1만바트 이하의 벌금형에 처 하거나, 금고형과 벌금형을 병 과한다.

제141조

제36조 첫번째 단락 또는 두번 째 단락을 위반하거나 준수하지 아니하는 사용자 또는 근로자는 2년 이하의 금고형 또는 4만바 트 이하의 벌금형에 처하거나, 금고형과 벌금형을 병과한다.

제142조

근로관계위원 또는 제43조에 따 른 근로관계소위원이나 등록담 당관 또는 제72조나 제105조에 따라 등록담당관이 위임한 사람 에게 편의를 제공하지 아니하거 나, 방해하거나, 질의서에 답하 지 아니하거나, 사실 관계를 진 술하지 아니하거나, 관련 물품 또는 서류를 송부하지 아니하는 사람은 1개월 이하의 금고형 또 는 1천바트 이하의 벌금형에 처 하거나, 금고형과 벌금형을 병 과한다.

제143조

제50조나 제52조 또는 제53조 를 위반하거나 준수하지 아니하 는 사용자는 1개월 이하의 금고 형 또는 1천바트 이하의 벌금형 에 처하거나, 금고형과 벌금형 을 병과한다.

제144조

제61조에 따라 이행하지 아니하 는 사용자협회 발기인 또는 제 62조에 따라 이행하지 아니하는 사용자협회 위원은 미이행 기간 동안 하루에 50바트 이하의 벌 금형에 처한다.

제145조

제63조를 위반하여 회원을 가입 시키는 사용자협회는 1천바트 이하의 벌금형에 처한다.

제146조

제71조 또는 제75조를 위반하 거나 준수하지 아니하는 사용자 협회는 2천바트 이하의 벌금형 에 처한다. 사용자협회가 제71조 또는 제 75조를 위반하거나 준수하지 아 니하는 행위를 하도록 공모하는 사용자협회 위원은 1개월 이하 의 금고형 또는 1천바트 이하의 벌금형에 처하거나, 금고형과 벌금형을 병과한다.

제147조

제85조나 제85조와 연계한 제 111조, 제85조와 연계한 제118 조 또는 제111조에 따라 이행 하지 아니하는 청산인은 미이행 기간 동안 하루에 50바트 이하 의 벌금형에 처한다.

제148조

제93조에 따라 이행하지 아니하 는 노동조합 발기인 또는 제94 조를 이행하지 아니하는 노동조 합 위원은 이행하지 아니하는 기간 동안 하루에 50바트 이하 의 벌금형에 처한다.

제149조

제95조를 위반하여 회원을 가입 시키는 노동조합은 1천바트 이 하의 벌금형에 처한다.

제150조

제104조를 위반하거나 준수하 지 아니하는 노동조합은 2천바 트 이하의 벌금형에 처한다. 노동조합이 제104조 또는 제 108조를 위반하거나 준수하지 아니하는 행위를 하도록 공모하 는 노동조합 위원은 1개월 이하 의 금고형 또는 1천바트 이하의 벌금형에 처하거나, 금고형과 벌금형을 병과한다.

제151조

제61조와 연계한 제118조를 이 행하지 아니하는 사용자연합 설 립자 또는 제93조와 연계한 제 118조를 이행하지 아니하는 사 용자협회 설립자는 미이행 기간 동안 하루에 50바트 이하의 벌 금형에 처한다.

제152조

제62조와 연계한 제118조를 이 행하지 아니하는 사용자연합 위 원 또는 제94조와 연계한 제 118조를 이행하지 아니하는 사 용자연합 위원은 미이행 기간 동안 하루에 50바트 이하의 벌 금형에 처한다.

제153조

제71조와 연계한 제118조 또는 제75조를 위반하거나 준수하지 아니하는 사용자연합 또는 제 104조와 연계한 제118조 또는 제108조를 위반하거나 준수하 지 아니하는 사용자연합은 2천 바트 이하의 벌금형에 처한다. 사용자연합이 제71조와 연계한 제118조 또는 제75조를 위반하 거나 준수하지 아니하는 행위를 하도록 공모하는 사용자연합 위 원 또는 사용자연합이 제104조 와 연계한 제118조 또는 제108 조를 위반하거나 준수하지 아니 하는 행위를 하도록 공모하는 사용자연합 위원은 1개월 이하 의 금고형 또는 1천바트 이하의 벌금형에 처하거나, 금고형과 벌금형을 병과한다.

제154조

사용자협회나 노동조합, 사용자 연합 또는 노동연맹이 되지 아 니하였으면서 “사용자협회”나 “노동조합”, “사용자연합” 또는 “노동연맹”이라고 구성되는 태 국어 문자 또는 동일한 형식의 외국어 문자를 포함하는 명칭을 명판, 인장, 서한, 통지서 또는 사업 관련 기타 서류에서 조합 하여 사용하는 사람은 1천바트 이하의 벌금형에 처하며, 사용 을 중지할 때까지 하루에 50바 트를 초과하지 아니하는 가산금 을 초과로 부과한다.

제155조

미등기 사용자협회 또는 사용자 연합이라고 인지하고 있는 상태 로 해당 사용자협회 또는 사용 자연합의 회원이 된 사람은 1천 바트 이하의 벌금형에 처한다. 미등기 사용자협회 또는 사용자 연합 운영자인 사람은 1개월 이 하의 금고형 또는 1천바트 이하 의 벌금형에 처하거나, 금고형 과 벌금형을 병과한다.

제156조

사용자협회나 노동조합, 사용자 연합 또는 노동연맹이 이 법에 따라 해산한 때에 청산인의 조 치를 방해하는 사용자협회나 노 동조합, 사용자연합 또는 노동 연맹 위원 또는 소위원은 1개월 이하의 금고형 또는 1천바트 이 하의 벌금형에 처하거나, 금고 형과 벌금형을 병과한다.

제157조

이 법에 따라 해산을 완료한 사 용자협회나 노동조합, 사용자연 합 또는 노동연맹의 사업을 유 지하고 있는 사람은 1개월 이하 의 금고형 또는 1천바트 이하의 벌금형에 처하거나, 금고형과 벌금형을 병과한다.

제157조의 부칙

경우에 따라 제119조 또는 제 120조를 준수하지 아니하고 사 용자기구협의회나 근로자기구협 의회를 운영하거나 사업과 관련 한 서류에 “사용자기구협의회” 또는 “근로자기구협의회”라고 구성되는 태국어 문자를 포함하 는 명칭을 사용하는 사람은 6개 월 이하의 금고형 또는 1만바트 이하의 벌금형에 처하거나, 금 고형과 벌금형을 병과한다.

제158조

제121조 또는 제123조를 위반 하는 사용자는 6개월 이하의 금 고형 또는 1만바트 이하의 벌금 형에 처하거나, 금고형과 벌금 형을 병과한다.

제159조

제122조를 위반하는 사람은 6 개월 이하의 금고형 또는 1만바 트 이하의 벌금형에 처하거나, 금고형과 벌금형을 병과한다.

경과 규정

제160조

이 법의 시행일 전에 발생하였 거나, 아직 종국에 달하지 아니 한 모든 불만 사항 청원 또는 요청 사항, 노동 쟁의, 합의, 노 동쟁의중재자의 결정, 근로관계 위원회의 결정이나 명령 또는 사건은 해당 불만 사항 청원 또 는 요청, 노동 쟁의, 합의, 명령 또는 사건이 종국에 달하는 때 까지 1972년 3월 16일자 개혁 단 공고 제103호에 따라 제정 된 내무부의 고시를 따르도록 한다. 이 법에 따라 임명되는 노동쟁 의중재자 및 근로관계위원회는 1972년 3월 16일자 개혁단 공 고 제103호에 의거하여 제정된 내무부 고시에 따라 임명된 노 동쟁의중재자 및 근로관계위원 회와 마찬가지로 첫번째 단락에 따른 해당 사안 관련 명령권을 포함하는 검토 결정권을 갖도록 한다.

제161조

1972년 3월 16일자 개혁단 공 고 제103호에 의거하여 제정된 내무부 고시에 따라 설립된 사 용자협회 및 노동조합은 이 법 에 따른 사용자협회 및 노동조 합으로 보도록 한다.

제162조

1972년 3월 16일자 개혁단 공 고 제103호에 의거하여 제정된 내무부 고시에 따라 제출한 사 용자협회 또는 노동조합 설립 신청서는 이 법에 따른 신청서 로 보도록 한다.

제163조

노동재판소 설립 관련 법률이 존재하지 아니하는 동안에는 사 법재판소가 노동재판소와 같은 권한과 직무를 담당하도록 한 다. 부서 싼야 탐마싹 총리