「2017년 중점육성산업에 대한 국가 경쟁력 증진법」
국가·지역: 태국 제정일: 2017년 2월 12일
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นปีที่ ๒ ในรัชกาลปัจจุบัน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยการเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศส าหรับ อุตสาหกรรมเป้าหมาย จงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยค าแนะน าและยินยอม ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ 마하와치라롱껀 버딘트라텝파야 와랑꾼 폐하께서 현 왕조 2번째 해인 2017년(불기2060년) 2월 12일에 하사하셨다. 마하와치라롱껀 버딘트라텝파야 와랑꾼 폐하께서는 다음과 같이 공포하도록 하셨다. 중점육성산업에 대한 국가 경쟁력 증진 관련 법률을 마련하는 것이 마땅하다. 그러므로, 폐하께서 입법부의 조언과 동의를 통하여 다음과 같이 이 법을 제정하도록 하셨다.
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติการ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ส าหรับอุตสาหกรรมเป้าหมาย พ.ศ. ๒๕๖๐”
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวัน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ในพระราชบัญญัตินี้ “อุตสาหกรรมเป้าหมาย” หมายความว่า อุตสาหกรรมที่สอดคล้องกับศักยภาพของ ประเทศ สร้างประโยชน์อย่างสูงต่อเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของประเทศ และสามารถ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ได้อย่างยั่งยืน ซึ่งต้องเป็นอุตสาหกรรมประเภท ใหม่ที่ไม่เคยมีการผลิตหรือการให้บริการใน ประเทศมาก่อน หรือเป็นอุตสาหกรรมที่มีการใช้ เทคโนโลยีใหม่หรือใช้ความรู้ในการผลิตขั้นสูง เพื่อก่อให้เกิดการพัฒนาและส่งเสริม นวัตกรรม ทั้งนี้ ตามที่คณะกรรมการนโยบาย ประกาศก าหนด “ผู้ขอรับการส่งเสริม” หมายความว่า ผู้ประกอบ กิจการในอุตสาหกรรมเป้าหมายที่ขอรับการ ส่งเสริมตามพระราชบัญญัตินี้ “ผู้ได้รับการส่งเสริม” หมายความว่า ผู้ประกอบ กิจการในอุตสาหกรรมเป้าหมายที่ได้รับบัตร ส่งเสริมตามพระราชบัญญัตินี้ “กองทุน” หมายความว่า กองทุนเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศส าหรับ อุตสาหกรรมเป้าหมาย “คณะกรรมการนโยบาย” หมายความว่า คณะกรรมการนโยบายเพิ่มขีดความสามารถใน การแข่งขันของประเทศส าหรับอุตสาหกรรม เป้าหมาย “เลขาธิการ” หมายความว่า เลขาธิการ คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน “ส านักงาน” หมายความว่า ส านักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่ง นายกรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้
ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัติ นี้ และให้มีอ านาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อ ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
คณะกรรมการนโยบายเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ส าหรับอุตสาหกรรมเป้าหมาย
ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการนโยบายเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศส าหรับ อุตสาหกรรมเป้าหมาย” ประกอบด้วย นายกรัฐมนตรี เป็นประธานกรรมการ รอง นายกรัฐมนตรีซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย เป็น รองประธานกรรมการ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ผู้อ านวยการส านักงบประมาณ เลขาธิการ คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ และเลขาธิการส านักงาน คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ เป็นกรรมการ ให้เลขาธิการเป็นกรรมการและเลขานุการ และ ให้เลขาธิการแต่งตั้งข้าราชการในส านักงาน จ านวนสองคนเป็นผู้ช่วยเลขานุการ
คณะกรรมการนโยบายมีอ านาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) ก าหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ รวมทั้ง จัดท าแผนเกี่ยวกับการเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศส าหรับอุตสาหกรรม เป้าหมาย (๒) ประกาศก าหนดประเภทอุตสาหกรรม เป้าหมาย และลักษณะของกิจการใน อุตสาหกรรมเป้าหมาย (๓) ก าหนดกรอบแนวทางในการสรรหาและ เจรจากับผู้ประกอบกิจการเพื่อให้มีการลงทุน ในอุตสาหกรรมเป้าหมาย (๔) ประกาศก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขในการให้สิทธิและประโยชน์ตาม พระราชบัญญัตินี้ (๕) อนุมัติให้ผู้ขอรับการส่งเสริมได้รับสิทธิ และประโยชน์ตามพระราชบัญญัตินี้ รวมทั้ง ก าหนดเงื่อนไขให้ผู้ได้รับการส่งเสริมแต่ละราย ต้องปฏิบัติ (๖) อนุมัติการจ่ายเงินสนับสนุนจากกองทุน (๗) เพิกถอนการให้สิทธิและประโยชน์ตาม พระราชบัญญัตินี้ (๘) ออกระเบียบเกี่ยวกับการรับเงิน การ จ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงินของกองทุน (๙) ประเมินผลการด าเนินงานของกองทุน รวมทั้งประเมินความคุ้มค่าในการให้สิทธิและ ประโยชน์แก่ผู้ได้รับการส่งเสริมพร้อมทั้ง รายงานผลการประเมินดังกล่าวต่อ คณะรัฐมนตรี (๑๐) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายก าหนด ให้เป็นอ านาจหน้าที่ของคณะกรรมการ นโยบายหรือตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย
การประชุมคณะกรรมการนโยบายต้องมี กรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ จ านวนกรรมการทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม ในการประชุมคณะกรรมการนโยบาย ถ้า ประธานกรรมการไม่มาประชุม หรือไม่อาจ ปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้รองประธานกรรมการเป็น ประธานในที่ประชุม หากรองประธานกรรมการ ไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้ที่ ประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ ประชุม การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้าง มาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการ ลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานใน ที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ ขาด
ให้มีคณะอนุกรรมการสรรหาและเจรจาคณะ หนึ่ง ประกอบด้วยรองประธานกรรมการนโยบาย เป็นประธานอนุกรรมการ ผู้แทน กระทรวงการคลัง ผู้แทนกระทรวงดิจิทัลเพื่อ เศรษฐกิจและสังคม ผู้แทน กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้แทน กระทรวงอุตสาหกรรม และผู้แทนส านักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ เป็นอนุกรรมการ ให้เลขาธิการเป็นอนุกรรมการและเลขานุการ ผู้แทนส านักงานคณะกรรมการนโยบาย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ เป็นอนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ และให้ เลขาธิการแต่งตั้งข้าราชการในส านักงานจ านวน หนึ่งคนเป็นผู้ช่วยเลขานุการ
คณะอนุกรรมการสรรหาและเจรจามีอ านาจ หน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) ด าเนินการสรรหาและเจรจากับผู้ประกอบ กิจการเพื่อให้มีการลงทุนในอุตสาหกรรม เป้าหมายตามกรอบแนวทางในการสรรหา และเจรจาที่คณะกรรมการนโยบายก าหนด (๒) เสนอบันทึกสรุปผลการเจรจาต่อ คณะกรรมการนโยบาย เพื่อพิจารณาอนุมัติให้ ผู้ขอรับการส่งเสริมได้รับสิทธิและประโยชน์ ตามพระราชบัญญัตินี้ (๓) แต่งตั้งคณะท างานเพื่อด าเนินการตามที่ คณะอนุกรรมการสรรหาและเจรจามอบหมาย (๔) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่ คณะกรรมการนโยบายมอบหมาย
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ คณะกรรมการนโยบายจะมอบอ านาจให้ ส านักงานกระท าการใด ๆ แทน หรือแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการ เพื่อให้กระท าการใด ๆ ตามที่ มอบหมายหรือเรียกบุคคลใดซึ่งเกี่ยวข้องมาให้ ข้อเท็จจริง ค าอธิบาย ค าแนะน า หรือความเห็นก็ ได้ เมื่อส านักงานหรือคณะอนุกรรมการได้กระท า การไปแล้วตามวรรคหนึ่งต้องรายงานให้ คณะกรรมการนโยบายทราบด้วย
การประชุมคณะอนุกรรมการ ให้น าบทบัญญัติ มาตรา ๗ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ให้ส านักงานท าหน้าที่เป็นส านักงานเลขานุการ ของคณะกรรมการนโยบายโดยให้มีอ านาจ หน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) รับผิดชอบงานธุรการ งานประชุม และ กิจการต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับงานของ คณะกรรมการนโยบาย คณะอนุกรรมการ และคณะท างาน (๒) ติดตามและตรวจสอบกิจการของผู้ได้รับ การส่งเสริม (๓) รายงานผลการติดตามและตรวจสอบ กิจการของผู้ได้รับการส่งเสริมเพื่อเสนอ คณะกรรมการนโยบายพิจารณาอนุมัติการ จ่ายเงินสนับสนุนจากกองทุน (๔) รายงานสภาพปัญหาและอุปสรรคในการ ด าเนินการของผู้ได้รับการส่งเสริมต่อ คณะกรรมการนโยบายเพื่อพิจารณาผ่อนผัน เงื่อนไขตามบัตรส่งเสริม (๕) ศึกษาและวิเคราะห์ทิศทางเศรษฐกิจของ ประเทศเพื่อเสนอคณะกรรมการนโยบาย ก าหนดประเภทอุตสาหกรรมที่สมควรให้เป็น อุตสาหกรรมเป้าหมายตามพระราชบัญญัตินี้ (๖) ศึกษาและวิเคราะห์แนวทางในการ ส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมายของ ต่างประเทศเพื่อเป็นข้อมูลในการสนับสนุน การปฏิบัติงานของคณะกรรมการนโยบาย คณะอนุกรรมการ และคณะท างาน (๗) เก็บรวบรวมข้อมูลและจัดท าสถิติเกี่ยวกับ ผู้ประกอบกิจการในอุตสาหกรรมเป้าหมาย (๘) ประเมินผลการด าเนินงานของกองทุน รวมทั้งประเมินความคุ้มค่าในการให้สิทธิและ ประโยชน์แก่ผู้ได้รับการส่งเสริม พร้อมทั้ง รายงานผลการประเมินดังกล่าวต่อ คณะกรรมการนโยบาย (๙) ประสานงานและร่วมมือกับส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ และหน่วยงานเอกชน ในการ ด าเนินงานตามพระราชบัญญัตินี้ (๑๐) รับเงิน จ่ายเงิน และเก็บรักษาเงินของ กองทุนตามระเบียบที่คณะกรรมการนโยบาย ก าหนด (๑๑) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการ นโยบาย คณะอนุกรรมการ หรือคณะท างาน มอบหมาย
ในกรณีที่จะต้องมีการตรวจสอบ และประเมินผล กิจการในอุตสาหกรรมเป้าหมายที่ได้รับสิทธิและ ประโยชน์ตามพระราชบัญญัตินี้ ส านักงานอาจ มอบหมายให้บุคคลใดเป็นผู้ด าเนินการแทนและ จัดท ารายงานผลการด าเนินการเสนอต่อ ส านักงานได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่ คณะกรรมการนโยบายก าหนด
ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอ านาจเข้าไปในสถาน ประกอบการของผู้ได้รับการส่งเสริมในระหว่าง เวลาท าการเพื่อสอบถามข้อเท็จจริงหรือเพื่อ ตรวจสอบเอกสารหรือสิ่งของใด ๆ ที่เกี่ยวกับ กิจการในอุตสาหกรรมเป้าหมายที่ได้รับสิทธิและ ประโยชน์ตามพระราชบัญญัตินี้จากบุคคลซึ่งอยู่ ในสถานที่นั้นได้ตามความจ าเป็น ในกรณีที่พนักงานเจ้าหน้าที่จะเข้าไปในสถานที่ ตามวรรคหนึ่ง ถ้าไม่เป็นการเร่งด่วน ต้องแจ้ง เป็นหนังสือให้ผู้ได้รับการส่งเสริมทราบล่วงหน้า ตามสมควร
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา ๑๔ ให้พนักงาน เจ้าหน้าที่แสดงบัตรประจ าตัวต่อบุคคลซึ่ง เกี่ยวข้อง บัตรประจ าตัวตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามแบบ ที่เลขาธิการก าหนด
การสรรหาและเจรจา และการให้การ ส่งเสริม
ให้คณะกรรมการนโยบายประกาศก าหนด ประเภท และลักษณะของกิจการในอุตสาหกรรม เป้าหมาย รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ในการให้สิทธิและประโยชน์ตามพระราชบัญญัติ นี้
เมื่อมีประกาศตามมาตรา ๑๖ แล้ว ในกรณีที่ คณะอนุกรรมการสรรหาและเจรจาเห็นว่ามีผู้ ประกอบ กิจการในอุตสาหกรรมเป้าหมายราย หนึ่งรายใดสมควรได้รับการพิจารณาให้สิทธิและ ประโยชน์ตาม พระราชบัญญัตินี้ ให้ส านักงาน แจ้งผู้ประกอบกิจการรายนั้นทราบว่าหาก ประสงค์จะได้รับการพิจารณาให้เข้า สู่ กระบวนการเจรจาเพื่อให้สิทธิและประโยชน์ตาม พระราชบัญญัตินี้ ให้มายื่นข้อเสนอโครงการ ลงทุนต่อส านักงาน ภายในระยะเวลาที่ก าหนด เมื่อส านักงานได้รับข้อเสนอโครงการลงทุนแล้ว ให้ด าเนินการวิเคราะห์และเสนอ ความเห็นต่อ คณะอนุกรรมการสรรหาและเจรจาเพื่อให้ความ เห็นชอบในการเริ่มด าเนินการเจรจา ในกรณีที่คณะอนุกรรมการสรรหาและเจรจา เห็นชอบให้เริ่มด าเนินการเจรจา ให้ส านักงาน แจ้งผู้ประกอบกิจการ ในอุตสาหกรรมเป้าหมาย เพื่อจัดท ารายละเอียดโครงการลงทุนเสนอมา ประกอบการเจรจา ทั้งนี้ การเจรจากับ ผู้ ประกอบกิจการในอุตสาหกรรมเป้าหมายให้ เป็นไปตามกรอบแนวทางในการสรรหาและ เจรจาที่คณะกรรมการ นโยบายก าหนดตาม มาตรา ๖ (๓) เมื่อด าเนินการเจรจาตามวรรคสองแล้วเสร็จ ให้ คณะอนุกรรมการสรรหาและเจรจาจัดท าบันทึก สรุปผลการเจรจา พร้อมทั้งแจ้งให้ผู้ประกอบ กิจการในอุตสาหกรรมเป้าหมายรายนั้นมายื่นค า ขอรับการส่งเสริมพร้อมรายละเอียด โครงการ ลงทุนที่เป็นไปตามผลการเจรจาต่อส านักงาน ภายในระยะเวลาที่ตกลงกันเพื่อเสนอ คณะกรรมการ นโยบายพิจารณาอนุมัติสิทธิและ ประโยชน์ตามโครงการดังกล่าวต่อไป
เมื่อมีประกาศตามมาตรา ๑๖ แล้ว ในกรณีที่ผู้ ประกอบกิจการในอุตสาหกรรมเป้าหมายรายใด ประสงค์จะได้รับสิทธิและประโยชน์ตาม พระราชบัญญัตินี้ ให้มายื่นข้อเสนอโครงการ ลงทุนต่อส านักงาน เมื่อส านักงานได้รับข้อเสนอ โครงการลงทุนแล้ว ให้ด าเนินการวิเคราะห์และ เสนอความเห็นต่อคณะอนุกรรม การสรรหาและ เจรจาเพื่อให้ความเห็นชอบในการเริ่มด าเนินการ เจรจา และให้น าบทบัญญัติมาตรา ๑๗ วรรค สองและวรรคสาม มาใช้บังคับ
ผู้ได้รับการส่งเสริมต้องเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้น ตามกฎหมายไทย การขอรับการส่งเสริมตามมาตรา ๑๗ หรือ มาตรา ๑๘ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และแบบที่เลขาธิการก าหนด
เมื่อคณะกรรมการนโยบายพิจารณาบันทึก สรุปผลการเจรจาของคณะอนุกรรมการสรรหา และเจรจา และค าขอรับการส่งเสริมพร้อม รายละเอียดโครงการลงทุนที่ผู้ขอรับการส่งเสริม ได้ยื่นไว้ตามมาตรา ๑๗ หรือมาตรา ๑๘ แล้ว เห็นสมควรให้การส่งเสริมแก่ผู้ขอรับการส่งเสริม รายนั้น ให้มีมติอนุมัติสิทธิและประโยชน์ตาม พระราชบัญญัตินี้แก่ผู้ขอรับการส่งเสริม ทั้งนี้ คณะกรรมการนโยบายจะก าหนดเงื่อนไขในเรื่อง ใดเรื่องหนึ่ง หรือหลายเรื่องเกี่ยวกับทุน ขนาด ของกิจการ การเริ่มด าเนินกิจการ การพัฒนา บุคลากร การวิจัยและพัฒนา การถ่ายทอด เทคโนโลยี หรือเงื่อนไขอื่นตามที่ คณะกรรมการนโยบายเห็นสมควร เพื่อให้ผู้ได้รับ การส่งเสริมรายนั้น ต้องปฏิบัติด้วยก็ได้ เมื่อคณะกรรมการนโยบายมีมติตามวรรคหนึ่ง แล้ว ให้ส านักงานมีหนังสือแจ้งให้ผู้ขอรับการ ส่งเสริมรายนั้น ทราบมติของคณะกรรมการ นโยบายภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่มีมติพร้อม ด้วยเงื่อนไขที่คณะกรรมการ นโยบายก าหนด ในกรณีที่ผู้ขอรับการส่งเสริมยอมรับสิทธิและ ประโยชน์ และเงื่อนไขตามวรรคหนึ่ง ต้องมี หนังสือตอบให้ส านักงาน ทราบภายในหนึ่งเดือน นับแต่วันที่รับหนังสือนั้น ในกรณีที่มีเหตุอันสมควร ให้เลขาธิการมีอ านาจ ขยายเวลาตามวรรคสามออกไปได้ไม่เกินสาม ครั้ง ครั้งละไม่เกิน หนึ่งเดือน
ในกรณีที่ผู้ขอรับการส่งเสริมตอบรับสิทธิและ ประโยชน์ และเงื่อนไขตามมาตรา ๒๐ แล้ว ให้ ออกบัตร ส่งเสริมแก่ผู้ได้รับการส่งเสริมรายนั้น โดยมิชักช้า โดยในบัตรส่งเสริมให้ระบุ รายละเอียดเกี่ยวกับเงื่อนไข ในการประกอบ กิจการในอุตสาหกรรมเป้าหมาย รวมทั้งสิทธิ และประโยชน์ที่ผู้ได้รับการส่งเสริมมีสิทธิได้รับ
บัตรส่งเสริมให้เป็นไปตามแบบที่คณะกรรมการ นโยบายก าหนด ให้เลขาธิการเป็นผู้ลงลายมือชื่อในบัตรส่งเสริม การแก้ไขบัตรส่งเสริมให้กระท าโดยมติ คณะกรรมการนโยบาย และให้เลขาธิการลง ลายมือชื่อในบัตรส่งเสริม ที่แก้ไข มอบให้ผู้ได้รับ การส่งเสริมโดยมิชักช้า
สิทธิและประโยชน
ผู้ได้รับการส่งเสริมอาจได้รับสิทธิและประโยชน์ อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังต่อไปนี้ (๑) สิทธิและประโยชน์ตามกฎหมายว่าด้วยการ ส่งเสริมการลงทุน แต่ไม่รวมถึงสิทธิและ ประโยชน์ในการได้รับยกเว้นหรือลดหย่อนภาษี เงินได้นิติบุคคล (๒) สิทธิและประโยชน์ในการได้รับยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลตามมาตรา ๒๔ (๓) สิทธิและประโยชน์ในการได้รับเงิน สนับสนุนจากกองทุน การอนุมัติให้สิทธิและประโยชน์ตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นอ านาจหน้าที่ของคณะกรรมการนโยบาย การให้สิทธิและประโยชน์ตามวรรคหนึ่งอาจ ก าหนดให้ผู้ได้รับการส่งเสริมแต่ละรายได้รับ สิทธิและประโยชน์แตกต่างกันได้โดยให้ พิจารณาจากความจ าเป็น ความคุ้มค่าและ ประโยชน์ในการส่งเสริมและพัฒนา อุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ เพื่อประโยชน์ในการด าเนินการตาม พระราชบัญญัตินี้ให้น าบทบัญญัติในหมวด ๓ สิทธิและประโยชน์และหมวด ๔ เครื่องจักร วัตถุดิบและวัสดุจ าเป็น ตามกฎหมายว่าด้วย การส่งเสริมการลงทุนมาใช้บังคับแก่การอนุมัติ ให้สิทธิและประโยชน์ตาม (๑) โดยอนุโลม และ ให้ถือว่าอ านาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุนเป็นอ านาจหน้าที่ของ คณะกรรมการนโยบายตามพระราชบัญญัตินี้
ผู้ได้รับการส่งเสริมอาจได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคลส าหรับก าไรสุทธิที่ได้จากการประกอบ กิจการในอุตสาหกรรมเป้าหมายตามระยะเวลา ที่คณะกรรมการนโยบายก าหนด ซึ่งต้องไม่เกิน สิบห้าปีนับแต่วันที่เริ่มมีรายได้จากการประกอบ กิจการนั้น ทั้งนี้คณะกรรมการนโยบายอาจ พิจารณาก าหนดให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล เป็นสัดส่วนของเงินลงทุนโดยไม่รวมค่าที่ดินและ ทุนหมุนเวียนด้วยก็ได้ รายได้ที่ต้องน ามาค านวณก าไรสุทธิที่ได้จากการ ประกอบกิจการ ให้รวมถึงรายได้จากการ จ าหน่ายผลพลอยได้และรายได้จากการจ าหน่าย สินค้ากึ่งส าเร็จรูปตามที่คณะกรรมการนโยบาย พิจารณาเห็นสมควร ในกรณีที่ประกอบกิจการขาดทุนในระหว่างเวลา ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลตามวรรคหนึ่ง คณะกรรมการนโยบายอาจอนุญาตให้ผู้ได้รับ การส่งเสริมน าผลขาดทุนประจ าปีที่เกิดขึ้นใน ระหว่างเวลานั้นไปหักออกจากก าไรสุทธิที่เกิดขึ้น ภายหลังระยะเวลาได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติ บุคคลมีก าหนดเวลาไม่เกินห้าปีนับแต่วันพ้น ก าหนดเวลานั้น โดยจะเลือกหักจากก าไรสุทธิ ของปีใดปีหนึ่งหรือหลายปีก็ได้ การค านวณเงินลงทุนตามวรรคหนึ่งให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ คณะกรรมการนโยบายประกาศก าหนด การค านวณก าไรสุทธิและขาดทุนสุทธิของผู้ ได้รับการส่งเสริมซึ่งได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติ บุคคลให้เป็นไปตามประมวลรัษฎากร
เงินปันผลจากกิจการในอุตสาหกรรมเป้าหมาย ซึ่งได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลตามมาตรา ๒๔ ให้ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมค านวณเพื่อเสีย ภาษีเงินได้ตลอดระยะเวลาที่ผู้ได้รับการส่งเสริม ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลนั้น เงินปันผลที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ตามวรรค หนึ่งถ้าได้จ่ายภายในหกเดือนนับแต่วันพ้น ระยะเวลาที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ก็ให้ได้รับ ยกเว้นตามวรรคหนึ่ง
คณะกรรมการนโยบายอาจพิจารณาให้เงิน สนับสนุนจากกองทุนแก่ผู้ได้รับการส่งเสริมเพื่อ สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการลงทุน การวิจัยและ พัฒนาการส่งเสริมนวัตกรรม หรือการพัฒนา บุคลากรเฉพาะด้านของกิจการในอุตสาหกรรม เป้าหมายก็ได้ หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขในการพิจารณา ให้เงินสนับสนุนตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่ คณะกรรมการนโยบายก าหนด
ในกรณีที่ผู้ได้รับการส่งเสริมรายใดฝ่ าฝืนหรือไม่ ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่คณะกรรมการนโยบาย ก าหนด ให้คณะกรรมการนโยบายมีอ านาจสั่ง เพิกถอนสิทธิและประโยชน์ที่ได้ให้แก่ผู้ได้รับการ ส่งเสริมรายนั้น เพื่อประโยชน์ในการด าเนินการตาม พระราชบัญญัตินี้ให้น าบทบัญญัติในหมวด ๖ การเพิกถอนสิทธิและประโยชน์ตามกฎหมายว่า ด้วยการส่งเสริมการลงทุน มาใช้บังคับแก่การ เพิกถอนสิทธิและประโยชน์ตามวรรคหนึ่งโดย อนุโลม และให้ถือว่าอ านาจหน้าที่ของ คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนเป็นอ านาจ หน้าที่ของคณะกรรมการนโยบายตาม พระราชบัญญัตินี้
กองทุนเพิ่มขีดความสามารถในการ แข่งขันของประเทศส าหรับอุตสาหกรรม เป้าหมาย
ให้จัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งในส านักงาน เรียกว่า “กองทุนเพิ่มขีดความสามารถในการ แข่งขันของประเทศส าหรับอุตสาหกรรม เป้าหมาย” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและ พัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมายอันจะน าไปสู่การ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
กองทุนประกอบด้วยเงินและทรัพย์สิน ดังต่อไปนี้ (๑) เงินทุนประเดิมที่รัฐบาลจัดสรรให้ (๒) เงินอุดหนุนที่ได้รับจากรัฐบาล (๓) เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคหรือมอบ ให้แก่กองทุน (๔) เงินหรือทรัพย์สินที่ตกเป็นของกองทุน (๕) ดอกผลหรือผลประโยชน์ที่เกิดจากเงินหรือ ทรัพย์สินของกองทุน เงินและทรัพย์สินของกองทุนตามวรรคหนึ่งไม่ ต้องน าส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน
เงินกองทุนให้ใช้จ่ายเพื่อเป็นไปตามวัตถุประสงค์ ของกองทุน ดังต่อไปนี้ (๑) เป็นเงินสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการลงทุน การวิจัยและพัฒนาการส่งเสริมนวัตกรรม หรือ การพัฒนาบุคลากรเฉพาะด้านของกิจการใน อุตสาหกรรมเป้าหมาย (๒) เป็นค่าใช้จ่ายในการด าเนินงานของกองทุน ตามที่คณะกรรมการนโยบายก าหนด การจ่ายเงินสนับสนุนตาม (๑) ได้ต้องปรากฏว่า ผู้ได้รับการส่งเสริมได้ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ คณะกรรมการนโยบายก าหนดไว้แล้ว
เงินกองทุนให้น าฝากกระทรวงการคลังหรือ ธนาคารที่เป็นรัฐวิสาหกิจตามที่คณะกรรมการ นโยบายก าหนด
ให้ส านักงานวางและรักษาไว้ซึ่งระบบบัญชีที่ เหมาะสมเพื่อให้สามารถจัดท ารายงานการเงิน แสดงฐานะทางการเงิน และผลการด าเนินงาน ของกองทุนได้อย่างถูกต้องตามหลักการบัญชีที่ รับรองทั่วไป
ให้ส านักงานจัดท ารายงานการเงินของกองทุนส่ง ผู้สอบบัญชีภายในหกสิบวันนับแต่วันสิ้นปีบัญชี ปีบัญชีของกองทุนให้เป็นไปตามปีงบประมาณ เว้นแต่คณะกรรมการนโยบายจะประกาศ ก าหนดเป็นอย่างอื่น
ให้ส านักงานการตรวจเงินแผ่นดินหรือบุคคลที่ ส านักงานการตรวจเงินแผ่นดินให้ความเห็นชอบ เป็นผู้สอบบัญชีของกองทุน และให้ท าการ ตรวจสอบรับรองบัญชีและการเงินทุกประเภท ของกองทุนทุกรอบปีบัญชี ให้ผู้สอบบัญชีของกองทุนท ารายงานการสอบ บัญชีเสนอต่อคณะกรรมการนโยบายภายในหนึ่ง ร้อยห้าสิบวันนับแต่วันสิ้นปีบัญชี ให้คณะกรรมการนโยบายน าส่งรายงานการเงิน พร้อมด้วยรายงานการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชี ต่อกระทรวงการคลังภายในสามสิบวันนับแต่ วันที่ได้รับรายงานจากผู้สอบบัญชี
ให้ส านักงานจัดให้มีระบบการตรวจสอบภายใน เพื่อตรวจสอบการด าเนินงานต่าง ๆของกองทุน ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ คณะกรรมการนโยบายก าหนด
ในกรณีที่การด าเนินกิจการของกองทุนไม่มีความ จ าเป็นอีกต่อไป ให้คณะกรรมการนโยบายเสนอ ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาให้มีการยุบเลิก กองทุน เมื่อคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบด้วยให้กองทุน ยุบเลิกเมื่อพ้นก าหนดสามสิบวันนับแต่วันที่ คณะรัฐมนตรีมีมติ
เมื่อยุบเลิกกองทุนแล้ว ให้ท าการตรวจสอบ ทรัพย์สินและช าระบัญชีรวมทั้งการโอนหรือ จ าหน่ายทรัพย์สินที่ยังคงเหลืออยู่ ทั้งนี้ตาม หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่ คณะกรรมการนโยบายก าหนด ในระหว่างการช าระบัญชีให้ถือว่ากองทุนยังคง อยู่ตราบเท่าเวลาที่จ าเป็นเพื่อการช าระบัญชี
ในวาระเริ่มแรกให้รัฐบาลจัดสรรเงินให้กองทุน ตามมาตรา ๒๙ (๑) เป็นจ านวนหนึ่งหมื่นล้าน บาท เพื่อน าไปใช้จ่ายตามวัตถุประสงค์ของ กองทุน ผู้รับสนองพระราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
「2017년 중점육성산업에 대한 국가 경쟁력 증진법」
국가·지역: 태국 제정일: 2017년 2월 12일
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นปีที่ ๒ ในรัชกาลปัจจุบัน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยการเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศส าหรับ อุตสาหกรรมเป้าหมาย จงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยค าแนะน าและยินยอม ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ 마하와치라롱껀 버딘트라텝파야 와랑꾼 폐하께서 현 왕조 2번째 해인 2017년(불기2060년) 2월 12일에 하사하셨다. 마하와치라롱껀 버딘트라텝파야 와랑꾼 폐하께서는 다음과 같이 공포하도록 하셨다. 중점육성산업에 대한 국가 경쟁력 증진 관련 법률을 마련하는 것이 마땅하다. 그러므로, 폐하께서 입법부의 조언과 동의를 통하여 다음과 같이 이 법을 제정하도록 하셨다.
이 법은 “2017년 중점육성산업에 대한 국가 경쟁력 증진법”이 라고 한다.
이 법은 관보에 게재한 이튿날부터 시행하도록 한다.
이 법에서 사용하는 용어의 뜻은 다음과 같다. “중점육성산업”이란 국가의 잠재력에 부합하며, 국가의 경제와 사회 및 안정에 대한 높은 이익을 창출하고, 국가의 경쟁력을 영속적으로 증진하는 것을 말하며, 이는 발전을 이룩하고 혁신을 지원하기 위하여 이전에 국내에서 생산되거나 서비스가 제공된 적이 없는 새로운 유형의 산업 또는 생산에 신기술을 적용하거나 고도의 지식을 적용하는 산업이어야 한다. 이와 관련하여 위원회가 고시하는 바를 따른다. “지원신청자”란 이 법에 따라 지원을 신청하는 중점육성산업 사업자를 말한다. “지원수혜자”란 이 법에 따라 지원을 받는 중점육성산업 사업자를 말한다. “기금”이란 중점육성산업에 대한 국가 경쟁력 증진 기금을 말한다. “정책위원회”란 중점육성산업에 대한 국가 경쟁력 증진 정책 위원회를 말한다. “사무처장”은 투자촉진위원회 사무처장을 말한다. “사무처”란 투자촉진위원회 사무처를 말한다. “담당관”이란 이 법에 따라 집행하도록 장관이 임명하는 사람을 말한다.
총리가 이 법에 따른 주관자가 되도록 하며, 이 법에 따른 집행을 위한 담당관 임명권을 갖도록 한다.
중점육성산업에 대한 국가 경쟁력 증진 정책 위원회
총리를 위원장으로 하고, 총리가 위임하는 부총리를 부위원장으로 하며, 재무부 장관과 과학기술부 장관, 산업부 장관, 경제 사회를 위한 디지털부 사무차관, 예산처장, 국가경제사회개발위원회 사무처장 및 국가과학기술혁신정책위원회 사무처장을 위원으로 하는 "중점육성산업에대한 국가 경쟁력 증진 정책 위원회"라는 명칭의 위원회 하나를 두도록 한다. 사무처장은 위원 겸 간사가 되도록 하며, 사무처장이 사무처 공무원 2인을 간사보로 임명하도록 한다.
정책위원회는 다음 각 항의 권한과 직무를 담당한다. (1) 중점육성산업에 대한 국가 경쟁력 증진 관련 정책과 전략 수립 및 계획 마련 (2) 중점육성산업 유형 및 중점육성산업에서의 사업 형태 고시 (3) 중점육성산업에 대한 투자를 위한 사업자 선정 및 협상 지침 체계 설정 (4) 이 법에 따른 권리 및 혜택 부여의 원칙과 절차 및 조건 고시 (5) 지원신청자에 대한 이 법에 따른 권리 및 혜택 부여 승인과 아울러 각 지원수혜자가 준수하여야 하는 조건 규정 (6) 기금에서의 지원금 지급 승인 (7) 이 법에 따른 권리 및 혜택 부여 철회 (8) 기금의 금전 수령과 금전 지급 및 금전 보유 관련 규칙 제정 (9) 기금 운용 결과 평가와 아울러 지원수혜자에 대한 권리 및 혜택 부여에 대한 가치성 평가와 함께 내각에 해당 평가 결과 보고 (10) 정책위원회의 권한과 직무로 규정한 법률 또는 내각이 위임하는 바에 따른 기타 직무 수행
정책위원회의 회의는 재적 위원 과반수가 참석하여야 정족수가 된다. 정책위원회의 회의에서 만약 위원장이 회의에 불참하거나 직무 수행이 불가능하다면, 부위원장이 의장이 되도록 한다. 만약 부위원장이 회의에 불참하거나 직무 수행이 불가능하다면, 회의에서 위원 1인을 의장으로 선정하도록 한다. 의결은 다수결을 따르도록 한다. 위원 1인은 하나의 투표권을 갖도록 한다. 만약 득표수가 동수라면, 의장이 추가로 1표의 결정권을 갖도록 한다.
정책위원회 부위원장을 소위원회 위원장으로 하고, 재무부 대표와 경제사회를 위한 디지털부 대표, 과학기술부 대표, 산업부 대표 및 국가경제사회개발위원회 사무처 대표를 소위원회로 하여 구성되는 선정협상소위원회 하나를 두도록 한다. 사무처장이 소위원 겸 간사가 되도록 하며, 국가과학기술혁신 정책위원회 사무처 대표는 소위원 겸 간사가 되도록 하고, 사무처장이 사무처 공무원 1인을 간사보로 임명하도록 한다.
선정협상소위원회는 다음 각 항의 권한과 직무를 담당한다. (1) 정책위원회가 정한 선정 및 협상의 지침 체계에 따라 중점육성산업에 대한 투자를 위하여 사업자 선정 및 협상 수행 (2) 이 법에 따른 권리 및 혜택 취득 지원신청자 승인 검토를 위하여 정책위원회에 교섭 결과 요약 비망록 제출 (3) 선정협상소위원회가 정하는 바에 따른 수행을 위한 실무단 임명 (4) 정책위원회가 위임하는 바에 따른 기타 수행
이 법에 따른 직무 수행에서, 정책위원회는 대행 또는 위임에 따른 기타 실행을 위한 소위원회를 임명하거나, 진술이나 설명, 조언, 의견을 제공하도록 관계자를 소환하는 권한을 소위원회에 위임할 수도 있다. 사무처 또는 소위원회가 첫번째 단락에 따라 수행을 완료한 때에는 정책위원회에 보고하여야 한다.
소위원회의 회의는 제7조를 준용하도록 한다.
사무처가 다음 각 항의 권한과 직무를 담당하도록 하여, 정책 위원회의 비서실로서 임무를 수행하도록 한다. (1) 정책위원회와 소위원회 및 실무단의 업무 관련 총무와 회의 및 각종 사무 책임 (2) 지원수혜자의 업무 감시 및 조사 (3) 정책위원회에 제출하여 기금에서의 지원금 지급에 대한 승인을 검토하도록 하기 위한 지원수혜자의 업무 감시 및 조사 결과 보고 (4) 지원증에 따른 조건에 대한 완화를 검토하기 위하여 정책위원회에 지원수혜자의 수행에서의 문제 및 장애 상황에 대하여 보고 (5) 정책위원회가 적합한 산업 유형을 이 법에 따른 중점육성 산업으로 지정하도록 제출하기 위한 경제 방향에 대한 연구 및 분석 (6) 정책위원회와 소위원회 및 실무단의 업무 수행 지원의 자료로써 외국의 중점육성산업 지원 및 개발 방침 연구 및 분석 (7) 중점육성산업 사업자 관련 자료 수집 및 통계 작성 (8) 기금 운용 결과 평가와 아울러 지원수혜자에 대한 권리 및 혜택 부여에 대한 가치성 평가와 함께 해당 평가 결과를 정책위원회에 보고 (9) 이 법에 따른 업무 수행에 대하여 관청과 정부 기관 및 민간 기관과 조율 및 협력 (10) 정책위원회가 정하는 규칙에 따라 기금의 금전 수령이나 지출 또는 보유 (11) 정책위원회나 소위원회 또는 실무단이 위임하는 바에 따른 기타 업무 수행
이 법에 따라 권리 및 혜택을 취득한 중점육성산업의 사업 성과에 대한 조사 및 평가가 필요한 경우, 사무처는 특정인에게 대행 및 수행 결과에 대한 보고서 작성을 위임할 수 있다. 이와 관련하여 정책위원회가 정하는 원칙을 따른다.
담당관은 필요한 바에 따라 현장에 있는 사람에게 이 법에 따라 권리 및 혜택을 취득한 중점 육성산업의 사업과 관련하여 사실 관계를 조회하거나 문서 또는 어떠한 물품을 조사하기 위하여 업무 시간 중에 지원수혜자의 사업장에 진입할 권한이 있다. 담당관이 첫번째 단락에 따른 장소에 진입하는 경우, 만약 긴급하지 아니하다면 적절한 바에 따라 사전에 지원수혜자에게 서면으로 통지하여야 한다.
제14조에 따라 직무를 수행하는 경우, 담당관은 관계자에게 신분증을 제시하여야 한다. 첫번째 단락에 따른 신분증은 사무처장이 정하는 양식을 따르도록 한다.
선정 및 협상과 지원 제공
정책위원회는 이 법률에 따라 중점육성산업의 유형 및 형태와 아울러 권리 및 혜택 부여의 원칙과 절차 및 조건을 정하도록 한다.
제16조에 따른 고시가 있는 때에는 선정협상소위원회가 어떤 중점육성산업 사업자에 대하여 이 법에 따른 권리 및 혜택 부여를 검토하는 것이 합당하다고 판단하는 경우, 사무처는 해당 사업자에게 만약 이 법에 따른 권리 및 혜택 부여를 위한 협상 절차에 참여하기 위한 검토를 받고자 한다면 기한 내에 사무 처에 투자계획제안서를 제출하도록 통지하도록 한다. 사무처가 투자계획제안서 접수를 완료한 때에는 분석을 실시하고, 협상 개시에 대한 승인을 하도록 하기 위하여 선정협상소위원회에 의견을 제시하도록 한다. 선정협상소위원회가 협상 개시를 승인하는 경우, 사무처는 중점육성산업 사업자에게 투자계획 상세 사항을 작성하여 협상 구성에 제시하도록 하기 위하여 통지하도록 한다. 이와 관련하여 중점육성산업 사업자는 제6조제(3)항에 따라 정책위원회가 정하는 선정 및 협상 지침 체계를 따르도록 한다. 두번째 단락에 따른 협상을 실시한 때에는 선정협상소위원회가 협상 요약 비망록을 작성하고 정책위원회에 제출하여 계속하여 해당 프로젝트에 따른 권리 및 혜택에 대한 승인을 검토하기 위하여 합의한 기한 내에 협상 결과에 따라 투자 계획 상세 사항과 함께 지원 신청서를 제출하도록 통지하도록 한다.
제16조에 따른 고시가 있는 때에는 중점육성산업 사업자가 이 법에 따른 권리 및 혜택을 취득하고자 하는 경우, 사무처에 투자계획제안서를 제출하도록 한다. 사무처가 투자계획제안서를 접수한 때에는 분석을 실시하고 협상 개시에 대한 승인을 위하여 선정협상소위원회에 제출하도록 하며, 제17조 두번째 단락 및 세번째 단락의 규정을 적용하도록 한다.
지원수혜자는 태국 법률에 따라 설립된 법인이어야 한다. 제17조 또는 제18조에 따른 지원신청자는 사무처장이 정하는 원칙과 절차, 조건 및 양식을 따르도록 한다.
정책위원회가 선정협상소위원회의 협상 결과 요약 비망록 및 제17조 또는 제18조에 따라 지원신청자가 제출한 지원 신청서와 함께 투자계획 상세 사항에 대한 검토를 완료하고 해당 지원신청자에 대한 지원 제공이 적절하다고 판단한 때에는 지원 신청자에 대하여 이 법에 따른 권리 및 혜택 승인을 하도록 한다. 이와 관련하여 정책위원회는 해당 지원수혜자가 이행하도록 하기 위하여 투자나 업무 규모, 업무 개시, 인재 개발, 연구 개발, 기술 전수와 관련한 어떤 하나 또는 여러 사안에 대한 조건 또는 정책위원회가 합당하다고 판단하는 조건을 정할 수도 있다. 정책위원회가 첫번째 단락에 따라 결정을 한 때에는 사무처는 해당 지원신청자에게 결정일부터 15일 이내에 정책위원회가 정한 조건과 함께 통지서를 송부하여 알리도록 한다. 지원신청자가 권리 및 혜택과 첫번째 단락에 따른 조건에 대하여 수락하는 경우, 해당 서신을 수령한 날부터 1개월 이내에 사무처에 답신서를 송부하여 알려야 한다. 정당한 사유가 있는 경우, 사무처장은 세번째 단락에 따른 기간을 1회당 1개월을 초과하지 아니하여 3회 이하로 연장하는 권한을 갖도록 한다.
지원신청자가 권리 및 혜택과 제20조에 따른 조건을 수락한 경우, 지체없이 해당 지원수혜자에게 중점육성산업 운영 조건 관련 상세 사항과 아울러 지원 증에 지원수혜자가 취득권을 가지는 권리 및 혜택을 명시하여 지원증을 발급하도록 한다.
지원증은 정책위원회가 정하는 양식을 따르도록 한다. 사무처장이 지원증에 서명하도록 한다. 지원증 수정은 정책위원회의 결정을 통하여 실시하도록 하며, 사무처장은 수정한 지원증에 서명하여 지체없이 지원수혜자에 게 전달하도록 한다.
권리와 혜택
지원수혜자는 다음 각 항의 어느 한가지 또는 여러가지의 권리와 혜택 취득이 가능할 수 있다. (1) 법인세 감면 권리와 혜택을 포함하지 아니하는 투자 촉진 관련 법률에 따른 권리와 혜택 (2) 제24조에 따른 법인세 감면의 권리와 혜택 (3) 기금에서의 지원금 수령 권리와 혜택 첫번째 단락에 따른 권리와 혜택 제공 승인은 정책위원회의 권한과 임무가 되도록 한다. 첫번째 단락에 따른 권리와 혜택 부여는 국가의 중점육성산업 지원 및 개발의 필요성과 가치성 및 효과를 고려하도록 하여 각 지원수혜자에게 서로 다른 권리와 혜택을 정할 수 있다. 이 법에 따른 이행의 효과를 위하여 투자 촉진 관련 법률 제3장 권리와 혜택과 제4장 기계와 원료 및 필수 자재의 규정을 제(1)항에 따른 권리와 혜택 부여 승인에 준용하도록 하며, 투자 촉진위원회의 권한과 직무를 이 법에 따른 정책위원회의 권한과 직무로 보도록 한다.
지원수혜자는 사업 소득 발생 시작일부터 정책위원회가 정하는 15년을 초과하지 아니하는 기한에 따라 중점육성산업의 사업 운영에서 취득하는 순익에 대한 법인세 면제가 가능할 수 있다. 이와 관련하여 정책위원회는 지가 및 유동자금을 제외하여, 투자금의 비율로 법인세를 면제하도록 정하는 것을 고려할 수도 있다. 사업 소득에서 취득한 순익을 계산하여야 하는 소득은 정책위원회가 검토하여 타당하다고 판단하는 바에 따른 부산물 판매 수입과 반제품 판매 수입을 포함하도록 한다. 첫번째 단락에 따라 법인세 면제를 받은 기간 동안 영업 손실이 발생하는 경우, 정책위원회는 지원수혜자가 그 기간 동안 발생한 연간 손실분을 그러한 기한 만료일부터 5년을 초과하지 아니하는 기간에서 어느 한 해 또는 여러 해의 순익에서 차감할 지를 선택하여 법인세 면제 기간 이후에 발생하는 순익에서 차감하도록 허가할 수도 있다. 첫번째 단락에 따른 투자금 계산은 정책위원회가 고시하는 원칙과 절차를 따르도록 한다. 법인세가 면제된 지원수혜자의 순익 및 순손실 계산은 「국세 법전」을 따르도록 한다.
제24조에 따라 법인세가 면제된 중점육성산업의 사업 배당금은 지원수혜자가 법인세를 면제받는 기간 동안 소득세 납부를 위한 계산에 포함할 필요없이 면제를 받도록 한다. 첫번째 단락에 따라 소득세가 면제된 배당금을 만약 소득세가 면제된 기간이 만료된 날부터 6개월 이내에 지급하였다면 첫번째 단락에 따라 면제를 받도록 한다.
정책위원회는 중점육성산업 사업의 특정 분야에 한하여 투자나 연구·개발, 혁신 촉진 또는 인재 개발 비용을 지원하기 위하여 지원수혜자에게 기금에서 지원금을 제공하는 것을 검토할 수도 있다. 첫번째 단락에 따른 지원금 제공 검토의 원칙과 절차 및 조건은 정책위원회가 정하는 바를 따르도록 한다.
어떤 지원수혜자가 정책위원회가 정하는 원칙을 위반하거나 준수하지 아니하는 경우, 정책 위원회는 해당 지원수혜자에게 제공한 권리와 혜택에 대한 취소 명령권을 갖도록 한다. 이 법에 따른 이행의 효과를 위하여 투자 촉진 관련 법률 제6장 권리와 혜택 취소를 첫번째 단락에 따른 권리와 혜택 취소에 대하여 준용하도록 하며, 투자촉진위원회의 권한과 직무를 이 법에 따른 정책위원회의 권한과 직무로 보도록 한다.
중점육성산업에 대한 국가 경쟁력 증진 기금
사무처 내에 국가 경쟁력 증진을 선도할 수 있는 중점육성산업 지원 및 개발을 목적으로 하여 "중점육성산업에 대한 국가 경쟁력 증진 기금"이라는 명칭의 기금 하나를 설치하도록 한다.
기금은 다음 각 항의 금전과 자산으로 구성된다. (1) 정부가 할당하는 개시 자금 (2) 정부에서 받은 보조금 (3) 기금에 기부 또는 증여된 금전 또는 자산 (4) 기금으로 귀속된 금전 또는 자산 (5) 기금의 금전 또는 자산에서 발생하는 성과 또는 수익 첫번째 단락에 따른 기금의 금전 및 자산은 국가 세입으로 국고에 송금할 필요가 없다.
기금은 기금의 목적에 따라 다음 각 항과 같이 지출하도록 한다. (1) 중점육성산업 사업의 특정 분야에 한하여 투자나 연구·개발, 혁신 촉진 또는 인재 개발 비용 지원금 (2) 정책위원회가 정하는 바에 따른 기금의 사업 수행 비용 제(1)항에 따른 지원금 지급은 지원수혜자가 정책위원회가 정하는 조건을 준수하였다는 것이 밝혀져야 한다.
기금은 정책위원회가 정하는 바에 따라 재정부 또는 국영기업인 은행에 예치하도록 한다.
사무처는 일반적으로 인정되는 회계 원칙에 따라 재정 상태 및 운용 성과를 정확하게 표시하는 재무보고서를 작성할 수 있도록 하기 위하여 적절한 회계시스템을 구축하고 유지하도록 한다.
사무처는 기금의 재무 보고서를 작성하여 회계연도 말일부터 60일 이내에 회계 감사인에게 제출하도록 한다. 기금의 회계 연도는 정책위원회가 다르게 고시하는 것을 제외하고 회계 연도를 따르도록 한다.
감사원 또는 감사원이 승인한 사람이 기금의 회계 감사인이 되도록 하며, 매 회계 연도마다 기금의 장부 및 모든 재정을 검증 및 인증하도록 한다. 기금의 회계 감사인은 회계 연도 말일부터 150일 이내에 회계 감사 보고서를 작성하여 정책위원회에 제출하도록 한다. 정책위원회는 회계 감사인으로부터 보고서를 수령한 날부터 30일 이내에 회계 감사 보고서와 함께 재정 보고서를 재무부에 제출하도록 한다.
사무처는 정책위원회가 정하는 원칙 및 절차에 따라 기금의 각종 사업 수행을 감사하기 위한 내부 감사 시스템을 갖추도록 한다.
기금 운용이 더 이상 필요하지 아니한 경우, 정책위원회는 내각에 기금 해산 검토를 제안하도록 한다. 내각이 승인을 결정한 때는 내각이 결정한 날부터 30일의 기한이 만료한 때에 기금을 해산하도록 한다.
기금 해산을 완료한 때에는 재산 조사 및 청산을 실시한다. 아울러 남아 있는 자산은 양도 또는 매각하도록 한다. 이와 관련하여 정책위원회가 정하는 원칙과 절차 및 조건을 따른다. 청산 중인 때에는 청산을 위하여 필요한 기간 동안에는 기금이 유지되고 있다고 보도록 한다.
초기에는 기금의 목적에 따른 지출을 위하여 정부가 제29조제(1)항에 따라 기금에 100억바트를 할당하도록 한다. 부서 대장 쁘라윳 짠오차 총리