로고

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๕ เป็นปีที่ ๕๗ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระ บรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรให้มีกฎหมายว่าด้วยการขายตรง และตลาดแบบตรง พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการ จ ากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระท าได้โดยอาศัยอ านาจ ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้น ไว้โดยค าแนะน าและยินยอมของรัฐสภาดังต่อไปน 푸미폰 아둔야뎃 국왕 현 왕조 57년(2002년 4월 23일) 푸미폰 아둔야뎃 국왕께서 직접판매 및 직접마케팅 관련 법률을 제정 하는 것이 마땅하다고 왕명을 내리신 바 이 법에는 태국 왕국 「헌법」 제29조 및 제50조와 관련된 개인의 권리와 자유를 제 한하는 특정 조항이 포함되어 있으며 이는 법률의 조항에 의거하여 행하도록 정한다. 이에 국왕께서는 의회의 조언과 동의를 받 아 다음의 법률을 제정하는 바이다.

มาตรา ๑

พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติ ขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. ๒๕๔๕”

มาตรา ๒

พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นก าหนด หนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา นุเบกษาเป็นต้นไป

มาตรา ๓

ในพระราชบัญญัตินี้ “ขายตรง” หมายความว่า การท าตลาดสินค้าหรือบริการ ในลักษณะของการน าเสนอขายต่อผู้บริโภคโดยตรง ณ ที่ อยู่อาศัยหรือสถานที่ท างานของผู้บริโภคหรือของผู้อื่น หรือสถานที่อื่นที่มิใช่สถานที่ประกอบการค้าเป็นปกติ ธุระโดยผ่านตัวแทนขายตรงหรือผู้จ าหน่ายอิสระชั้นเดียว หรือหลายชั้นแต่ไม่รวมถึงนิติกรรมตามที่ก าหนดใน กฎกระทรวง “ตลาดแบบตรง” หมายความว่า การท าตลาดสินค้าหรือ บริการในลักษณะของการสื่อสารข้อมูลเพื่อเสนอขาย สินค้าหรือบริการโดยตรงต่อผู้บริโภคซึ่งอยู่ห่างโดย ระยะทางและมุ่งหวังให้ผู้บริโภคแต่ละรายตอบกลับเพื่อ ซื้อสินค้าหรือบริการจากผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรง นั้น ส่วนการซื้อขายสินค้าหรือบริการโดยวิธีการพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่ถือว่าเป็นตลาดแบบตรง ให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ก าหนดในกฎกระทรวง “ผู้บริโภค” หมายความว่า ผู้ซื้อหรือผู้ได้รับบริการจากผู้ จ าหน่ายอิสระ ตัวแทนขายตรง ผู้ประกอบธุรกิจขายตรง หรือผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรง หรือผู้ซึ่งได้รับการ เสนอหรือการชักชวนจากผู้จ าหน่ายอิสระ ตัวแทนขาย ตรง ผู้ประกอบธุรกิจขายตรงหรือผู้ประกอบธุรกิจตลาด แบบตรงเพื่อให้ซื้อสินค้าหรือรับบริการ “ผู้จ าหน่ายอิสระ” หมายความว่า บุคคลที่ได้รับโอน กรรมสทิธิ์ในสนิคา้หรอืบรกิารจากผปู้ระกอบธุรกิจขาย ตรงและน าสินค้าหรือบริการดังกล่าวไปเสนอขายตรงต่อ ผู้บริโภค “ตัวแทนขายตรง” หมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับมอบ อ านาจจากผู้ประกอบธุรกิจขายตรงให้น าสินค้าหรือ บริการไปเสนอขายตรงต่อผู้บริโภค “ห้างหุ้นส่วน” หมายความว่า ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน หรือห้างหุ้นส่วนจ ากัดตามประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ “บริษัท” หมายความว่า บริษัทจ ากัดตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์หรือบริษัทมหาชนจ ากัดตาม กฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจ ากัด “ซื้อ” หมายความรวมถึง เช่า เช่าซื้อ หรือได้มาไม่ว่าด้วย ประการใด ๆ โดยให้ค่าตอบแทนเป็นเงินหรือ ผลประโยชน์อย่างอื่น “ขาย” หมายความรวมถึง ให้เช่า ให้เช่าซื้อ หรือจัดหาให้ ไม่ว่าด้วยประการใด ๆ โดยเรียกค่าตอบแทนเป็นเงินหรือ ผลประโยชน์อย่างอื่น ตลอดจนการเสนอหรือการชักชวน เพื่อการดังกล่าวด้วย “สินค้า” หมายความว่า สิ่งของที่ผลิตหรือมีไว้เพื่อขาย “บริการ” หมายความว่า การรับจัดท าการงาน การให้ สิทธิใด ๆ หรือการให้ใช้หรือให้ประโยชน์ในทรัพย์สินหรือ กิจการใด ๆ โดยเรียกค่าตอบแทนเป็นเงินหรือ ผลประโยชน์อื่น แต่ไม่รวมถึงการจ้างแรงงานตาม กฎหมายแรงงาน “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการขายตรง และตลาดแบบตรง “กรรมการ” หมายความว่า กรรมการขายตรงและตลาด แบบตรง “นายทะเบียน” หมายความว่า เลขาธิการคณะกรรมการ คุ้มครองผู้บริโภค “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้ง ให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตาม พระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๔

ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตาม พระราชบัญญัตินี้ และให้มีอ านาจแต่งตั้งพนักงาน เจ้าหน้าที่และออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้นเมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ ใช้บังคับได้

มาตรา ๕

ในการปฏิบติหนา้ ที่ตามพระราชบญญตินี้ ให้ พนกงานเจา้ หนา้ ที่มีอา˚ นาจดงั ตอไปนี้

(๑) มีหนังสือเรียกบุคคลใดมาให้ถ้อยค า แจ้งข้อเท็จจริง หรือท าค าชี้แจงเป็นหนังสือ หรือให้ส่งบัญชี ทะเบียน เอกสาร หรือหลักฐานใดเพื่อตรวจสอบหรือประกอบการ พิจารณา

(๒) เข้าไปในสถานที่ท าการของผู้ประกอบธุรกิจขายตรง หรือผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงในระหว่างเวลาท า การของสถานที่นั้น เพื่อสอบถามข้อเท็จจริงหรือตรวจดู เอกสาร หรือหลักฐานเพื่อตรวจสอบการปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้

(๓) เก็บหรือน าสินค้าในปริมาณพอสมควรไปเป็น ตัวอย่าง เพื่อตรวจสอบหรือวิเคราะห์โดยไม่ต้องช าระ ราคาสินค้านั้น ทั้งนี้ การเก็บหรือน าสินค้าตัวอย่างไป และการให้คืนสินค้าตัวอย่างตามความประสงค์ของ เจ้าของให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการ ประกาศก าหนด

การใช้อ านาจตามวรรคหนึ่ง (๒) ต้องปฏิบัติตามระเบียบ ที่เลขาธิการคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคก าหนด ระเบียบดังกล่าวอย่างน้อยต้องก าหนดถึงการแสดง ความบริสุทธิ์ก่อนการเขา้ไป การมอบบนัทกึเหตผุ ลใน การเข้าไปให้แก่ผู้ครอบครองสถานที่ และการรายงานผล การปฏิบัติหน้าที่ต่อผู้บังคับบัญชา ในการปฏิบัติหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องอ านวย ความสะดวกตามสมควร

มาตรา ๖

ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจ าตัวของพนักงาน เจ้าหน้าที่ บัตรประจ าตัวของพนักงานเจ้าหน้าที่ให้เป็นไปตามแบบ ที่คณะกรรมการประกาศก าหนด

มาตรา ๗

ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ กรรมการ อนุกรรมการ นายทะเบียนและพนักงาน เจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา

หมวด ๑ คณะกรรมการขายตรงและตลาดแบบตรง

มาตรา ๘

ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการขายตรงและตลาดแบบตรง” ประกอบด้วย

(๑) ประธานกรรมการหนึ่งคน ซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง จากผู้ซึ่งมีความรู้ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการขายตรง และการตลาดแบบตรง

(๒) กรรมการโดยต าแหน่ง ได้แก่ อธิบดีกรมการค้า ภายใน อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ผู้บัญชาการ ต ารวจแห่งชาติ เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา

(๓) กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้แทนสมาคม ที่มีวัตถุประสงค์เกี่ยวกับธุรกิจขายตรงจ านวนหนึ่งคน ผู้แทนสมาคมที่มีวัตถุประสงค์เกี่ยวกับธุรกิจตลาดแบบ ตรงจ านวนหนึ่งคน และผู้แทนสมาคมหรือมูลนิธิที่มี วัตถุประสงค์เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคจ านวนสอง คน

(๔) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจ านวนสี่คน ซึ่งคณะรัฐมนตรี แต่งตั้งจากผู้ซึ่งมีความรู้ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการขาย ตรงหรือการตลาดแบบตรง ทั้งนี้ ต้องแต่งตั้งจาก ผู้ทรงคุณวุฒิภาคเอกชนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ให้เลขาธิการคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคเป็น กรรมการและเลขานุการ

ในการแต่งตั้งกรรมการตามวรรคหนึ่ง (๓) ให้บรรดา สมาคมที่มีวัตถุประสงค์เกี่ยวกับธุรกิจขายตรง สมาคมที่ มีวัตถุประสงค์เกี่ยวกับธุรกิจตลาดแบบตรง หรือสมาคม หรือมูลนิธิที่มีวัตถุประสงค์เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค แล้วแต่กรณีเสนอชื่อบุคคลที่เห็นสมควรต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณาแต่งตั้ง ส าหรับหลักเกณฑ์และวิธีการเสนอ ชื่อบุคคลให้เป็นไปตามระเบียบที่รัฐมนตรีก าหนด

มาตรา ๙

ประธานกรรมการและกรรมการต้องไม่ด ารง ต าแหน่ง หรือเป็นหุ้นส่วนหรือเป็นผู้ถือหุ้นเกินจ านวน ร้อยละสิบของจ านวนหุ้นทั้งหมดในห้างหุ้นส่วนหรือ บริษัทที่ประกอบธุรกิจขายตรงหรือตลาดแบบตรงใน ระยะหนึ่งปีก่อนด ารงต าแหน่งหรือระหว่างด ารงต าแหน่ง ประธานกรรมการหรือกรรมการ

มาตรา ๑๐

ให้กรรมการตามมาตรา ๘ (๑) (๓) และ (๔) มีวาระด ารงต าแหน่งคราวละสามปี กรรมการซึ่งพ้นจาก ต าแหน่งอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้แต่ไม่เกินสองวาระ ติดต่อกัน เมื่อครบก าหนดตามวาระดังกล่าวในวรรคหนึ่ง หากยัง มิได้มีการแต่งตั้งกรรมการขึ้นใหม่ให้กรรมการซึ่งพ้นจาก ต าแหน่งตามวาระนั้นอยู่ในต าแหน่งเพื่อด าเนินงาน ต่อไป จนกว่ากรรมการซึ่งได้รับแต่งตั้งใหม่เข้ารับหน้าที่

มาตรา ๑๑

นอกจากการพ้นจากต าแหน่งตามวาระตาม มาตรา ๑๐ กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งพ้นจาก ต าแหน่งเมื่อ

(๑) ตาย

(๒) ลาออก

(๓) เป็นบุคคลล้มละลาย

(๔) เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ ความสามารถ

(๕) ได้รับโทษจ าคุกโดยค าพิพากษาถึงที่สุดให้จ าคุก เว้น แต่เป็นโทษส าหรับความผิดที่ได้กระท าโดยประมาทหรือ ความผิดลหุโทษ

(๖) คณะรัฐมนตรีให้ออกเพราะบกพร่อง ไม่สุจริตต่อ หน้าที่มีความประพฤติเสื่อมเสียหรือหย่อน ความสามารถ ในกรณีที่กรรมการพ้นจากต าแหน่งก่อนวาระ คณะรัฐมนตรีอาจแต่งตั้งผู้อื่นเป็นกรรมการแทนได้และ ให้ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งให้ด ารงต าแหน่งแทนอยู่ในต าแหน่ง เท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการซึ่งตนแทน ในกรณีที่คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งกรรมการเพิ่มขึ้นใน ระหว่างที่กรรมการซึ่งแต่งตั้งไว้แล้วยังมีวาระอยู่ใน ต าแหน่ง ให้ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งให้เป็นกรรมการเพิ่มขึ้นอยู่ใน ต าแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการที่ได้รับ แต่งตั้งไว้แล้ว

มาตรา ๑๒

ในการประชุมคณะกรรมการ ถ้าประธาน กรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อยู่ในที่ประชุม ให้กรรมการ ที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ ประชุม การประชุมคณะกรรมการทุกคราวต้องมีกรรมการมา ประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ านวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้า คะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียง เพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด

มาตรา

๑๓ คณะกรรมการมีอ านาจและหน้าที่ดังต่อไปนี้

(๑) พิจารณาเรื่องร้องทุกข์จากผู้บริโภคที่ได้รับความ เดือดร้อนหรือเสียหายอันเนื่องมาจากการกระท าของผู้ จ าหน่ายอิสระ ตัวแทนขายตรง ผู้ประกอบธุรกิจขายตรง หรือผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรง

(๒) แจ้งหรือโฆษณาข่าวสารเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการที่ อาจก่อให้เกิดความเสียหายหรือเสื่อมเสียแก่สิทธิของ ผู้บริโภค ในการนี้จะระบุชื่อสินค้าหรือบริการ หรือชื่อของ ผู้จ าหน่ายอิสระ ตัวแทนขายตรง ผู้ประกอบธุรกิจขาย ตรง หรือผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงด้วยก็ได้

(๓) ก ากับดูแลผู้ประกอบธุรกิจขายตรงและผู้ประกอบ ธุรกิจตลาดแบบตรง รวมทั้งติดตามสอดส่องพฤติการณ์ ในการประกอบธุรกิจขายตรงและตลาดแบบตรง

(๔) วางระเบียบหรือประกาศเกี่ยวกับการปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้

(๕) พิจารณาวินิจฉัยการอุทธรณ์ค าสั่งของนายทะเบียน

(๖) เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบาย และมาตรการในการก ากับดูแล รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุน การประกอบธุรกิจขายตรงและตลาดแบบตรง และ พิจารณาให้ความเห็นในเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการ ประกอบธุรกิจขายตรงและตลาดแบบตรงตามที่ คณะรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีมอบหมาย

(๗) สอดส่องเร่งรัดพนักงานเจ้าหน้าที่ ส่วนราชการ หรือ หน่วยงานอื่นของรัฐให้ปฏิบัติการตามอ านาจและหน้าที่ ที่กฎหมายก าหนด ตลอดจนเร่งรัดพนักงานเจ้าหน้าที่ให้ ด าเนินคดีในความผิดตามพระราชบัญญัตินี้

(๘) เสนอแนะในการออกกฎกระทรวง ตาม พระราชบัญญัตินี้

(๙) เรื่องอื่นตามที่คณะรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีมอบหมาย ในการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรานี้ คณะกรรมการอาจ มอบหมายให้ส านักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค เป็นผู้ปฏิบัติการหรือเตรียมข้อเสนอมายังคณะกรรมการ เพื่อพิจารณาด าเนินการต่อไปได้

มาตรา ๑๔

คณะกรรมการจะแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ เพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดแทน คณะกรรมการก็ได้

มาตรา ๑๕

การประชุมของคณะอนุกรรมการให้น า มาตรา ๑๒ มาใช้บังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๑๖

ในการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา ๑๓ และ มาตรา ๑๔ คณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการมี อ านาจสั่งให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดมาให้ข้อเท็จจริง ค าอธิบาย ค าแนะน าหรือความเห็นหรือส่งเอกสารหรือ หลักฐานที่เกี่ยวข้องหรือสิ่งอื่นใดมาเพื่อประกอบการ พิจารณาได้

มาตรา ๑๗

ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ คณะกรรมการต้องให้โอกาสแก่ผู้ถูกกล่าวหาหรือสงสัย ว่ากระท าการอันเป็นการขัดต่อพระราชบัญญัตินี้ เพื่อ ชี้แจงข้อเท็จจริงและแสดงความคิดเห็นตามสมควร เว้น แต่ในกรณีที่จ าเป็นและเร่งด่วนหากปล่อยให้เนิ่นช้าไปจะ ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือ จะกระทบต่อประโยชน์สาธารณะ การก าหนดหรือการออกค าสั่งในเรื่องใดตาม พระราชบัญญัตินี้ ให้คณะกรรมการค านึงถึงความ เสียหายที่อาจเกิดขึ้นแก่ผู้บริโภค ผู้จ าหน่ายอิสระ ตัวแทนขายตรง ผู้ประกอบธุรกิจขายตรงและผู้ประกอบ ธุรกิจตลาดแบบตรง และในกรณีที่เห็นสมควร คณะกรรมการจะก าหนดเงื่อนไข หรือวิธีการชั่วคราวใน การบังคับให้เป็นไปตามการก าหนดหรือการออกค าสั่ง นั้นก็ได้

มาตรา ๑๘

ให้ส านักงานคณะกรรมการคุ้มครอง ผู้บริโภคตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้บริโภค รับผิดชอบในงานธุรการของคณะกรรมการและมีหน้าที่ รับค าขอจดทะเบียนการประกอบธุรกิจขายตรงและ ตลาดแบบตรง ติดตามสอดส่องพฤติการณ์ในการ ประกอบธุรกิจขายตรงและตลาดแบบตรงและปฏิบัติงาน ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้

หมวด ๒ การประกอบธุรกิจขายตรงและตลาดแบบ ตรง

มาตรา ๑๙

ห้ามมิให้ผู้ประกอบธุรกิจขายตรงและผู้ ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงด าเนินกิจการในลักษณะที่ เป็นการชักชวนให้บุคคลเข้าร่วมเป็นเครือข่ายในการ ประกอบธุรกิจขายตรงหรือในการประกอบธุรกิจตลาด แบบตรง โดยตกลงว่าจะให้ผลประโยชน์ตอบแทนจาก การหาผู้เข้าร่วมเครือข่ายดังกล่าวซึ่งค านวณจากจ านวน ผู้เข้าร่วมเครือข่ายที่เพิ่มขึ้น

ส่วนที่ ๑ การประกอบธุรกิจขายตรง

มาตรา ๒๐

ผู้ใดจะประกอบธุรกิจขายตรงต้องเป็นห้าง หุ้นส่วนหรือบริษัท และได้จดทะเบียนการประกอบธุรกิจ ขายตรงตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๒๑

ผู้ประกอบธุรกิจขายตรงต้องด าเนินกิจการ ให้เป็นไปตามแผนการจ่ายผลตอบแทนของตนที่ได้ยื่น ต่อนายทะเบียนตามมาตรา ๓๘ แผนการจ่ายผลตอบแทนต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้

(๑) ต้องไม่ก าหนดให้ผู้จ าหน่ายอิสระหรือตัวแทนขาย ตรงที่ไม่ใช่ลูกจ้างได้รับผลตอบแทนที่เป็นรายได้หลักจาก การรับสมัครบุคคลหรือแนะน าผู้จ าหน่ายอิสระหรือ ตัวแทนขายตรงที่ไม่ใช่ลูกจ้างอื่นเข้าร่วมเป็นเครือข่ายใน การประกอบธุรกิจขายตรง

(๒) ผลตอบแทนที่เป็นรายได้หลักของผู้จ าหน่ายอิสระ หรือตัวแทนขายตรงที่ไม่ใช่ลูกจ้างขึ้นอยู่กับการขาย สินค้าหรือบริการแก่ผู้บริโภค รวมไปถึงการซื้อเพื่อการใช้ หรือบริโภคเอง

(๓) ต้องไม่บังคับให้ผู้จ าหน่ายอิสระซื้อสินค้า

(๔) ต้องไม่ชักจูงให้ผู้จ าหน่ายอิสระซื้อสินค้าในปริมาณ มากเกินไปอย่างไม่สมเหตุผล

(๕) ต้องแสดงวิธีการคิดค านวณการจ่ายผลตอบแทนที่ ตรงต่อความเป็นจริง หรือเป็นไปได้จริงและอย่างเปิดเผย ชัดเจน

(๖) ลักษณะอื่นตามที่คณะกรรมการก าหนด แผนการจ่ายผลตอบแทนใดที่มีลักษณะแตกต่างไปจาก ที่ก าหนดไว้ในวรรคสองให้มีผลบังคับใช้เท่าที่เป็นธรรม แก่ผู้จ าหน่ายอิสระหรือตัวแทนขายตรงที่ไม่ใช่ลูกจ้าง

มาตรา ๒๒

ห้ามมิให้ผู้ประกอบธุรกิจขายตรงเรียกเก็บ ค่าธรรมเนียมการสมัครเข้าเป็นสมาชิก ค่าฝึกอบรม ค่า วัสดุอุปกรณ์ส่งเสริมการขาย หรือค่าธรรมเนียมอื่น ๆ อัน เกี่ยวเนื่องกับการเข้าร่วมเป็นเครือข่ายในการประกอบ ธุรกิจขายตรงจากผู้จ าหน่ายอิสระหรือตัวแทนขายตรงที่ ไม่ใช่ลูกจ้างในอัตราสูงกว่าที่คณะกรรมการประกาศ ก าหนด

มาตรา ๒๓

สัญญาระหว่างผู้จ าหน่ายอิสระกับผู้ ประกอบธุรกิจขายตรง ให้ท าเป็นหนังสือซึ่งอย่างน้อย ต้องมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

(๑) เงื่อนไขที่ชัดเจนเกี่ยวกับการจ่ายผลตอบแทนตาม แผนการจ่ายผลตอบแทน

(๒) เงื่อนไขที่ชัดเจนเกี่ยวกับค่าธรรมเนียมการสมัคร ค่า ฝึกอบรม ค่าวัสดุอุปกรณ์ส่งเสริมการขาย หรือ ค่าธรรมเนียมอื่น ๆ

(๓) เงื่อนไขที่ชัดเจนเกี่ยวกับการที่ผู้ประกอบธุรกิจขาย ตรงจะรับซื้อสินค้า วัสดุอุปกรณ์ส่งเสริมการขาย ชุดคู่มือ หรืออุปกรณ์ส่งเสริมธุรกิจคืนจากผู้จ าหน่ายอิสระ ตลอดจนก าหนดระยะเวลาที่ผู้จ าหน่ายอิสระสามารถใช้ สิทธิดังกล่าว

ความในวรรคหนึ่ง (๑) และ (๒) ให้น ามาใช้บังคับแก่ ตัวแทนขายตรงที่ไม่ใช่ลูกจ้างด้วย

มาตรา ๒๔

ในการน าสินค้าหรือบริการไปเสนอขายตรง ต่อผู้บริโภค ผู้จ าหน่ายอิสระต้องด าเนินการตามเงื่อนไข และแผนการขายที่ผู้ประกอบธุรกิจขายตรงก าหนด

มาตรา ๒๔/๑

ผู้ประกอบธุรกิจขายตรงและผู้จ าหน่าย อิสระต้องร่วมรับผิดต่อผู้บริโภคในความช ารุดบกพร่อง ของสินค้าหรือบริการที่ผู้จ าหน่ายอิสระขายให้แก่ ผู้บริโภคหรือความเสียหายที่ผู้จ าหน่ายอิสระนั้นได้ก่อขึ้น จากการไม่ปฏิบัติหน้าที่ของผู้จ าหน่ายอิสระตาม พระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๒๕

เมื่อผู้จ าหน่ายอิสระใช้สิทธิคืนสินค้า วัสดุ อุปกรณ์ส่งเสริมการขาย ชุดคู่มือหรืออุปกรณ์ส่งเสริม ธุรกิจที่ซื้อไปจากผู้ประกอบธุรกิจขายตรง ให้ผู้ประกอบ ธุรกิจขายตรงซื้อคืนตามราคาที่ผู้จ าหน่ายอิสระได้จ่าย ภายในระยะเวลาสิบห้าวันนับแต่วันที่ผู้จ าหน่ายอิสระใช้ สิทธิคืน แต่ในการใช้สิทธิคืนกรณีที่สัญญาตามมาตรา ๒๓ สิ้นสุดลง ผู้ประกอบธุรกิจขายตรงมีสิทธิหักค่า ด าเนินการได้ไม่เกินอัตราที่คณะกรรมการประกาศ ก าหนด และมีสิทธิหักกลบลบหนี้ใด ๆ อันเกี่ยวกับ สัญญาตามมาตรา ๒๓ ที่ผู้จ าหน่ายอิสระจะต้องช าระได้

มาตรา ๒๖

ในการเข้าไปติดต่อเพื่อเสนอขายสินค้า ให้แก่ผู้บริโภคโดยตรง ณ ที่อยู่อาศัยหรือสถานที่ท างาน ของผู้บริโภคหรือของผู้อื่น หรือสถานที่อื่นที่มิใช่สถานที่ ประกอบการค้าเป็นปกติธุระ ผู้จ าหน่ายอิสระหรือ ตัวแทนขายตรงจะต้องได้รับอนุญาตจากผู้บริโภคหรือผู้ ครอบครองสถานที่นั้นก่อนและต้องไม่กระท าการอันเป็น การรบกวนหรือก่อให้เกิดความร าคาญแก่บุคคลดังกล่าว ในการนี้ ผู้จ าหน่ายอิสระหรือตัวแทนขายตรงต้องแสดง บัตรประจ าตัวประชาชนและบัตรประจ าตัวผู้จ าหน่าย อิสระหรือตัวแทนขายตรงซึ่งออกโดยผู้ประกอบธุรกิจ ขายตรงด้วย

มาตรา ๒๖/๑

ในกรณีที่มีการย้ายส านักงาน ผู้ประกอบ ธุรกิจขายตรงต้องแจ้งเป็นหนังสือให้นายทะเบียนทราบ ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่มีการย้าย

มาตรา ๒๖/๒

ผู้ประกอบธุรกิจขายตรงต้องส่งรายงาน เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจต่อนายทะเบียนตามแบบ หลักเกณฑ์ และระยะเวลาที่คณะกรรมการประกาศ ก าหนด

ส่วนที่ ๒ การประกอบธุรกิจตลาดแบบตรง

มาตรา ๒๗

ห้ามมิให้ผู้ใดประกอบธุรกิจตลาดแบบตรง เว้นแต่จะได้จดทะเบียนการประกอบธุรกิจตลาดแบบตรง ตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๒๘

ข้อความในการสื่อสารข้อมูลเพื่อเสนอขาย สินค้าหรือบริการของผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรง ให้ เป็นไปตามที่ก าหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๒๙

ให้น าบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยการ คุ้มครองผู้บริโภค ในส่วนที่เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านการโฆษณามาใช้บังคับแก่การสื่อสารข้อมูล เพื่อ เสนอขายสินค้าหรือบริการของผู้ประกอบธุรกิจตลาด แบบตรงโดยอนุโลม โดยให้ถือว่าอ านาจหน้าที่ของ คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคเป็นอ านาจหน้าที่ของ รัฐมนตรี และให้ถือว่าอ านาจหน้าที่ของคณะกรรมการว่า ด้วยการโฆษณาเป็นอ านาจหน้าที่ของคณะกรรมการ

มาตรา ๒๙/๑

ให้น ามาตรา ๒๖/๑ มาใช้บังคับแก่การ ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงโดยอนุโลม

มาตรา ๒๙/๒

ผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงต้องส่ง รายงานเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจต่อนายทะเบียนตาม แบบ หลักเกณฑ์ และระยะเวลาที่คณะกรรมการ ประกาศก าหนด

หมวด ๓ การคุ้มครองผู้บริโภค

มาตรา ๓๐

ให้ผู้ประกอบธุรกิจขายตรงมีหน้าที่จัดท า เอกสารการซื้อขายสินค้าหรือบริการและให้ผู้จ าหน่าย อิสระหรือตัวแทนขายตรงมีหน้าที่ส่งมอบเอกสารการซื้อ ขายสินค้าหรือบริการนั้นแก่ผู้บริโภคพร้อมกับสินค้าหรือ บริการ ให้ผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงมีหน้าที่จัดท าเอกสาร การซื้อขายสินค้าหรือบริการและส่งมอบให้แก่ผู้บริโภค พร้อมกับสินค้าหรือบริการ เอกสารการซื้อขายตามวรรคหนึ่งและวรรคสองต้องมี ข้อความภาษาไทยที่อ่านเข้าใจง่าย โดยระบุชื่อผู้ซื้อและ ผู้ขาย วันที่ซื้อขาย และวันที่ส่งมอบสินค้าหรือบริการ รวมทั้งสิทธิของผู้บริโภคในการเลิกสัญญาซึ่งสิทธิเลิก สัญญาดังกล่าวต้องก าหนดด้วยตัวอักษรที่เห็นเด่นชัด กว่าข้อความทั่วไป

มาตรา ๓๑

คณะกรรมการมีอ านาจก าหนดรายละเอียด ในเอกสารการซื้อขายสินค้าหรือบริการที่ใช้วิธีการขาย ตรงหรือตลาดแบบตรง โดยถือเอาราคาสินค้าหรือบริการ ที่ผู้บริโภคได้รับการคุ้มครองและประเภทสินค้าหรือ บริการเป็นส าคัญ เอกสารการซื้อขายตามวรรคหนึ่ง อย่างน้อยต้องมี รายการดังต่อไปนี้

(๑) รายละเอียดตามมาตรา ๓๐

(๒) ก าหนดเวลา สถานที่ และวิธีการในการช าระหนี้

(๓) สถานที่ และวิธีการในการส่งมอบสินค้าหรือบริการ

(๔) วิธีการเลิกสัญญา

(๕) วิธีการคืนสินค้า

(๖) การรับประกันสินค้า

(๗) การเปลี่ยนสินค้าในกรณีมีความช ารุดบกพร่อง ประกาศก าหนดรายละเอียดในเอกสารการซื้อขายให้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๓๒

การซื้อขายสินค้าหรือบริการใดที่ผู้ประกอบ ธุรกิจขายตรง ผู้จ าหน่ายอิสระ ตัวแทนขายตรง หรือผู้ ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรง ฝ่ าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม มาตรา ๓๐ หรือมาตรา ๓๑ การซื้อขายสินค้าหรือบริการ นั้นไม่มีผลผูกพันผู้บริโภค

มาตรา ๓๓

ในการซื้อสินค้าหรือบริการจากการขายตรง หรือจากการขายผ่านตลาดแบบตรงผู้บริโภคมีสิทธิเลิก สัญญาโดยการส่งหนังสือแสดงเจตนาภายในเวลาเจ็ด วันนับแต่วันที่ได้รับสินค้าหรือบริการ ไปยังผู้ประกอบ ธุรกิจขายตรงหรือผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรง ส าหรับ ธุรกิจขายตรงผู้บริโภคจะแจ้งไปยังผู้จ าหน่ายอิสระหรือ ตัวแทนขายตรงที่เกี่ยวข้องก็ได้ บทบัญญัติตามวรรคหนึ่งไม่ใช้บังคับกับประเภท ราคา หรือชนิดของสินค้าหรือบริการตามที่ก าหนดในพระราช กฤษฎีกา

มาตรา ๓๔

ผู้บริโภคที่ใช้สิทธิเลิกสัญญาตามมาตรา ๓๓ ต้องเลือกปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้

(๑) ส่งคืนสินค้าไปยังผู้จาหน่ายอิสระ ตัวแทนขายตรง หรือผู้ประกอบธุรกิจขายตรง ในกรณีการขายตรง หรือ ส่งคืนสินค้าไปยังผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรง ในกรณี ตลาดแบบตรง

(๒) เก็บรักษาสินค้าไว้ตามสมควรภายในระยะเวลายี่สิบ เอ็ดวันนับแต่วันที่ใช้สิทธิเลิกสัญญา เว้นแต่สินค้านั้นเป็น ของเสียง่ายโดยสภาพไม่อาจเก็บรักษาได้ภายใน ระยะเวลาดังกล่าว ให้เก็บรักษาตามเวลาและวิธีการอัน ควรแก่สภาพ เมื่อพ้นก าหนดนั้นแล้ว ผู้บริโภคจะเก็บ รักษาสินค้านั้นไว้หรือไม่ก็ได้

ผู้บริโภคที่เลือกปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง (๒) มีหน้าที่ต้อง ส่งคืนสินค้าให้ผู้จ าหน่ายอิสระ ตัวแทนขายตรง ผู้ ประกอบธุรกิจขายตรง หรือผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบ ตรง แล้วแต่กรณี มารับคืน ณ ภูมิล าเนาของผู้บริโภค แต่ ถ้าผู้ประกอบธุรกิจขายตรงหรือผู้ประกอบธุรกิจตลาด แบบตรง ขอให้ผู้บริโภคส่งคืนสินค้าทางไปรษณีย์โดย เรียกเก็บเงินปลายทาง ภายในระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง (๒) ผู้บริโภคต้องส่งคืนสินค้านั้นตามคาขอของผู้ ประกอบธุรกิจดังกล่าว ถ้าสินค้าเป็นของใช้สิ้นเปลือง ผู้บริโภคมีหน้าที่คืนเฉพาะ ส่วนที่เหลือจากการใช้ก่อนใช้สิทธิเลิกสัญญา หลักเกณฑ์และวิธีการในการคืนสินค้าและบริการให้ เป็นไปตามที่ก าหนดในกฎกระทรวง ผู้บริโภคมีสิทธิที่จะยึดหน่วงสินค้าไว้ได้จนกว่าจะได้รับ คืนเงินที่ผู้บริโภคจ่ายไปในการซื้อสินค้านั้น

มาตรา ๓๕

ภายใต้บังคับมาตรา ๓๔ หากสินค้าหรือ บริการนั้นบุบสลาย หรือสูญหายเพราะความผิดของ ผู้บริโภค หรือผู้บริโภคได้ท าให้การคืนสินค้าหรือบริการ กลายเป็นพ้นวิสัย ให้ผู้บริโภคชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ผู้ จ าหน่ายอิสระ ตัวแทนขายตรง ผู้ประกอบธุรกิจขายตรง หรือผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรง แล้วแต่กรณี เว้นแต่ เป็นความเสียหายที่เกิดขึ้นตามปกติจากการเปิดการ ประกอบหรือการผสมเพื่อใช้สินค้าหรือบริการ

มาตรา ๓๖

เมื่อผู้บริโภคใช้สิทธิเลิกสัญญาตามมาตรา ๓๓ ให้ผู้จ าหน่ายอิสระ ตัวแทนขายตรง ผู้ประกอบธุรกิจ ขายตรง หรือผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงคืนเงินเต็ม จ านวนที่ผู้บริโภคจ่ายไปเพื่อการซื้อสินค้าหรือบริการนั้น ภายในก าหนดเวลาสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือ แสดงเจตนาเลิกสัญญา ในกรณีที่ผู้จ าหน่ายอิสระ ตัวแทนขายตรง ผู้ประกอบ ธุรกิจขายตรงหรือผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงใดไม่ คืนเงินตามจ านวนและภายในก าหนดระยะเวลาตาม วรรคหนึ่ง ให้ผู้จ าหน่ายอิสระ ตัวแทนขายตรง ผู้ประกอบ ธุรกิจขายตรงหรือผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงนั้น ช าระเบี้ยปรับตามอัตราที่คณะกรรมการประกาศก าหนด ให้แก่ผู้บริโภค

มาตรา ๓๗ ค ารับประกันสินค้าหรือบริการให้จัดท าเป็น ภาษาไทยและระบุถึงสิทธิของผู้บริโภคในการเรียกร้อง สิทธิตามค ารับประกันที่ชัดเจนและสามารถเข้าใจได้ถึง เงื่อนไขที่ระบุไว้

รายละเอียดเกี่ยวกับค ารับประกันสินค้าหรือบริการตาม วรรคหนึ่งให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการประกาศก าหนด

หมวด ๔ การจดทะเบียนการประกอบธุรกิจขาย ตรงและตลาดแบบตรง

มาตรา ๓๘

ห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือบุคคลใดประสงค์จะ ประกอบธุรกิจขายตรงหรือประกอบธุรกิจตลาดแบบตรง ให้ยื่นค าขอต่อนายทะเบียนตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ คณะกรรมการประกาศก าหนด ส าหรับผู้ประกอบธุรกิจขายตรง ให้ยื่นแผนการจ่าย ผลตอบแทนพร้อมกับค าขอตามวรรคหนึ่งด้วย ในกรณีจะแก้ไขเปลี่ยนแปลงแผนการจ่ายผลตอบแทน ผู้ ประกอบธุรกิจขายตรงต้องแจ้งการเปลี่ยนแปลงให้นาย ทะเบียนทราบก่อนจึงจะน าไปปฏิบัติได้

มาตรา ๓๘/๑

ผู้ยื่นค าขอจดทะเบียนการประกอบธุรกิจ ขายตรงต้องไม่เคยถูกเพิกถอนทะเบียนการประกอบ ธุรกิจขายตรงหรือตลาดแบบตรง ในระยะเวลาห้าปีก่อน วันยื่นค าขอจดทะเบียน และต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้

(๑) เป็นห้างหุ้นส่วนที่มีทุนจดทะเบียนไม่ต ่ากว่าห้าแสน บาท หรือเป็นบริษัทที่มีทุนจดทะเบียนและช าระแล้วไม่ ต ่ากว่าหนึ่งล้านบาท

(๒) มีหุ้นส่วนผู้จัดการ กรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการ หรือ บุคคลซึ่งรับผิดชอบในการด าเนินงานของห้างหุ้นส่วน หรือบริษัทซึ่งไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๘/๒

มาตรา ๓๘/๒

ผู้เป็นหุ้นส่วนผู้จัดการ กรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการ หรือบุคคลซึ่งรับผิดชอบในการด าเนินงานของผู้ ยื่นค าขอจดทะเบียนการประกอบธุรกิจขายตรง ต้องไม่มี ลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้

(๑) เป็นบุคคลล้มละลาย

(๒) เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ ความสามารถ

(๓) เคยได้รับโทษจ าคุกโดยค าพิพากษาถึงที่สุดให้จ าคุก เว้นแต่เป็นโทษส าหรับความผิดที่ได้กระท าโดยประมาท หรือความผิดลหุโทษ

(๔) เป็นหุ้นส่วนผู้จัดการ กรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการ หรือบุคคลซึ่งรับผิดชอบในการด าเนินงานของห้าง หุ้นส่วนหรือบริษัทอื่นที่จดทะเบียนการประกอบธุรกิจ ขายตรงหรือตลาดแบบตรง

(๕) เคยเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการ กรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการ หรือบุคคลซึ่งรับผิดชอบในการด าเนินงานของห้าง หุ้นส่วนหรือบริษัทที่เคยถูกเพิกถอนทะเบียนการ ประกอบธุรกิจขายตรงหรือตลาดแบบตรงในระยะเวลา ห้าปีก่อนวันยื่นค าขอจดทะเบียน

มาตรา ๓๘/๓

ผู้ยื่นค าขอจดทะเบียนการประกอบธุรกิจ ตลาดแบบตรงซึ่งเป็นบุคคลธรรมดา ต้องไม่เคยถูกเพิก ถอนทะเบียนการประกอบธุรกิจขายตรงหรือตลาดแบบ ตรงในระยะเวลาห้าปีก่อนวันยื่นค าขอจดทะเบียน และ ต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๘/๒

มาตรา ๓๘/๔

ผู้ยื่นค าขอจดทะเบียนการประกอบธุรกิจ ตลาดแบบตรงซึ่งเป็นนิติบุคคล ต้องไม่เคยถูกเพิกถอน ทะเบียนการประกอบธุรกิจขายตรงหรือตลาดแบบตรงใน ระยะเวลาห้าปีก่อนวันยื่นค าขอจดทะเบียน และต้องมี หุ้นส่วนผู้จัดการ กรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการ หรือบุคคล ซึ่งรับผิดชอบในการด าเนินงานของนิติบุคคลซึ่งไม่มี ลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๘/๒

มาตรา ๓๘/๕

ผู้ยื่นค าขอจดทะเบียนการประกอบธุรกิจ ขายตรงหรือตลาดแบบตรงต้องวางหลักประกันต่อนาย ทะเบียนเพื่อเป็นหลักประกันการปฏิบัติตาม พระราชบัญญัตินี้ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ ก าหนดในกฎกระทรวง กฎกระทรวงตามวรรคหนึ่งจะก าหนดวงเงินและ รายละเอียดให้แตกต่างกันโดยค านึงถึงขนาดหรือ ประเภทของการประกอบธุรกิจก็ได้ และให้มีการทบทวน วงเงินของหลักประกันทุกสามปี หลักประกันตามมาตรานี้ ได้แก่ เงินสด หนังสือค ้า ประกันของธนาคาร หรือพันธบัตรรัฐบาลไทยหรือ พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ ทั้งนี้ ตามที่คณะกรรมการประกาศ ก าหนด

มาตรา ๓๘/๖

ในกรณีที่ผู้ยื่นค าขอจดทะเบียนการ ประกอบธุรกิจขายตรงหรือตลาดแบบตรงวาง หลักประกันตามมาตรา ๓๘/๕ เป็นเงินสดไม่ว่าทั้งหมด หรือบางส่วน ให้นายทะเบียนเป็นผู้รับผิดชอบในการเปิด บัญชีเงินฝากประเภทออมทรัพย์แยกเป็นแต่ละบัญชี เพื่อประโยชน์ของผู้ประกอบธุรกิจขายตรงหรือผู้ประกอบ ธุรกิจตลาดแบบตรงแต่ละราย รวมทั้งการเบิกจ่ายเงิน จากบัญชีเงินฝากกับธนาคาร ทั้งนี้ ตามระเบียบที่ คณะกรรมการก าหนด ดอกผลที่เกิดจากเงินฝากตามวรรคหนึ่ง ให้ตกเป็นของผู้ ประกอบธุรกิจขายตรงหรือผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบ ตรงที่วางหลักประกันนั้น

มาตรา ๓๘/๗

หลักประกันที่ผู้ประกอบธุรกิจขายตรง หรือผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงวางไว้ตามมาตรา ๓๘/๕ หรือมาตรา ๔๑/๓ วรรคสี่ ไม่อยู่ในความรับผิด แห่งการบังคับคดี ในกรณีที่มีการโอนกิจการหรือเลิกประกอบธุรกิจ ผู้ ประกอบธุรกิจขายตรงหรือผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบ ตรงจะขอรับคืนหลักประกันที่วางไว้พร้อมทั้งดอกผลได้ก็ ต่อเมื่อได้แสดงหลักฐานว่าได้ช าระหนี้ที่เกิดขึ้นตาม พระราชบัญญัตินี้เสร็จสิ้นแล้ว ในกรณีที่ผู้ประกอบธุรกิจขายตรงหรือผู้ประกอบธุรกิจ ตลาดแบบตรงไม่มารับหลักประกันและดอกผลคืน ภายในห้าปีนับแต่วันที่โอนกิจการหรือวันที่เลิกประกอบ ธุรกิจ ให้หลักประกันและดอกผลนั้นตกเป็นของแผ่นดิน

มาตรา ๓๙

ค าขอจดทะเบียนการประกอบธุรกิจขายตรง และการประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงให้เป็นไปตามแบบ ที่คณะกรรมการประกาศก าหนด ซึ่งอย่างน้อยต้องมี รายการดังต่อไปนี้

(๑) ชื่อของผู้ประกอบธุรกิจขายตรงหรือผู้ประกอบธุรกิจ ตลาดแบบตรง

(๒) ภูมิล าเนาของผู้ประกอบธุรกิจขายตรงหรือผู้ ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรง

(๓) ประเภทหรือชนิดของสินค้าหรือบริการ

(๔) วิธีการขายสินค้าหรือบริการ

หมวด ๕ นายทะเบียน

มาตรา ๔๐

ในการปฏิบัติหน้าที่ของนายทะเบียนตาม พระราชบัญญัตินี้ ให้นายทะเบียนมีอ านาจเรียกบุคคลที่ เกี่ยวข้องมาให้ค าชี้แจง หรือให้ส่งเอกสารและหลักฐานที่ จ าเป็นมาเพื่อประกอบการพิจารณาหรือตรวจสอบได้

มาตรา ๔๑

เมื่อได้รับค าขอจดทะเบียนการประกอบ ธุรกิจขายตรงหรือตลาดแบบตรง ให้นายทะเบียน พิจารณาและตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้

(๑) แผนการจ่ายผลตอบแทนต้องไม่ขัดต่อกฎหมายหรือ ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของ ประชาชน

(๒) สินค้าหรือบริการมีลักษณะตรงตามที่ได้มีการสื่อสาร ข้อมูลเพื่อเสนอขาย

(๓) สัญญามีรายการถูกต้องและครบถ้วนตามที่ คณะกรรมการประกาศก าหนด

ในกรณีที่นายทะเบียนเห็นว่า การยื่นค าขอนั้นถูกต้อง ตามมาตรา ๓๘ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๓๙ และผู้ยื่นค า ขอมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๘/๑ มาตรา ๓๘/๓ หรือมาตรา ๓๘/๔ แล้ว ให้นาย ทะเบียนแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้ยื่นค าขอน าหลักประกันมา วางต่อนายทะเบียนภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้ รับค าขอจดทะเบียนการประกอบธุรกิจขายตรงหรือ ตลาดแบบตรง เมื่อผู้ยื่นค าขอจดทะเบียนวางหลักประกันตามมาตรา ๓๘/๕ ครบถ้วนแล้ว ให้นายทะเบียนรับจดทะเบียนการ ประกอบธุรกิจขายตรงหรือตลาดแบบตรง และแจ้งเป็น หนังสือให้ผู้ยื่นค าขอจดทะเบียนทราบภายในสิบห้าวัน นับแต่วันที่ได้รับหลักประกันนั้น

มาตรา ๔๑/๑

ในกรณีที่นายทะเบียนเห็นว่า การยื่นค า ขอจดทะเบียนการประกอบธุรกิจขายตรงหรือตลาดแบบ ตรงไม่ถูกต้องตามมาตรา ๓๘ วรรคหนึ่ง หรือมาตรา ๓๙ ให้นายทะเบียนมีหนังสือแจ้งให้ผู้ยื่นค าขอแก้ไขหรือ เปลี่ยนแปลงให้ถูกต้องภายในเวลาที่นายทะเบียน เห็นสมควร เมื่อผู้ยื่นค าขอได้แก้ไขหรือเปลี่ยนแปลง ถูกต้องและวางหลักประกันตามมาตรา ๓๘/๕ ครบถ้วน แล้ว ให้นายทะเบียนรับจดทะเบียนการประกอบธุรกิจ ขายตรงหรือตลาดแบบตรง และแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้ยื่น ค าขอทราบภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับเอกสาร ดังกล่าว ในกรณีที่ผู้ยื่นค าขอไม่ปฏิบัติตามหนังสือแจ้งที่ให้แก้ไข หรือเปลี่ยนแปลงภายในเวลาที่ก าหนดตามวรรคหนึ่ง หรือไม่วางหลักประกันให้ครบถ้วนตามมาตรา ๓๘/๕ ให้ นายทะเบียนมีค าสั่งไม่รับจดทะเบียนการประกอบธุรกิจ ขายตรงหรือตลาดแบบตรง และให้นายทะเบียนแจ้งเป็น หนังสือพร้อมทั้งเหตุผลให้ผู้ยื่นค าขอทราบภายในเจ็ดวัน นับแต่วันสิ้นก าหนดเวลาให้ปฏิบัติตามค าสั่ง

มาตรา ๔๑/๒

ในกรณีที่นายทะเบียนเห็นว่า ผู้ยื่นค าขอ จดทะเบียนการประกอบธุรกิจขายตรงหรือตลาดแบบ ตรงขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๘/๑ มาตรา ๓๘/๓ หรือมาตรา ๓๘/๔ ให้นายทะเบียน มีค าสั่งไม่รับจดทะเบียนการประกอบธุรกิจขายตรงหรือ ตลาดแบบตรง และให้นายทะเบียนแจ้งเป็นหนังสือ พร้อมทั้งเหตุผลให้ผู้ยื่นค าขอทราบภายในสามสิบวันนับ แต่วันที่ได้รับค าขอจดทะเบียนการประกอบธุรกิจขาย ตรงหรือตลาดแบบตรง

มาตรา ๔๑/๓

ผู้ประกอบธุรกิจขายตรงหรือผู้ประกอบ ธุรกิจตลาดแบบตรงซึ่งประสงค์จะโอนกิจการให้ยื่นค าขอ ต่อนายทะเบียน การโอนกิจการตามวรรคหนึ่งต้องโอนให้แก่ผู้มีคุณสมบัติ และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๘/๑ มาตรา ๓๘/๓ หรือมาตรา ๓๘/๔ และผู้รับโอนกิจการต้องรับโอน ทั้งสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดของผู้ประกอบธุรกิจขาย ตรงหรือผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงที่มีต่อผู้บริโภค

ให้น ามาตรา ๔๑/๔

วรรคสอง (๑) และวรรคสาม มาใช้ บังคับแก่การโอนกิจการโดยอนุโลม เมื่อนายทะเบียนตรวจสอบค าขอโอนกิจการและ หลักประกันที่ผู้รับโอนกิจการต้องวางตามมาตรา ๓๘/๕ แล้ว เห็นว่าถูกต้องและครบถ้วน ให้นายทะเบียนแก้ไข ทะเบียนให้ผู้รับโอนกิจการเป็นผู้ประกอบธุรกิจขายตรง หรือผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรง แล้วแต่กรณีต่อไป การขอโอนกิจการและการแก้ไขทะเบียน ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการประกาศก าหนด

มาตรา ๔๑/๔

ผู้ประกอบธุรกิจขายตรงหรือผู้ประกอบ ธุรกิจตลาดแบบตรงซึ่งประสงค์จะเลิกประกอบธุรกิจ ให้ ยื่นค าขอต่อนายทะเบียน เพื่อคุ้มครองประโยชน์ของผู้บริโภค ในการขอเลิก ประกอบธุรกิจตามวรรคหนึ่ง ผู้ประกอบธุรกิจขายตรง หรือผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงต้องปฏิบัติในเรื่อง ดังต่อไปนี้ให้แล้วเสร็จก่อนที่นายทะเบียนจะยกเลิกการ จดทะเบียน

(๑) ประกาศโฆษณาในหนังสือพิมพ์แห่งท้องที่อย่างน้อย หนึ่งคราว และส่งไปรษณีย์ตอบรับหรือส่งข้อมูลทางการ สื่อสารอื่นใดให้ผู้บริโภคที่ซื้อสินค้าหรือบริการซึ่งยังอยู่ใน ระยะเวลาการรับประกันทราบถึงการเลิกประกอบธุรกิจ เพื่อให้ใช้สิทธิตามพระราชบัญญัตินี้

(๒) ด าเนินการตามมาตรา ๓๓ มาตรา ๓๔ และมาตรา ๓๖

(๓) จัดให้มีผู้รับผิดชอบในการซ่อมแซมหรือให้บริการอื่น ใดเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการที่ยังอยู่ในระยะเวลาการ รับประกัน

(๔) ปฏิบัติการอื่นใดตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และ ระยะเวลาที่คณะกรรมการประกาศก าหนด

ห้ามผู้ประกอบธุรกิจขายตรงหรือผู้ประกอบธุรกิจตลาด แบบตรงเสนอขายหรือโฆษณาสินค้าหรือบริการ หรือท า สัญญาซื้อขายสินค้าหรือบริการกับผู้บริโภคนับแต่วันยื่น ค าขอเลิกประกอบธุรกิจตามวรรคหนึ่ง การเลิกประกอบธุรกิจขายตรงหรือตลาดแบบตรงไม่เป็น เหตุให้ผู้ประกอบธุรกิจดังกล่าวพ้นจากความรับผิดตาม พระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๔๑/๕

เมื่อมีผู้ร้องเรียนหรือปรากฏต่อนาย ทะเบียนว่าผู้บริโภคผู้ใดได้รับความเสียหายจากเหตุ ดังต่อไปนี้

(๑) ผู้ประกอบธุรกิจขายตรงหรือผู้ประกอบธุรกิจตลาด แบบตรงไม่ปฏิบัติตามสัญญาซื้อขายสินค้าหรือบริการ หรือตามพระราชบัญญัตินี้

(๒) ผู้ประกอบธุรกิจขายตรงหรือผู้ประกอบธุรกิจตลาด แบบตรงถูกเพิกถอนทะเบียนตามมาตรา ๔๒

ให้นายทะเบียนด าเนินการสอบหาข้อเท็จจริงโดยเร็วและ ให้รับฟังค าชี้แจงของผู้ประกอบธุรกิจขายตรงหรือผู้ ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงซึ่งถูกกล่าวหาประกอบด้วย และเสนอคณะกรรมการพิจารณาวินิจฉัยต่อไป ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการประกาศ ก าหนด

มาตรา ๔๑/๖

เมื่อปรากฏผลการพิจารณาวินิจฉัยตาม มาตรา ๔๑/๕ ว่า ผู้บริโภคผู้ใดได้รับความเสียหายจากผู้ ประกอบธุรกิจขายตรงหรือผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบ ตรงรายใดและเป็นจ านวนเงินเท่าใด ให้นายทะเบียน จ่ายเงินจากหลักประกันที่ผู้ประกอบธุรกิจขายตรงหรือผู้ ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงรายนั้นวางไว้เพื่อชดเชย ความเสียหายดังกล่าว

มาตรา ๔๑/๗

ในกรณีหลักประกันที่ผู้ประกอบธุรกิจขาย ตรงหรือผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงวางไว้ไม่เพียงพอ ที่นายทะเบียนจะจ่ายเงินเพื่อชดเชยความเสียหายแก่ ผู้บริโภคตามมาตรา ๔๑/๖ หรือลดลงเพราะได้มีการ จ่ายเงินเพื่อชดเชยความเสียหายดังกล่าว ให้นาย ทะเบียนสั่งเป็นหนังสือให้ผู้ประกอบธุรกิจขายตรงหรือผู้ ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงวางหลักประกันเพิ่มจนครบ ตามวงเงินที่ก าหนดในกฎกระทรวงภายในสิบห้าวันนับ แต่วันที่ได้รับค าสั่ง

มาตรา ๔๒

เมื่อปรากฏแก่นายทะเบียนว่าผู้ประกอบ ธุรกิจขายตรงหรือผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงผู้ใดมี พฤติการณ์ดังต่อไปนี้

(๑) ไม่ด าเนินกิจการให้เป็นไปตามแผนการจ่าย ผลตอบแทนตามที่ได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียน

(๒) ไม่รับผิดร่วมกับผู้จ าหน่ายอิสระต่อผู้บริโภคตาม มาตรา ๒๔/๑

(๓) ไม่แจ้งย้ายส านักงานต่อนายทะเบียนตามมาตรา ๒๖/๑ หรือมาตรา ๒๙/๑

(๔) ไม่รายงานเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจต่อนาย ทะเบียนตามมาตรา ๒๖/๒ หรือมาตรา ๒๙/๒

(๕) ไม่ใช้ข้อความในการสื่อสารข้อมูลเพื่อเสนอขาย สินค้าหรือบริการตามที่ก าหนดในกฎกระทรวงตาม มาตรา ๒๘

(๖) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๘/๑ มาตรา ๓๘/๓ หรือมาตรา ๓๘/๔

(๗) ไม่วางหลักประกันเพิ่มให้ครบถ้วนภายในสามเดือน นับแต่วันครบก าหนดเวลาตามมาตรา ๔๑/๗

(๘) หุ้นส่วนผู้จัดการ กรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการ หรือ บุคคลซึ่งรับผิดชอบในการด าเนินงานของนิติบุคคลได้รับ โทษจ าคุกโดยค าพิพากษาถึงที่สุดให้จ าคุกในความผิด ตามมาตรา ๔๖ มาตรา ๔๙ มาตรา ๕๑/๓ หรือมาตรา ๕๒/๑

ในกรณีตาม (๒) (๓) หรือ (๔) ให้นายทะเบียนมีหนังสือ แจ้งให้ผู้ประกอบธุรกิจขายตรงหรือผู้ประกอบธุรกิจ ตลาดแบบตรงแก้ไขหรือปรับปรุงให้ถูกต้องภายในเวลาที่ นายทะเบียนเห็นสมควร เมื่อครบก าหนดเวลาดังกล่าว แล้ว ผู้ประกอบธุรกิจขายตรงหรือผู้ประกอบธุรกิจตลาด แบบตรงยังไม่ด าเนินการให้ถูกต้อง ให้นายทะเบียนสั่ง เพิกถอนทะเบียนการประกอบธุรกิจขายตรงหรือตลาด แบบตรง แล้วแต่กรณี ในกรณีตาม (๑) (๕) (๖) (๗) หรือ (๘) ให้นายทะเบียน สั่งเพิกถอนทะเบียนการประกอบธุรกิจขายตรงหรือตลาด แบบตรง แล้วแต่กรณี ในกรณีที่ผู้ประกอบธุรกิจขายตรงและผู้ประกอบธุรกิจ ตลาดแบบตรงเป็นนิติบุคคลเดียวกัน ให้นายทะเบียนสั่ง เพิกถอนทั้งทะเบียนการประกอบธุรกิจขายตรงและ ตลาดแบบตรง เมื่อนายทะเบียนได้มีค าสั่งเพิกถอนทะเบียนการ ประกอบธุรกิจขายตรงหรือตลาดแบบตรงแล้ว ให้แจ้ง เป็นหนังสือพร้อมทั้งเหตุผลให้ผู้ประกอบธุรกิจขายตรง หรือผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงทราบภายในเจ็ดวัน นับแต่วันที่มีค าสั่งดังกล่าว

หมวด ๖ การอุทธรณ์

มาตรา ๔๓

ในกรณีที่ผู้ได้รับค าสั่งของนายทะเบียนตาม มาตรา ๔๑/๑ วรรคสอง มาตรา ๔๑/๒ มาตรา ๔๑/๗ หรือมาตรา ๔๒ ไม่เห็นด้วยกับค าสั่งดังกล่าว ให้มีสิทธิ อุทธรณ์เป็นหนังสือต่อคณะกรรมการภายในสามสิบวัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งค าสั่ง ค าวินิจฉัยของคณะกรรมการให้เป็นที่สุด

มาตรา ๔๔

หลักเกณฑ์และวิธีการยื่นอุทธรณ์ และวิธี พิจารณาอุทธรณ์ ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการ ก าหนด

หมวด ๗ บทก าหนดโทษ

มาตรา ๔๕

ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อ านวยความสะดวกแก่ พนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งปฏิบัติการตามมาตรา ๕ หรือไม่ ปฏิบัติตามค าสั่งของคณะกรรมการหรือค าสั่งของ คณะอนุกรรมการตามมาตรา ๑๖ หรือค าสั่งของนาย ทะเบียนตามมาตรา ๔๐ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกิน หนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจ าทั้ง ปรับ

มาตรา ๔๖

ผู้ใดฝ่ าฝืนมาตรา ๑๙ ต้องระวางโทษจ าคุก ไม่เกินห้าปีและปรับไม่เกินห้าแสนบาท

มาตรา ๔๗

ผู้ใดฝ่ าฝืนมาตรา ๒๐ ต้องระวางโทษจ าคุก ไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจ าทั้ง ปรับ และปรับอีกวันละไม่เกินสองหมื่นบาท ตลอดเวลาที่ ยังฝ่ าฝืนอยู่

มาตรา ๔๘

ผู้ใดฝ่ าฝืนมาตรา ๒๑ วรรคหนึ่ง ต้องระวาง โทษปรับไม่เกินสามแสนบาท

มาตรา ๔๙

ผู้ใดฝ่ าฝืนมาตรา ๒๒ มาตรา ๒๘ หรือ มาตรา ๒๙ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินหกเดือน หรือ ปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ

มาตรา ๕๐

ผู้ใดฝ่ าฝืนมาตรา ๒๓ หรือมาตรา ๒๕ ต้อง ระวางโทษปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท

มาตรา ๕๑

ผู้ใดฝ่ าฝืนมาตรา ๒๖ หรือมาตรา ๓๗ ต้อง ระวางโทษปรับไม่เกินสามหมื่นบาท

มาตรา ๕๑/๑

ผู้ใดฝ่ าฝืนมาตรา ๒๗ ต้องระวางโทษ จ าคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้ง จ าทั้งปรับ และปรับอีกวันละไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท ตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืนอยู่

มาตรา ๕๑/๒

ผู้ประกอบธุรกิจขายตรงหรือผู้ประกอบ ธุรกิจตลาดแบบตรงผู้ใดไม่จัดท าเอกสารการซื้อขาย สินค้าหรือบริการ หรือผู้จ าหน่ายอิสระ ตัวแทนขายตรง หรือผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงผู้ใดไม่ส่งมอบ เอกสารการซื้อขายสินค้าหรือบริการ หรือส่งมอบเอกสาร การซื้อขายสินค้าหรือบริการที่ไม่เป็นไปตามมาตรา ๓๐ วรรคหนึ่งหรือวรรคสอง ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้า หมื่นบาท

มาตรา ๕๑/๓

ผู้ประกอบธุรกิจขายตรงหรือผู้ประกอบ ธุรกิจตลาดแบบตรงผู้ใดจัดท าเอกสารการซื้อขายสินค้า หรือบริการที่มีข้อความอันเป็นเท็จ ต้องระวางโทษจ าคุก ไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจ า ทั้งปรับ

มาตรา ๕๒

ผู้ประกอบธุรกิจขายตรงใดไม่แจ้งการ เปลี่ยนแปลงแผนการจ่ายผลตอบแทนให้นายทะเบียน ทราบตามมาตรา ๓๘ วรรคสาม ต้องระวางโทษปรับไม่ เกินสามแสนบาท

มาตรา ๕๒/๑

ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๔๑/๓ หรือมาตรา ๔๑/ ๔ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกิน ห้าหมื่นบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ และปรับอีกวันละไม่เกิน ห้าพันบาท ตลอดเวลาที่ยังฝ่ าฝืนอยู่

มาตรา ๕๓

ผู้ใดกระท าความผิดต้องระวางโทษตาม พระราชบัญญัตินี้ เมื่อพ้นโทษแล้วยังไม่ครบก าหนดห้าปี กระท าความผิดต่อพระราชบัญญัตินี้อีก ต้องระวางโทษ เป็นสองเท่าของโทษที่ก าหนดไว้ส าหรับความผิดนั้น

มาตรา ๕๔

ในกรณีที่ผู้กระท าความผิดเป็นนิติบุคคล ถ้า การกระท าความผิดของนิติบุคคลนั้นเกิดจากการสั่งการ หรือการกระท าของกรรมการ หรือผู้จัดการ หรือบุคคลใด ซึ่งรับผิดชอบในการด าเนินงานของนิติบุคคลนั้น หรือใน กรณีที่บุคคลดังกล่าวมีหน้าที่ต้องสั่งการหรือกระท าการ และละเว้นไม่สั่งการหรือไม่กระท าการจนเป็นเหตุให้นิติ บุคคลนั้นกระท าความผิด ผู้นั้นต้องรับโทษตามที่บัญญัติ ไว้ส าหรับความผิดนั้น ๆ ด้วย

มาตรา ๕๕

บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ เว้น แต่กรณีตามมาตรา ๔๖ ให้คณะกรรมการมีอ านาจ เปรียบเทียบได้ และในการนี้ ให้คณะกรรมการมีอ านาจ มอบหมายให้คณะอนุกรรมการ พนักงานสอบสวนหรือ พนักงานเจ้าหน้าที่ด าเนินการเปรียบเทียบได้ โดยจะ ก าหนดหลักเกณฑ์ในการเปรียบเทียบหรือเงื่อนไข ประการใด ๆ ให้แก่ผู้ได้รับมอบหมายตามที่เห็นสมควรก็ ได้ ภายใต้บังคับของบทบัญญัติตามวรรคหนึ่ง ในการ สอบสวน ถ้าพนักงานสอบสวนพบว่าบุคคลใดกระท า ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ และบุคคลนั้นยินยอมให้ เปรียบเทียบ ให้พนักงานสอบสวนส่งเรื่องมายัง คณะกรรมการหรือผู้ซึ่งคณะกรรมการมอบหมายให้มี อ านาจเปรียบเทียบตามวรรคหนึ่งภายในเจ็ดวันนับแต่ วันที่ผู้นั้นแสดงความยินยอมให้เปรียบเทียบ เมื่อผู้กระท าความผิดได้เสียค่าปรับตามที่เปรียบเทียบ แล้ว ให้ถือว่าคดีเลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธี พิจารณาความอาญา

บทเฉพาะกาล

มาตรา ๕๖

ให้ผู้ประกอบธุรกิจขายตรงและผู้ประกอบ ธุรกิจตลาดแบบตรงที่ประกอบธุรกิจดังกล่าวอยู่แล้วใน วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ด าเนินการจดทะเบียน การประกอบธุรกิจขายตรงหรือตลาดแบบตรงภายใน หนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พันต ารวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๕ เป็นปีที่ ๕๗ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระ บรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรให้มีกฎหมายว่าด้วยการขายตรง และตลาดแบบตรง พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการ จ ากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระท าได้โดยอาศัยอ านาจ ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้น ไว้โดยค าแนะน าและยินยอมของรัฐสภาดังต่อไปน 푸미폰 아둔야뎃 국왕 현 왕조 57년(2002년 4월 23일) 푸미폰 아둔야뎃 국왕께서 직접판매 및 직접마케팅 관련 법률을 제정 하는 것이 마땅하다고 왕명을 내리신 바 이 법에는 태국 왕국 「헌법」 제29조 및 제50조와 관련된 개인의 권리와 자유를 제 한하는 특정 조항이 포함되어 있으며 이는 법률의 조항에 의거하여 행하도록 정한다. 이에 국왕께서는 의회의 조언과 동의를 받 아 다음의 법률을 제정하는 바이다.

제1조

이 법은 "「2002년 직접판매 및 직 접마케팅법」"이라 한다.

제2조

이 법은 관보에 고시하고 120일이 경과한 날부터 시행한다.

제3조

이 법에서 사용하는 용어의 뜻은 다 음과 같다. "직접판매"란 소비자 또는 다른 자의 거주 지나 근무지 또는 정상적인 영업장소가 아 닌 그 밖의 장소에서 직접판매 대리인이나 단일 또는 다단계 독립판매자를 통하여 상 품이나 서비스를 소비자에게 직접판매하는 형태로 마케팅하는 것을 말한다. 다만, 부 령에 따라 정해진 법률행위는 그러하지 아 니하다. "직접마케팅"이란 먼 거리에 위치한 소비 자에게 상품이나 서비스를 직접판매 하기 위하여 정보를 전달하며 각 소비자가 직접 마케팅 사업자로부터 상품이나 서비스 구 매에 응하는 것을 목적으로 하는 형태로 상 품이나 서비스를 마케팅하는 것을 말한다. 전자상거래를 통한 상품이나 서비스 거래 는 직접마케팅으로 간주되지 아니하며 이 는 부령에서 정한 원칙과 조건을 준수하여 야 한다. "소비자"란 구매자 또는 독립판매자, 직접 판매 대리인, 직접판매 사업자 또는 직접마 케팅 사업자로부터 서비스를 제공받은 자 또는 독립판매자, 직접판매 대리인, 직접판 매 사업자 또는 직접마케팅 사업자로부터 상품이나 서비스를 구매하도록 제안 또는 권유를 받은 자를 말한다. "독립판매자"란 직접판매 사업자로부터 상 품이나 서비스의 소유권을 이전 받아 소비 자에게 직접판매하는 자를 말한다. "직접판매 대리인"이란 직접판매 사업자로 부터 위임을 받아 상품이나 서비스를 소비 자에게 직접판매하는 자를 말한다. "합자회사"란 「민상법전」에 따른 등록합 자회사 또는 유한합자회사를 말한다. "회사"란 「민상법전」에 따른 유한회사 또는 공개유한회사에 관한 법률에 따른 공 개유한회사를 말한다. "구매"란 보수를 금전이나 그 밖의 이익으 로 제공하여 임차, 할부 구입 또는 그 밖의 방식으로 취득하는 행위를 말한다. "판매"란 보수를 금전이나 그 밖의 이익으 로 요구하여 임대, 할부판매 또는 그 밖의 방식으로 공급하는 행위를 말하며 그러한 목적으로 제안 또는 권유하는 것도 포함한 다. "상품"이란 판매를 위해 생산되거나 구비 한 물품을 말한다. "서비스"란 보수를 금전이나 그 밖의 이익 으로 요구하여 서비스, 재산 또는 사업에 대한 권리를 부여하거나 재산 또는 사업에 사용하거나 이익을 부여하는 행위를 말한 다. 다만, 노동법에 따른 고용은 포함되지 아니하다. "위원회"란 직접판매 및 직접마케팅 위원 회를 말한다. "위원"이란 직접판매 및 직접마케팅 위원 을 말한다. "등기관"이란 소비자보호위원회 사무총장 을 말한다. "담당관"이란 이 법에 따라 수행하도록 장 관이 임명한 사람을 말한다. "장관"이란 이 법의 시행을 책임지고 관리 하는 주무장관을 말한다.

제4조

총리는 이 법에 따른 책임을 지며 이 법에 따라 시행하기 위하여 담당관을 임명 하고 부령을 공포할 권한이 있다. 해당 부령은 관보에 고시한 날부터 시행한 다.

제5조

이 법에 따른 직무를 수행할 때 담당 관은 다음 각 항의 권한이 있다.

(1) 조사 또는 심사를 위하여 소환장을 발 부하여 진술하도록 하거나 문서로 사실을 진술 또는 소명하도록 하거나 장부, 등기서 류, 문서 또는 그 밖의 증서를 제출하도록 요구하는 권한

(2) 이 법에 따라 감독을 위하여 사실을 확 인하거나 서류 또는 증거물을 검토하기 위 하여 직접판매 사업자 또는 직접마케팅 사 업자의 영업시간 내에 영업장소에 출입할 권한

(3) 검사 또는 분석을 위한 샘플로 사용하 기 위하여 무상으로 적절하다고 판단되는 양의 상품을 수거할 권한. 다만, 소유자의 목적에 따른 상품 샘플의 수거 및 반환은 위원회에서 정한 원칙에 따른다.

첫 번째 단락 제(2)항에 따른 권한의 행사 는 소비자보호위원회 사무총장이 정한 규 칙을 준수하여야 하며 해당 규칙은 최소한 출입 전에 정당성을 밝히고, 부지 점유자에 게 출입 사유에 관한 기록을 제공하며 지휘 자에게 업무 결과를 보고하는 것에 대하여 정하여야 한다. 첫 번째 단락에 따른 직무를 수행할 때 관 계자는 적절한 편의를 제공하여야 한다.

제6조

이 법에 따른 직무를 수행할 때 담당 관은 신분증을 제시하여야 한다. 담당관 신분증은 위원회에서 정한 양식에 따른다.

제7조

이 법에 따라 직무를 수행할 때 위 원, 소위원, 등기관 및 담당관은 「형법 전」에 따른 공무원으로 본다.

제1장 직접판매 및 직접마케팅 위원 회

제8조

"직접판매 및 직접마케팅 위원회"라 하는 위원회는 다음과 같이 구성한다.

(1) 위원장 1명. 직접판매 및 직접마케팅 에 관한 지식 및 전문성을 보유하는 자 중 에서 내각이 임명한다.

(2) 당연직 위원으로서 국내무역국장, 산 업진흥국장, 경찰청장 및 식품의약품위원 회 사무총장

(3) 직접판매 사업과 관련된 목적을 가진 협회의 대표 중에서 내각이 임명하는 1명, 직접마케팅 사업과 관련된 목적을 가진 협 회의 대리인 1명 그리고 소비자 보호와 관 련된 목적을 가진 협회 또는 재단의 대리인 2명

(4) 직접판매 및 직접마케팅에 관한 지식 및 전문성을 보유하는 자 중에서 내각이 전 문가위원 4명을 임명하며 민간 부문에서 과반수 이상의 전문가위원을 임명하여야 한다.

소비자보호위원회 사무총장은 위원 및 간 사가 된다. 첫 번째 단락 제(3)항에 따른 위원을 임명 할 때 직접판매 사업과 관련된 목적을 가진 협회, 직접마케팅 사업과 관련된 목적을 가 진 협회 또는 소비자 보호와 관련된 목적을 가진 협회 또는 재단은 경우에 따라 적합한 후보자를 내각에 추천하여 심사하도록 한 다. 후보자 지명에 관한 원칙과 절차는 장 관이 제정하는 규정에 따른다.

제9조

위원장과 위원은 취임 전 1년간 또 는 재임기간 동안 직접판매 또는 직접마케 팅 사업을 운영하는 합자회사 또는 회사의 총 주식 중 10퍼센트 이상을 소유할 수 없 고 해당 합자회사 또는 회사에서 재직해서 는 아니 된다.

제10조

제8조제(1)항, 제(3)항 및 제(4)항 에 따른 위원의 임기는 3년으로 한다. 임기 만료로 퇴임한 위원은 재임이 가능하나 연 속하여 2회 이상 연임할 수 없다. 첫 번째 단락에 따른 임기가 만료된 시점에 새로운 위원이 임명되지 아니한 경우, 퇴임 한 위원은 새로운 위원이 임명될 때까지 해 당 직위를 유지한다.

제11조

제10조에 따른 임기 만료로 인한 위원직의 종료 외에 내각이 임명한 위원은 다음 각 항의 경우 해임된다.

(1) 사망

(2) 사임

(3) 파산자가 되는 경우

(4) 피성년후견인 또는 피한정후견인이 되 는 경우

(5) 징역의 확정판결을 받은 자. 다만, 과 실에 의한 범죄 또는 경범죄는 제외한다.

(6) 직무상의 결함, 잘못된 품행 또는 역량 부족으로 내각이 해임하는 경우 임기 만료 전에 위원의 궐위가 발생한 경 우, 내각은 다른 사람을 보궐위원으로 임명 할 수 있고 보궐위원은 전임 위원의 잔여 기간 동안 직무를 수행한다. 임명된 위원의 임기 중에 내각이 추가로 위 원을 임명하는 경우, 추가 위원으로 임명된 위원은 이미 임명된 위원의 잔여 임기 동안 직무를 수행한다.

제12조

위원회 회의에서는 위원장이 회의 에 참석하지 아니하거나 출석하지 아니하 는 경우, 출석한 위원 중 1명의 위원을 회 의를 주재할 의장으로 선출한다. 위원회 회의마다 정족수를 구성하기 위하 여 출석한 위원 수의 절반 이상이 참석하여 야 한다. 회의의 결정은 다수결로 이루어진다. 각 위 원은 하나의 표결권이 주어지며 가부동수 인 때에는 의장이 결정표로 추가 표결권을 행사하여야 한다.

제13조

위원회는 다음 각 항의 권한과 의 무가 있다.

(1) 독립판매자, 직접판매 대리인, 직접판 매 사업자 또는 직접마케팅 사업자의 행위 때문에 문제 또는 손해를 입은 소비자의 불 만 사항을 검토한다.

(2) 소비자에게 손해를 입거나 권리를 침 해할 수 있는 상품이나 서비스에 대한 소식 을 알리거나 선전한다. 이 경우에는 상품이 나 서비스의 명칭 또는 독립판매자, 직접판 매 대리인, 직접판매 사업자 또는 직접마케 팅 사업자의 명칭도 명시할 수 있다.

(3) 직접판매 및 직접마케팅 사업 운영에 대한 행위의 감시와 더불어 직접판매 사업 자 또는 직접마케팅 사업자를 감독한다.

(4) 이 법에 따른 시행에 관한 규칙을 수립 하거나 고시한다.

(5) 등기관의 명령에 대한 이의제기를 심 사한다.

(6) 감독에 관한 정책 및 조치에 대해 내각 에 건의하고 직접판매 및 직접마케팅 사업 운영을 촉진하고 지원하며 내각 또는 장관 이 위임한 바에 따라 직접판매 및 직접마케 팅 사업 운영과 관련된 다양한 사안에 대한 의견을 제시한다.

(7) 담당관, 관공서 및 다른 정부기관이 법 률에서 정한 권한과 의무를 준수하도록 감 시하고 촉구하며 담당관이 이 법에 따른 범 법행위에 대한 법적 조치를 이행하도록 촉 구한다.

(8) 이 법에 따른 부령을 공포하도록 권고 한다.

(9) 내각 또는 장관이 위임하는 그 밖의 사 항을 수행한다. 이 조에 따라 직무를 수행할 때 위원회는 소비자보호위원회 사무국을 지정하여 조치 를 취하게 하거나 위원회의 추가 조치 검토 를 위하여 위원회에 제출할 건의안을 준비 하게 할 수 있다.

제14조

위원회는 위원회를 대신하여 심사 하거나 직무를 수행하기 위하여 소위원회 를 둘 수 있다.

제15조

소위원회 회의는 제12조를 준용한 다.

제16조

제13조 및 제14조에 따른 직무를 수행할 때 위원회 또는 소위원회는 심사를 위하여 특정인에게 사실관계, 설명, 권고 또는 의견을 제공하도록 명령하거나 관련 서류, 증거 또는 그 밖의 물건을 제출하도 록 명령할 수 있다.

제17조

이 법에 따른 직무를 수행할 때 위 원회는 이 법을 위반한 피의자 또는 용의자 가 사실관계를 설명하고 필요한 의견을 제 시할 수 있도록 기회를 제공하여야 한다. 다만, 긴급히 필요하고 지연되면 심각한 손 해를 입히거나 공익에 영향을 미치는 경우 에는 그러하지 아니하다. 이 법에 따른 모든 사안에 대한 결정 또는 명령을 할 때 위원회는 소비자, 독립판매 자, 직접판매 대리인, 직접판매 사업자 및 직접마케팅 사업자에게 발생할 수 있는 손 해를 고려하여야 하며 필요하다고 판단되 는 경우, 해당 결정 또는 명령에 따라 강제 할 수 있는 임시 조건이나 방법을 정할 수 있다.

제18조

소비자 보호에 관한 법률에 따른 소비자보호위원회 사무국은 위원회의 사무 를 담당하며 직접판매 및 직접마케팅 사업 등록 신청을 접수하고 직접판매 및 직접마 케팅 사업 운영에 대한 행위를 감시하는 업 무를 담당하며 이 법에 따른 직무를 수행한 다.

제2장 직접판매 및 직접마케팅 사업 운영

제19조

직접판매 사업자 및 직접마케팅 사 업자는 직접판매 사업 또는 직접마케팅 사 업 운영을 위한 네트워크에 참여하도록 사 람에게 권유하고 네트워크 참여자를 구하 여 증가한 네트워크 참여자의 인원수에 따 라 계산하여 보수를 지급하는 방식의 사업 운영을 해서는 아니 된다.

제1절 직접판매 사업 운영

제20조

직접판매 사업을 운영하는 자는 합 자회사 또는 회사여야 하며 이 법에 따라 직접판매 사업을 등록하여야 한다.

제21조

직접판매 사업자는 제38조에 따라 등기관에게 제출한 보수지급계획에 따라 사업을 운영하여야 한다. 보수지급계획은 다음 각 항의 특성을 갖추 어야 한다.

(1) 해당인을 모집하거나 직원이 아닌 다 른 독립판매자 또는 직접판매 대리인을 직 접판매 사업을 운영하기 위한 네트워크에 가입하도록 소개하여 받는 보수가 직원이 아닌 독립판매자 또는 직접판매 대리인의 주요 수입원이 되어서는 아니 된다.

(2) 직원이 아닌 독립판매자 또는 직접판 매 대리인의 주요 수입인 보수는 소비자에 게 상품이나 서비스를 판매하는 것에 달려 있으며 개인적인 용도로 상품이나 서비스 를 구매하는 경우도 포함된다.

(3) 독립판매자에게 상품을 구매하도록 강 요해서는 아니 된다.

(4) 독립판매자에게 불합리하게 과도한 수 량의 상품을 구매하도록 유도해서는 아니 된다.

(5) 보수 계산 방법은 사실에 부합하고 현 실적으로 가능하며 명확하고 공개적으로 제시되어야 한다.

(6) 위원회에서 정한 그 밖의 특성 두 번째 단락에서 정한 것과 특성이 다른 보수지급계획은 직원이 아닌 독립판매자 또는 직접판매 대리인에게 공정한 범위 내 에서 적용한다.

제22조

직접판매 사업자는 회원 가입비, 교 육비, 홍보비용 또는 직접판매 사업을 위한 네트워크 참여와 관련된 그 밖의 수수료를 위원회에서 정한 것보다 높은 요율로 직원 이 아닌 독립판매자 또는 직접판매 대리인 에게 부과할 수 없다.

제23조

독립판매자와 직접판매 사업자 간 의 계약은 서면으로 체결되며 최소한 다음 각 항의 세부사항을 포함하여야 한다.

(1) 보수지급계획에 따른 명확한 보수 지 급 조건

(2) 가입비, 교육비, 홍보비용 또는 그 밖 의 수수료에 대한 명확한 조건

(3) 직접판매 사업자가 독립판매자로부터 상품, 홍보물, 설명서 또는 사업 추진 장비 를 환매하는 것에 대한 명확한 조건과 독립 판매자가 해당 권리를 행사할 수 있는 기간 에 대한 명확한 조건

첫 번째 단락 제(1)항 및 제(2)항의 규정 은 직원이 아닌 직접판매 대리인에게도 적 용한다.

제24조

소비자에게 상품이나 서비스를 직 접판매하는 경우, 독립판매자는 직접판매 사업자가 정한 조건과 판매계획에 따라야 한다.

제24조의1

직접판매 사업자 및 독립판매자 는 독립판매자가 소비자에게 판매한 상품 이나 서비스의 결함 또는 독립판매자가 이 법에 따른 의무를 이행하지 아니하여 독립 판매자가 발행시킨 손해에 대하여 공동책 임을 부담한다.

제25조

독립판매자가 직접판매 사업자로 부터 구매한 상품, 홍보물, 설명서 또는 사 업 추진 장비를 반품할 권리를 행사하는 경 우, 직접판매 사업자는 독립판매자가 반품 권을 행사한 날부터 15일 이내에 독립판매 자가 지급한 대금에 따라 환매하여야 한다. 다만, 제23조에 따른 계약이 종료된 경우, 반품권을 행사할 때 직접판매 사업자는 위 원회에서 정한 요율 이하의 범위에서 운영 비를 공제할 수 있으며 제23조에 따라 독 립판매자가 지불해야 하는 계약과 관련된 모든 채무를 상계할 권리가 있다.

제26조

소비자 또는 다른 자의 거주지, 근 무지 및 그 밖의 정상적인 영업장소가 아닌 장소에서 소비자에게 상품을 직접판매하기 위하여 연락하는 경우, 독립판매자 또는 직 접판매 대리인은 소비자나 해당 장소의 점 유자로부터 먼저 허가를 받아야 하며 해당 인을 방해하거나 괴롭히는 행동을 해서는 아니 된다. 이 경우 독립판매자 또는 직접 판매 대리인은 본인의 신분증 및 직접판매 사업자가 발행한 독립판매자 또는 직접판 매 대리인의 신분증을 함께 제시하여야 한 다.

제26조의1

사무실을 이전하는 경우, 직접 판매 사업자는 이전일부터 15일 이내에 등 기관에게 서면으로 통지하여야 한다.

제26조의2

직접판매 사업자는 위원회에서 정한 양식, 원칙 및 기간에 따라 사업활동 에 관한 보고서를 등기관에게 제출하여야 한다.

제2절 직접마케팅 사업 운영

제27조

이 법에 따라 직접마케팅 사업을 등록한 경우를 제외하고, 누구도 직접마케 팅 사업을 운영할 수 없다.

제28조

직접마케팅 사업자의 상품이나 서 비스 판매를 위한 정보 전달에 관한 문자는 부령에서 정하는 바에 따른다.

제29조

직접판매 사업자의 상품이나 서비 스를 판매하기 위한 정보의 전달에는 소비 자 보호 관련 법률 중 광고에 관한 부분의 소비자 보호에 관한 규정을 준용한다. 소비 자보호위원회의 권한과 의무는 장관의 권 한과 의무로 간주되며 광고위원회의 권한 과 의무는 위원회의 권한과 의무로 간주된 다.

제29조의1

제26조의1의 조항은 직접마케 팅 사업 운영에 준용된다.

제29조의2

직접마케팅 사업자는 위원회에 서 정한 양식, 원칙 및 기간에 따라 사업활 동에 관한 보고서를 등기관에게 제출하여 야 한다.

제3장 소비자 보호

제30조

직접판매 사업자는 상품이나 서비 스 거래서류를 작성할 의무가 있으며 독립 판매자 또는 직접판매 대리인은 해당 상품 이나 서비스 거래서류를 소비자에게 상품 이나 서비스와 함께 전달할 의무가 있다. 직접마케팅 사업자는 상품이나 서비스 거 래서류를 작성할 의무가 있으며 소비자에 게 상품이나 서비스와 함께 전달할 의무가 있다. 첫 번째 단락 및 두 번째 단락에 따른 거래 서류는 소비자의 계약해지권을 포함하여 구매자와 판매자의 이름, 거래일 및 상품이 나 서비스 양도일자를 명시하여 쉽게 읽고 이해할 수 있는 태국어로 된 내용을 포함하 여야 한다. 해당 계약해지권은 일반적인 내 용보다 눈에 잘 띄는 글자로 명시되어야 한 다.

제31조

위원회는 소비자가 보호 대상 상품 이나 서비스의 가격과 상품이나 서비스의 종류를 중요시하여 직접판매 및 직접마케 팅 방식을 이용한 상품이나 서비스의 거래 서류에 대한 세부사항을 정할 권한이 있다. 첫 번째 단락에 따른 거래서류에는 최소한 다음 각 항의 세부사항이 포함되어야 한다.

(1) 제30조에 따른 세부사항

(2) 변제 기한, 장소 및 방법

(3) 상품이나 서비스를 양도하는 장소 및 방법

(4) 계약을 해지하는 방법

(5) 반품 방법

(6) 상품 보증

(7) 상품에 하자가 있을 경우, 교환 방법 거래서류 세부사항을 지정하는 공고는 관 보에 게재한다.

제32조

직접판매 사업자, 독립판매자, 직접 판매 대리인 또는 직접마케팅 사업자가 제 30조 또는 제31조를 위반하거나 준수하지 아니한 상품이나 서비스를 거래한 경우, 해 당 상품이나 서비스 거래는 소비자에게 구 속력을 가지지 아니한다.

제33조

직접판매 또는 직접마케팅을 통해 상품이나 서비스를 거래한 경우, 소비자는 상품 또는 서비스를 받은 날부터 7일 이내 에 직접판매 사업자 또는 직접마케팅 사업 자에게 서면으로 통지하여 계약을 해지할 수 있다. 직접판매 사업의 경우, 소비자는 관련 독립판매자 또는 직접판매 대리인에 게도 통지할 수 있다. 첫 번째 단락의 조항은 칙령에서 정한 상품 이나 서비스의 유형, 가격 또는 종류에 적 용하지 아니한다.

제34조

제33조에 따라 계약해지권을 행사 하는 소비자는 다음 각 항의 어느 하나를 선택하여 이행하여야 한다.

(1) 직접판매의 경우, 독립판매자, 직접판 매 대리인 또는 직접판매 사업자에게 상품 을 반품하거나 직접마케팅의 경우, 직접마 케팅 사업자에게 상품을 반품한다.

(2) 계약해지권을 행사한 날부터 21일째 까지 상품을 적절하게 보존한다. 다만, 상 품이 쉽게 부패하여 해당 기간 동안 보존할 수 없는 경우, 상품의 상태에 적합한 기간 과 방법에 따라 보존한다. 해당 기간이 경 과하면 소비자는 상품을 보존하거나 보존 하지 않을 수 있다.

첫 번째 단락 제(2)항에 따라 선택하여 이 행하는 소비자는 독립판매자, 직접판매 대 리인, 직접판매 사업자 또는 직접마케팅 사 업자에게 상품을 반품할 의무가 있으며 경 우에 따라 소비자의 거주지로 상품을 반품 받으러 올 수 있다. 다만, 직접판매 사업자 또는 직접마케팅 사업자가 첫 번째 단락 제 (2)항에 따른 기간 내에 소비자에게 상품 을 착불 우편으로 반품할 것을 요청한 경 우, 소비자는 해당 사업자의 요청에 따라 상품을 반품하여야 한다. 상품이 소모품인 경우, 소비자는 계약해지 권을 행사하기 전에 사용하고 남아있는 부 분만 반환할 의무가 있다. 상품이나 서비스 반품 원칙과 절차는 부령 에서 정한 바에 따른다. 상품 구매 대금이 소비자에게 환불될 때까 지 소비자는 상품에 대한 유치권을 갖는다.

제35조

제34조의 규정에 따라 소비자의 귀 책사유로 상품이나 서비스가 훼손되거나 멸실된 경우 또는 소비자가 상품이나 서비 스의 반품을 불가능하게 만든 경우, 소비자 는 경우에 따라 독립판매자, 직접판매 대리 인, 직접판매 사업자 또는 직접마케팅 사업 자에게 변상하여야 한다. 다만, 상품이나 서비스 이용을 위한 개봉 후 조립 또는 혼 합으로 인하여 일반적으로 발생하는 손상 의 경우에는 그러하지 아니하다.

제36조

소비자가 제33조에 따라 계약해지 권을 행사하는 경우, 독립판매자, 직접판매 대리인, 직접판매 사업자 또는 직접마케팅 사업자는 계약해지 통지서를 받은 날부터 15일 이내에 소비자가 지불한 상품이나 서 비스의 구매 대금 전액을 환불하여야 한다. 독립판매자, 직접판매 대리인, 직접판매 사 업자 또는 직접마케팅 사업자가 첫 번째 단 락에서 정한 기간과 금액에 따라 환불하지 아니한 경우, 해당 독립판매자, 직접판매 대리인, 직접판매 사업자 또는 직접마케팅 사업자는 소비자에게 위원회에서 정한 요 율에 따른 벌과금을 납부하여야 한다.

제37조 상품이나 서비스 보증은 태국어로 작성되어야 하며 보증에 따른 권리주장에 관한 소비자의 권리를 명확하게 명시하여 해당 조건을 이해할 수 있도록 작성하여야 한다.

첫 번째 단락에 따른 상품이나 서비스 보증 에 관한 세부사항은 위원회가 정하는 바에 따른다.

제4장 직접판매 및 직접마케팅 사업 등록

제38조

합자회사, 회사, 직접판매 또는 직 접마케팅 사업을 운영하려는 사람은 위원 회에서 정한 원칙과 절차에 따라 등기관에 게 신청서를 제출하여야 한다. 직접판매 사업자의 경우에는 첫 번째 단락 의 신청서와 함께 보수지급계획을 제출하 여야 한다. 보수지급계획을 변경하는 경우, 직접판매 사업자는 변경사항을 실행하기 전에 등기 관에게 이를 통지하여야 한다.

제38조의1

직접판매 사업 등록 신청인은 등록신청일부터 5년 이내에 직접판매 또는 직접마케팅 사업 등록이 취소된 적이 없어 야 하며 다음 각 항의 자격을 갖추어야 한 다.

(1) 등록 자본금이 50만 밧 이상인 합자회 사나 등록 및 납부 자본금이 100만 밧 이 상인 회사이다.

(2) 제38조의2에 따른 결격사유에 해당하 지 아니하는 업무집행사원 , 전무이사, 관 리자 또는 합자회사 또는 회사의 경영책임 자를 둔다.

제38조의2

직접판매 사업 등록신청인의 업 무집행사원, 전무이사, 관리자 또는 합자회 사나 회사의 경영책임자는 다음 각 항의 결 격사유가 없어야 한다.

(1) 파산자

(2) 피성년후견인 또는 피한정후견인

(3) 징역의 확정판결을 받은 자. 다만, 과 실에 의한 범죄 또는 경범죄는 제외한다.

(4) 직접판매 또는 직접마케팅 사업을 등 록한 다른 합자회사 또는 다른 회사의 업무 집행사원, 전무이사, 관리자 또는 경영책임 자

(5) 등록신청일부터 5년 이내에 직접판매 또는 직접마케팅 사업 등록이 취소된 합자 회사 또는 회사의 업무집행사원, 전무이사, 관리자 또는 경영책임자

제38조의3

직접마케팅 사업의 등록을 신청 하는 자연인은 등록신청일부터 5년 이내에 직접판매 또는 직접마케팅 사업 등록이 취 소된 적이 없어야 하며 제38조의2에 따른 결격사유가 없어야 한다.

제38조의4

직접마케팅 사업의 등록을 신청 하는 법인은 등록신청일부터 5년 이내에 직접판매 또는 직접마케팅 사업 등록이 취 소된 적이 없어야 하며 제38조의2에 따른 결격사유에 해당하지 아니하는 업무집행사 원, 전무이사, 관리자 또는 경영책임자를 두어야 한다.

제38조의5

이 법을 준수하기 위한 목적으 로 직접판매 또는 직접마케팅 사업 등록 신 청인은 부령에서 정한 원칙, 절차 및 조건 에 따라 등기관에게 담보를 제공하여야 한 다. 첫 번째 단락에 따른 부령은 사업 규모나 유형을 고려하여 금액과 세부사항을 다르 게 지정할 수 있으며 담보 금액은 3년마다 심의하여야 한다. 이 조에 따른 담보는 현금, 은행보증서, 태 국 국채 또는 국영기업 채권이며 이는 위원 회가 정하는 바에 따른다.

제38조의6

직접판매 또는 직접마케팅 사업 등록 신청인이 제38조의5에 따라 담보의 전부 또는 일부를 현금으로 제공하는 경우, 각각의 직접판매 사업자 또는 직접마케팅 사업자의 이익을 위해 등기관은 은행 예금 계좌에서 금전을 지출하는 것을 포함하여 각 계좌로 분리하여 저축형 예금계좌 개설 을 담당하며 이는 위원회가 정하는 규칙에 따른다. 첫 번째 단락에 따라 예금에서 발생하는 모 든 수익은 담보를 제공한 직접판매 사업자 또는 직접마케팅 사업자에게 귀속된다.

제38조의7

제38조의5 또는 제41조의3 네 번째 단락에 따라 직접판매 사업자 또는 직 접마케팅 사업자가 제공한 담보는 집행의 대상이 되지 아니하다. 영업을 양도하거나 폐업하는 경우, 직접판 매 사업자 또는 직접마케팅 사업자는 이 법 에 따라 발생한 채무를 청산하였음을 입증 하였을 때에 제공한 담보 및 수익의 반환을 요청할 수 있다. 직접판매 사업자 또는 직접마케팅 사업자 가 영업 양도일 또는 폐업일부터 5년 이내 에 담보 및 수익을 반환하지 아니하는 경 우, 해당 담보 및 수익은 국가 재산에 귀속 된다.

제39조

직접판매 또는 직접마케팅 사업 등 록신청서는 위원회에서 정한 양식에 따르 며 최소한 다음을 포함하여야 한다.

(1) 직접판매 사업자 또는 직접마케팅 사 업자의 명칭

(2) 직접판매 사업자 또는 직접마케팅 사 업자의 거주지

(3) 상품이나 서비스의 유형 또는 종류

(4) 상품이나 서비스를 판매하는 방법

제5장 등기관

제40조

이 법에 따라 등기관의 직무를 수 행할 때 등기관은 심사 또는 조사를 위해 관련자를 소환하여 진술을 하게 하거나 필 요한 서류 또는 증거를 제출하게 할 권한이 있다.

제41조

직접판매 또는 직접마케팅 사업 등 록신청서를 접수한 경우, 등기관은 다음 각 항의 사항을 심사하고 조사한다.

(1) 보수지급계획은 법률, 공공질서 또는 국민의 선량한 도덕을 위반하지 아니하여 야 한다.

(2) 상품이나 서비스는 판매를 위해 전달 된 정보와 일치하여야 한다.

(3) 계약에는 위원회가 정하는 바에 따라 정확하고 완전한 사항을 포함하여야 한다.

등기관은 신청서가 제38조 첫 번째 단락 및 제39조에 따라 부합하며 제38조의1, 제 38조의3 또는 제38조의4에 따라 신청인이 자격을 갖추고 결격사유에 해당하지 아니 하는 것으로 판단하는 경우, 등기관은 직접 판매 또는 직접마케팅 사업 등록신청서를 접수한 날부터 30일 이내에 신청인에게 담 보 제공에 관하여 서면으로 통지하여야 한 다. 신청인이 제38조의5에 따라 담보 제공을 완료한 경우, 등기관은 직접판매 또는 직접 마케팅 사업의 등록을 수락하며 담보를 수 령한 날부터 15일 이내에 신청인에게 서면 으로 통지하여야 한다.

제41조의1

등기관은 직접판매 또는 직접마 케팅 사업 등록 신청이 제38조 첫 번째 단 락 또는 제39조에 부합하지 아니하는 것으 로 판단하는 경우, 등기관은 적절한 기간 내에 신청인에게 정정 또는 변경을 서면으 로 요구한다. 신청인이 해당 정정 또는 변 경을 수행하고 제38조의5에 따라 담보를 제공한 경우, 등기관은 직접판매 또는 직접 마케팅 사업의 등록을 수락하며 해당 서류 를 수령한 날부터 30일 이내에 신청인에게 서면으로 통지하여야 한다. 신청인이 첫 번째 단락에 따른 기간 내에 정정 또는 변경 요청서에 따라 이행하지 아 니하거나 제38조의5에 따른 담보를 완전 하게 제공하지 아니하는 경우, 등기관은 직 접판매 또는 직접마케팅 사업의 등록을 거 부하는 명령을 내려야 하며 명령 이행 기간 이 종료된 날부터 7일 이내에 신청인에게 사유를 포함하여 서면으로 통지하여야 한 다.

제41조의2

등기관은 제38조의1, 제38조의 3 또는 제38조의4에 따라 직접판매 또는 직접마케팅 사업 등록신청인의 자격을 갖 추지 못하거나 결격사유가 있는 것으로 판 단하는 경우, 등기관은 직접판매 또는 직접 마케팅 사업의 등록을 거부하는 명령을 내 려야 하며 직접판매 또는 직접마케팅 사업 등록신청서를 접수한 날부터 30일 이내에 그 이유를 포함하여 신청인에게 서면으로 통지하여야 한다.

제41조의3

영업 양도를 윈하는 직접판매 사업자 또는 직접마케팅 사업자는 등기관 에게 신청서를 제출하여야 한다. 첫 번째 단락에 따른 영업 양도는 제38조 의1, 제38조의3 또는 제38조의4에 따른 자 격을 갖추고, 결격사유가 없는 자에게 이루 어져야 하며 영업 양수인은 직접판매 사업 자 또는 직접마케팅 사업자의 소비자에 대 한 권리, 의무 및 책임을 모두 양수하여야 한다.

제41조의4

두 번째 단락 제(1)항 및 세 번 째 단락은 영업 양도에 준용된다. 등기관은 영업 양도신청과 제38조의5에 따라 영업 양수인이 제공해야 할 담보에 대 해 확인한 후, 해당 담보가 정확하고 완전 하다고 판단하면 등기관은 영업 양수인을 직접판매 사업자 또는 직접마케팅 사업자 로 변경등록을 한다. 영업 양도 신청과 등록 변경은 위원회에서 정한 원칙과 절차에 따른다.

제41조의4

폐업을 원하는 직접판매 사업자 또는 직접마케팅 사업자는 등기관에게 신 청서를 제출하여야 한다. 첫 번째 단락에 따른 폐업의 경우, 소비자 를 보호하기 위하여 직접판매 사업자 또는 직접마케팅 사업자는 등기관이 등록을 취 소하기 전까지 다음 각 항의 사항을 완전히 이행하여야 한다.

(1) 소비자가 이 법에 따른 권리를 행사할 수 있도록 최소 1회 이상 지역 신문에 광고 를 게재하고 등기우편 또는 그 밖의 통신 정보를 발송하여 보증기간 내에 상품이나 서비스를 구매한 소비자에게 폐업을 통지 하여야 한다.

(2) 제33조, 제34조 및 제36조에 따라 이 행하여야 한다.

(3) 보증기간 내에 상품이나 서비스에 대 한 수리 또는 그 밖의 서비스를 제공할 사 람을 마련하여야 한다.

(4) 위원회에서 정한 원칙, 절차, 조건과 기간에 따라 그 밖의 직무를 수행한다.

첫 번째 단락에 따른 폐업 신청을 한 날부 터 직접판매 사업자 또는 직접마케팅 사업 자는 소비자에게 상품이나 서비스를 판매, 광고하거나 상품이나 서비스의 매매계약을 체결해서는 아니 된다. 직접판매 또는 직접마케팅 사업을 폐업하 였다 하더라도, 해당 사업자는 이 법에 따 른 책임에서 면제되지 아니한다.

제41조의5

다음 사항으로 인하여 민원이 발생하거나 소비자가 손해를 입었다고 등 기관에게 밝혀진 경우 하단이 적용된다.

(1) 직접판매 사업자 또는 직접마케팅 사 업자가 상품이나 서비스 매매계약에 따라 또는 이 법에 따라 이행하지 아니한 경우

(2) 직접판매 사업자 또는 직접마케팅 사 업자가 제42조에 따라 등록이 취소된 경우

등기관은 사실관계를 신속히 조사하고 혐 의가 제기된 직접판매 사업자 또는 직접마 케팅 사업자의 진술을 청취하여 위원회가 해당 사안을 심의할 수 있도록 위원회에 제 출한다. 이는 위원회에서 정한 원칙과 절차 에 따른다.

제41조의6

제41조의5에 따른 심의의 결과 직접판매 사업자 또는 직접마케팅 사업자 로부터 손해를 입은 소비자와 손해액이 확 인된 경우, 해당 손해를 배상하기 위하여 등기관은 직접판매 사업자 또는 직접마케 팅 사업자가 제공한 담보에서 손해액을 지 급한다.

제41조의7

직접판매 사업자 또는 직접마케 팅 사업자가 제공한 담보가 등기관이 제41 조의6에 따라 소비자에게 손해를 배상하기 위한 금액을 지급하기에 부족하거나 해당 손해를 배상하여 담보 금액이 줄어든 경우, 등기관은 직접판매 사업자 또는 직접마케 팅 사업자에게 명령을 받은 날부터 15일 이내에 부령에서 정한 금액까지 추가 담보 를 제공하도록 서면으로 명령한다.

제42조

직접판매 사업자 또는 직접마케팅 사업자의 다음 각 항의 행위가 등기관에게 밝혀진 경우 하단이 적용된다.

(1) 등기관이 승인한 보수지급계획에 따라 사업을 이행하지 아니한 경우

(2) 제24조의1에 따라 소비자에 대해 독립 판매자와 공동책임을 지지 아니한 경우

(3) 제26조의1 또는 제29조의1에 따라 사 무실 주소 변경을 등기관에게 통지하지 아 니한 경우

(4) 제26조의2 또는 제29조의2에 따라 등 기관에게 사업 운영에 관하여 보고하지 아 니한 경우

(5) 제28조에 따른 부령에서 정한 바에 따 라 상품이나 서비스 판매를 위한 정보 전달 에 관한 문자를 사용하지 아니한 경우

(6) 제38조의1, 제38조의3 또는 제38조의 4에 따른 자격을 갖추지 못하거나 결격사 유가 있는 경우

(7) 제41조의7에 따른 지급기일부터 3개 월 이내에 추가로 담보를 제공하여 충족시 키지 아니한 경우

(8) 업무집행사원, 전무이사, 관리자 또는 합자회사 또는 회사의 경영책임자가 제46 조, 제49조, 제51조의3 또는 제52조의1에 따른 범죄로 징역의 확정판결을 받은 경우

제(2)항, 제(3)항 또는 제(4)항의 경우, 등 기관은 적절하다고 판단하는 기간 내에 직 접판매 사업자 또는 직접마케팅 사업자에 게 정정 또는 변경을 하도록 서면으로 통지 한다. 해당 기한이 경과하였음에도 불구하 고, 직접판매 사업자 또는 직접마케팅 사업 자가 적절한 조치를 취하지 아니한 경우, 등기관은 직접판매 또는 직접마케팅 사업 의 등록을 취소한다. 제(1)항, 제(5)항, 제(6)항, 제(7)항 또는 제(8)항의 경우, 등기관은 직접판매 또는 직접마케팅 사업의 등록을 취소한다. 직접판매 사업자 또는 직접마케팅 사업자 가 동일한 법인인 경우, 등기관은 직접판매 및 직접마케팅 사업 모두 등록을 취소한다. 등기관이 직접판매 사업 또는 직접마케팅 사업의 등록 취소를 명령한 경우, 해당 명 령을 한 날부터 7일 이내에 그 이유를 기재 하여 직접판매 사업자 또는 직접마케팅 사 업자에게 서면으로 통지한다.

제6장 이의제기

제43조

제41조의1 두 번째 단락, 제41조의 2, 제41조의7 또는 제42조에 따라 등기관 의 명령을 받은 자가 해당 명령에 불복하는 경우, 명령 통지서를 수령한 날부터 30일 이내에 위원회에 서면으로 이의를 제기할 수 있다. 최종 판단은 위원회의 결정으로 한다.

제44조

이의제기의 원칙과 절차 및 이의제 기의 심의방법은 위원회가 정하는 규칙에 따른다.

제7장 벌칙규정

제45조

제5조에 따른 담당관의 직무 수행 을 방해하거나 편의를 제공하지 아니하거 나 제16조에 따른 위원회나 소위원회의 명 령 또는 제40조에 따른 등기관의 명령에 따라 이행하지 아니한 자는 1개월 이하의 징역 또는 1만 밧 이하의 벌금에 처한다. 이 경우 징역과 벌금을 병과할 수 있다.

제46조

제19조를 위반한 자는 5년 이하의 징역 및 50만 밧 이하의 벌금에 처한다.

제47조

제20조를 위반한 자는 1년 이하의 징역 또는 10만 밧 이하의 벌금에 처한다. 이 경우 징역과 벌금을 병과할 수 있다. 또 한 위반 기간 동안 2만 밧 이하의 금액을 1 일로 환산하여 벌금에 처한다.

제48조

제21조 첫 번째 단락을 위반한 자는 30만 밧 이하의 벌금에 처한다.

제49조

제22조, 제28조 또는 제29조를 위 반한 자는 6개월 이하의 징역 또는 5만 밧 이하의 벌금에 처한다. 이 경우 징역과 벌 금을 병과할 수 있다.

제50조

제23조 또는 제25조를 위반한 자 는 5만 밧 이하의 벌금에 처한다.

제51조

제26조 또는 제37조를 위반한 자 는 3만 밧 이하의 벌금에 처한다.

제51조의1

제27조를 위반한 자는 1년 이 하의 징역 또는 10만 밧 이하의 벌금에 처 한다. 이 경우 징역과 벌금을 병과할 수 있 다. 또한 위반 기간 동안 2만 밧 이하의 금 액을 1일로 환산하여 벌금에 처한다.

제51조의2

상품이나 서비스 거래서류를 작 성하지 아니한 직접판매 사업자 또는 직접 마케팅 사업자, 상품이나 서비스 거래서류 를 전달하지 아니하거나 제30조 첫 번째 단락 또는 두 번째 단락에 따른 상품이나 서비스 거래서류를 전달하지 아니한 독립 판매자, 직접판매 대리인 또는 직접마케팅 사업자는 5만 밧 이하의 벌금에 처한다.

제51조의3

상품이나 서비스 거래서류를 허 위로 작성한 직접판매 사업자 또는 직접마 케팅 사업자는 6개월 이하의 징역 또는 5 만 밧 이하의 벌금에 처한다. 이 경우 징역 과 벌금을 병과할 수 있다.

제52조

제38조 세 번째 단락에 따라 보수 지급계획 변경사항을 등기관에게 통지하지 아니한 직접판매 사업자는 30만 밧 이하의 벌금에 처한다.

제52조의1

제41조의3 또는 제41조의4를 위반한 자는 6개월 이하의 징역 또는 5만 밧 이하의 벌금에 처한다. 이 경우 징역과 벌금을 병과할 수 있다. 또한 위반 기간 동 안 5천밧 이하의 금액을 1일로 환산하여 벌금에 처한다.

제53조

죄를 범한 자는 이 법에 따라 처벌 한다. 석방 후 5년 이내에 다시 이 법을 위 반한 경우, 그 죄에 대하여 정한 형의 2배 로 처벌한다.

제54조

위반자가 법인인 경우, 같은 법인의 위법행위가 대표이사, 관리자, 같은 법인의 경영책임자의 명령 또는 행위로 발생한 경 우 또는 위의 사람이 명령 또는 행위를 할 의무가 있음에도 명령 또는 행위를 하지 아 니하여 결과적으로 법인이 위반행위를 하 게 된 경우, 위의 사람도 같은 죄에 대하여 정한 형에 따라 처벌한다.

제55조

위원회는 제46조를 제외하고, 이 법에 따른 모든 위법행위에 대하여 조정할 권한이 있다. 위원회는 소위원회, 조사관 또는 담당관에게 조정을 이행하도록 위임 할 수 있으며 적절하다고 판단하는 바에 따 라 위임을 받은 자에게 조정에 관한 원칙과 그 밖의 조건을 정하여야 한다. 첫 번째 단락의 조항에 따른 조사에 있어서 조사관이 이 법에 대한 위법행위를 발견하 였으며 해당 위반자가 조정에 동의한 경우, 조사관은 해당 위반자가 조정에 동의한 날 부터 7일 이내에 위원회 또는 첫 번째 단락 에 따라 위원회가 조정을 위임한 사람에게 사건을 송부하도록 한다. 위반자가 조정에 따른 벌금을 납부한 경우 에는 「형사소송법전」에 따라 사건이 종 결된 것으로 본다.

경과규정

제56조

이 법이 시행될 당시 이미 사업을 운영 중인 직접판매 사업자 또는 직접마케 팅 사업자는 이 법 시행일부터 120일 이내 에 직접판매 또는 직접마케팅 사업을 등록 하여야 한다. 부서 경찰 중령 탁신 친나왓 총리