「1992년 증권 및 증권거래소법」 (제90조-제132조)
• 국가·지역: 태국 • 제 정 일: 1992년 3월 12일 • 최종개정일: 2019년 4월 15일
การประกอบธุรกิจหลักทรัพย์จะกระท าได้ ต่อเมื่อได้จัดตั้งในรูปบริษัทจ ากัดหรือบริษัท มหาชนจ ากัดหรือเมื่อเป็นสถาบันการเงินที่จัดตั้ง ขึ้นตามกฎหมายอื่น ทั้งนี้โดยได้รับใบอนุญาต จากรัฐมนตรีตามข้อเสนอแนะของ คณะกรรมการ ก.ล.ต. วรรคสอง (ยกเลิก) การควบบริษัทหลักทรัพย์เข้ากันให้ถือว่าเป็น การจัดตั้งบริษัทจ ากัดหรือบริษัทมหาชนจ ากัด แล้วแต่กรณี การขอรับใบอนุญาต การขอความเห็นชอบ การออกใบอนุญาต และการให้ความเห็นชอบ ตามมาตรานี้ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์เงื่อนไข และวิธีการ ตลอดจนเสียค่าธรรมเนียมตามที่ ก าหนดในกฎกระทรวง
ในกรณีที่มีความจ าเป็นเพื่อรักษาเสถียรภาพ ทางเศรษฐกิจและการเงินของประเทศหรือเพื่อ พิทักษ์ประโยชน์ของประชาชน ให้รัฐมนตรีตาม ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ ก.ล.ต. มีอ านาจ ก าหนดเงื่อนไขที่ผู้รับใบอนุญาตต้องปฏิบัติใน การประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ได้ ในกรณีที่สภาพการณ์ที่ก่อให้เกิดความจ าเป็น ตามวรรคหนึ่งเปลี่ยนแปลงไป รัฐมนตรีตาม ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ ก.ล.ต. อาจ แก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขที่ก าหนดไว้แล้ว นั้นได้
เพื่อให้การก ากับดูแลการประกอบธุรกิจ หลักทรัพย์เหมาะสมกับรูปแบบการประกอบ ธุรกิจและได้สัดส่วนกับความจ าเป็นในการ คุ้มครองผู้ลงทุน คณะกรรมการ ก.ล.ต. อาจ ประกาศก าหนดให้ผู้รับใบอนุญาตที่ประกอบ ธุรกิจในลักษณะตามที่ก าหนดได้รับยกเว้นการ ปฏิบัติหรือปฏิบัติแตกต่างไปจากบทบัญญัติใน ส่วนที่ ๒ การก ากับและควบคุม ของหมวดนี้ ทั้งหมดหรือแต่เพียงบางส่วนก็ได้ ให้คณะกรรมการ ก.ล.ต. มีอ านาจประกาศ ก าหนดหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขใด ๆให้ผู้รับ ใบอนุญาตตามวรรคหนึ่งถือปฏิบัติด้วยก็ได้
บริษัทหลักทรัพย์อาจมีส านักงานสาขาได้แต่ ต้องได้รับอนุญาตจากส านักงาน การขออนุญาตและการอนุญาตให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์เงื่อนไขและวิธีการที่คณะกรรมการ ก ากับตลาดทุนก าหนด การจัดตั้งส านักงานสาขาของสถาบันการเงินที่ จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายอื่นให้เป็นไปตาม กฎหมายว่าด้วยการนั้น [ค าว่า “คณะกรรมการก ากับตลาดทุน”แก้ไข เพิ่มเติมโดยมาตรา ๕๖ แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑]
ผู้ใดจะกระท าการแทนบริษัทซึ่งจัดตั้งและ ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ตามกฎหมาย ต่างประเทศ โดยมีส านักงานติดต่อกับบุคคล ทั่วไปในราชอาณาจักรต้องได้รับอนุญาตจาก ส านักงาน ให้ผู้กระท าการแทนตามวรรคหนึ่งท ากิจการได้ เฉพาะที่ระบุไว้ในการอนุญาต มิให้น าความในมาตรา ๙๕ มาใช้บังคับแก่ผู้ ได้รับอนุญาตตามมาตรานี้แต่ผู้ได้รับอนุญาต ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่ส านักงานก าหนด
บริษัทหลักทรัพย์ต้องใช้ชื่อซึ่งมีค าว่า “บริษัท หลักทรัพย์” น าหน้าและ “จ ากัด” ต่อท้าย
ห้ามมิให้ผู้ใดนอกจากบริษัทหลักทรัพย์ใช้ชื่อ หรือค าแสดงชื่อในธุรกิจว่า “บริษัทหลักทรัพย์” หรือค าอื่นใดที่มีความหมายเช่นเดียวกัน
คณะกรรมการ ก.ล.ต. อาจประกาศก าหนดให้ บริษัทหลักทรัพย์ต้องมีทุนจดทะเบียนซึ่งช าระ แล้วตามจ านวนที่ก าหนดส าหรับการประกอบ ธุรกิจหลักทรัพย์แต่ละประเภทหรือแต่ละ ลักษณะก็ได้
ให้บริษัทหลักทรัพย์ด ารงเงินกองทุนให้ เพียงพอตามหลักเกณฑ์เงื่อนไขและวิธีการที่ คณะกรรมการ ก.ล.ต. ก าหนด
ห้ามมิให้บริษัทหลักทรัพย์กระท าการ ดังต่อไปนี้
(ก) เป็นการได้มาเนื่องจากประกอบการค้า หลักทรัพย์การจัดจ าหน่ายหลักทรัพย์หรือ ธุรกิจหลักทรัพย์อื่นตามที่คณะกรรมการ ก ากับตลาดทุนประกาศก าหนด หรือ (ข) เป็นการได้มาโดยได้รับผ่อนผันจาก ส านักงานตามหลักเกณฑ์เงื่อนไขและวิธีการ ที่คณะกรรมการก ากับตลาดทุนประกาศ ก าหนด
[ค าว่า “คณะกรรมการก ากับตลาดทุน”แก้ไข เพิ่มเติมโดยมาตรา ๕๖ แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑]
ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับใบหลักทรัพย์ที่ บริษัทหลักทรัพย์ครอบครองอยู่ในขณะใด ขณะหนึ่งว่า บริษัทหลักทรัพย์ได้ครอบครองไว้ เพื่อตนเองหรือเพื่อลูกค้าของบริษัทหลักทรัพย์ หรือบริษัทได้ครอบครองไว้เพื่อลูกค้ารายใด ให้ เป็นไปตามล าดับก่อนหลัง ดังต่อไปนี้
การตั้งบุคคลใดเป็นตัวแทนหรือนายหน้าของ บริษัทหลักทรัพย์ต้องได้รับอนุญาตจาก ส านักงานก่อน การขอรับอนุญาตและการอนุญาตให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์เงื่อนไข และวิธีการที่ คณะกรรมการก ากับตลาดทุนประกาศก าหนด [ค าว่า “คณะกรรมการก ากับตลาดทุน”แก้ไข เพิ่มเติมโดยมาตรา ๕๖ แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑]
ให้บริษัทหลักทรัพย์แจ้งเป็นหนังสือต่อ ส านักงานภายในสิบห้าวันนับแต่มีการแก้ไข เพิ่มเติมหนังสือบริคณห์สนธิหรือข้อบังคับของ บริษัทหลักทรัพย์
การให้กู้ยืมเงินเพื่อการซื้อขายหรือแลกเปลี่ยน หลักทรัพย์บริษัทหลักทรัพย์ต้องด าเนินการตาม หลักเกณฑ์เงื่อนไขและวิธีการที่คณะกรรมการ ก ากับตลาดทุนก าหนด
ห้ามมิให้บริษัทหลักทรัพย์ตั้งหรือยอมให้บุคคล ซึ่งมีลักษณะดังต่อไปนี้เป็นหรือท าหน้าที่ กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอ านาจในการ จัดการหรือที่ปรึกษาของบริษัทหลักทรัพย์
(ก) เป็นกรณีที่ได้รับการแต่งตั้งโดยได้รับความ เห็นชอบจากคณะกรรมการก ากับตลาดทุน เพื่อเข้าไปช่วยเหลือในการด าเนินงานของ บริษัทหลักทรัพย์หรือ (ข) เป็นกรณีที่ได้รับการแต่งตั้งตามมาตรา ๑๔๕ (ค) เป็นกรณีของบริษัทหลักทรัพย์ที่เป็น รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการ งบประมาณ
[ค าว่า “คณะกรรมการก ากับตลาดทุน”แก้ไข เพิ่มเติมโดยมาตรา ๕๖ แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑]
บริษัทหลักทรัพย์จะแต่งตั้งกรรมการหรือ ผู้จัดการ หรือท าสัญญาให้บุคคลอื่นมีอ านาจ ทั้งหมดหรือบางส่วนในการบริหารงานของบริษัท หลักทรัพย์ได้ต่อเมื่อได้รับความเห็นชอบจาก ส านักงาน ในกรณีที่ปรากฏในภายหลังว่าบุคคลตามวรรค หนึ่งมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๐๓ ให้ ส านักงานมีอ านาจเพิกถอนความเห็นชอบที่ได้ ให้ไว้แล้วได้และให้บริษัทหลักทรัพย์เสนอชื่อ บุคคลอื่นแทนเพื่อขอความเห็นชอบจาก ส านักงานภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ถูกเพิก ถอนความเห็นชอบ ให้น าความในมาตรา ๑๐๓ มาใช้บังคับแก่ บุคคลซึ่งบริษัทหลักทรัพย์ท าสัญญาให้มีอ านาจ ทั้งหมดหรือบางส่วนในการบริหารงานของบริษัท หลักทรัพย์นั้น ตลอดจนผู้ซึ่งปฏิบัติงานให้แก บุคคลนั้นด้วยโดยอนุโลม
ให้บริษัทหลักทรัพย์จัดท าบัญชีเพื่อแสดงผล การด าเนินงานและฐานะการเงินที่เป็นอยู่ตาม ความเป็นจริงโดยถือปฏิบัติตามมาตรฐานการ บัญชีที่ก าหนดโดยสถาบันวิชาชีพที่หน่วย ราชการที่เกี่ยวข้องให้ความเห็นชอบและ ข้อก าหนดเพิ่มเติมตามที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศก าหนด
ให้บริษัทหลักทรัพย์จัดท างบดุลและบัญชีก าไร ขาดทุนทุกงวด การบัญชีในรอบระยะเวลาหก เดือนตามแบบที่ส านักงานประกาศก าหนด งบ ดุลนั้นต้องมีการตรวจสอบและแสดงความเห็น โดยผู้สอบบัญชีที่ส านักงานให้ความเห็นชอบเป็น ผู้สอบบัญชีในรอบปีบัญชีนั้นและผู้สอบบัญชี ดังกล่าวต้องมิใช่กรรมการ พนักงาน หรือลูกจ้าง ของบริษัทหลักทรัพย์นั้น ให้บริษัทหลักทรัพย์ประกาศงบดุลและบัญชี ก าไรขาดทุนที่จัดท าขึ้นตามวรรคหนึ่งทุกงวดการ บัญชีในรอบระยะเวลาหกเดือน โดยให้ปิด ประกาศไว้ในที่เปิดเผย ณ ส านักงานของบริษัท หลักทรัพย์นั้น ลงประกาศในหนังสือพิมพ์รายวัน แห่งท้องถิ่นอย่างน้อยหนึ่งฉบับ และเสนอต่อ ส านักงานหนึ่งฉบับ การจัดท างบดุลและบัญชีก าไรขาดทุนส าหรับ งวดการบัญชีรอบระยะเวลาหกเดือนแรกของปี บัญชีตามวรรคหนึ่งและการประกาศตามวรรค สอง ให้ด าเนินการให้แล้วเสร็จภายในสามเดือน นับแต่วันสิ้นงวดการบัญชีและส าหรับงวด ประจ าปีบัญชีให้ด าเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ยี่สิบเอ็ดวันนับแต่วันที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุม ใหญ่แต่ระยะเวลาทั้งหมดต้องไม่เกินสี่เดือนนับ แต่วันสิ้นปีบัญชีนั้น ทั้งนี้เว้นแต่ส านักงานจะได้ ก าหนดไว้เป็นอย่างอื่น
ผู้สอบบัญชีตามมาตรา ๑๐๖ ต้องรักษา มรรยาทและปฏิบัติงานสอบบัญชีเพื่อแสดง ความเห็นต่องบการเงินให้เป็นไปตามข้อก าหนด ของกฎหมายว่าด้วยผู้สอบบัญชีและข้อก าหนด เพิ่มเติมตามที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศ ก าหนด ในกรณีที่บริษัทหลักทรัพย์ได้ท าเอกสาร ประกอบการลงบัญชีและหรือลงบัญชีไม่ตรงกับ ความเป็นจริง ให้ผู้สอบบัญชีเปิดเผยข้อเท็จจริง อันเป็นสาระส าคัญของบัญชีที่มีผลกระทบต่องบ การเงินไว้ในรายงานการสอบบัญชีที่ตนจะต้อง ลงลายมือชื่อเพื่อแสดงความเห็น ผู้สอบบัญชีผู้ใดไม่ปฏิบัติตามวรรคหนึ่งหรือ วรรคสอง ให้ส านักงานมีอ านาจเพิกถอนการให้ ความเห็นชอบผู้สอบบัญชีผู้นั้นได้
ให้บริษัทหลักทรัพย์ประกาศรายการหรือ เปิดเผยข้อมูลอื่นใดเกี่ยวกับบริษัทหลักทรัพย์นั้น ตามหลักเกณฑ์และระยะเวลาที่ส านักงาน ก าหนด ประกาศรายการหรือข้อมูลดังกล่าว ให้ แสดงไว้ในที่เปิดเผย ณ ส านักงานของบริษัท หลักทรัพย์นั้น และให้รายงานต่อส านักงานทราบ พร้อมด้วยส าเนาประกาศรายการหรือข้อมูลที่ เปิดเผย
ส านักงานจะก าหนดให้บริษัทหลักทรัพย์ใดยื่น รายงานหรือแสดงเอกสารใดตามระยะเวลาหรือ เป็นครั้งคราวตามที่ส านักงานก าหนดก็ได้และ ส านักงานจะให้ท าค าชี้แจงเพื่ออธิบายหรือขยาย ความแห่งรายงานหรือเอกสารนั้นด้วยก็ได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และภายในก าหนดเวลาที่ คณะกรรมการก ากับตลาดทุนประกาศก าหนด รายงานและเอกสารที่ยื่นหรือแสดงหรือค า ชี้แจงเพื่ออธิบายหรือขยายความตามวรรคหนึ่ง บริษัทหลักทรัพย์ต้องท าให้ครบถ้วนและตรงต่อ ความเป็นจริง [ค าว่า “คณะกรรมการก ากับตลาดทุน”แก้ไข เพิ่มเติมโดยมาตรา ๕๖ แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑]
บริษัทหลักทรัพย์ต้องเปิดท าการตามเวลาและ หยุดท าการตามวันที่ส านักงานก าหนด เว้นแต่จะ ได้รับอนุญาตจากส านักงานให้เปิดท าการหรือ หยุดท าการในเวลาหรือวันอื่น
ิให้น าความในมาตรา ๙๔ มาตรา ๙๘ (๑) (๗) (๘) และ (๙) มาตรา ๑๐๔ มาตรา ๑๐๖ มาตรา ๑๐๗ มาตรา ๑๐๘ และมาตรา ๑๑๐ มา ใช้บังคับแก่สถาบันการเงินที่จัดตั้งตามกฎหมาย อื่นและได้รับใบอนุญาตตามมาตรา ๙๐
เมื่อบริษัทหลักทรัพย์ตกเป็นลูกหนี้ตามค า พิพากษาถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์หรือถูกทางการ หรือหน่วยงานที่มีหน้าที่ก ากับดูแลตามกฎหมาย อื่นสั่งระงับการด าเนินกิจการบางส่วนหรือ ทั้งหมด ให้น าความในมาตรา ๔๓ มาตรา ๔๔ มาตรา ๔๕ และมาตรา ๔๖ แห่งพระราชบัญญัติ สัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. ๒๕๔๖ มาใช้ บังคับแก่ลูกค้าและทรัพย์สินที่ถือว่าเป็นของ ลูกค้าของบริษัทหลักทรัพย์แล้วแต่กรณีโดย อนุโลม ในการนี้ให้สันนิษฐานว่ารายการและ จ านวนทรัพย์สินของลูกค้าซึ่งปรากฏตามบัญชี ที่บริษัทหลักทรัพย์จัดท าขึ้นตามหลักเกณฑ์ที่ คณะกรรมการก ากับตลาดทุนประกาศก าหนด เป็นรายการและจ านวนที่ถูกต้อง เว้นแต่จะ พิสูจน์ให้เห็นเป็นอย่างอื่น เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี้ “ลูกค้า” หมายความว่า
ในการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์บริษัท หลักทรัพย์ต้องท าสัญญาเป็นหนังสือกับลูกค้าที่ มอบหมายให้ท าการเป็นนายหน้าซื้อขาย หลักทรัพย์ ในการนี้คณะกรรมการก ากับตลาด ทุนอาจก าหนดรายการอันเป็นสาระส าคัญแห่ง สัญญาเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมแก่คู่สัญญา ดังกล่าวก็ได้ [ค าว่า “คณะกรรมการก ากับตลาดทุน”แก้ไข เพิ่มเติมโดยมาตรา ๕๖ แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑]
ในการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์บริษัท หลักทรัพย์ต้องด าเนินการตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไขและวิธีการที่คณะกรรมการก ากับตลาด ทุนประกาศก าหนด
ในการค้าหลักทรัพย์บริษัทหลักทรัพย์ต้อง ด าเนินการค้าหลักทรัพย์ตามหลักเกณฑ์เงื่อนไข และวิธีการที่คณะกรรมการก ากับตลาดทุน ประกาศก าหนด [ค าว่า “คณะกรรมการก ากับตลาดทุน”แก้ไข เพิ่มเติมโดยมาตรา ๕๖ แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑]
ในการเป็นที่ปรึกษาการลงทุน บริษัท หลักทรัพย์ต้องด าเนินการตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไขและวิธีการที่คณะกรรมการก ากับตลาด ทุนประกาศก าหนด และคณะกรรมการก ากับ ตลาดทุนจะก าหนดค่าธรรมเนียมหรือค่าบริการ ที่บริษัทหลักทรัพย์อาจเรียกจากลูกค้าในการเป็น ที่ปรึกษาการลงทุนด้วยก็ได้ [ค าว่า “คณะกรรมการก ากับตลาดทุน”แก้ไข เพิ่มเติมโดยมาตรา ๕๖ แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑]
ในการจัดจ าหน่ายหลักทรัพย์บริษัทหลักทรัพย์ ต้องด าเนินการตามหลักเกณฑ์เงื่อนไขและ วิธีการที่คณะกรรมการก ากับตลาดทุนประกาศ ก าหนด และคณะกรรมการก ากับตลาดทุนจะ ก าหนดค่าธรรมเนียมหรือค่าบริการที่บริษัท หลักทรัพย์อาจเรียกจากลูกค้าในการจัด จ าหน่ายหลักทรัพย์ด้วยก็ได้ [ค าว่า “คณะกรรมการก ากับตลาดทุน”แก้ไข เพิ่มเติมโดยมาตรา ๕๖ แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑]
ในการจัดการกองทุนรวม บริษัทหลักทรัพย์จะ จัดตั้งและจัดการกองทุนรวมได้เมื่อค าขอจัดตั้ง กองทุนรวมนั้นได้รับอนุมัติจากส านักงาน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์เงื่อนไข และวิธีการที่ คณะกรรมการก ากับตลาดทุนประกาศก าหนด [ค าว่า “คณะกรรมการก ากับตลาดทุน”แก้ไข เพิ่มเติมโดยมาตรา ๕๖ แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑]
ในการยื่นค าขอจัดตั้งกองทุนรวมตามมาตรา ๑๑๗ บริษัทหลักทรัพย์ต้องส่งเอกสารหลักฐาน ดังต่อไปนี้ด้วย
ข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัท หลักทรัพย์อย่างน้อยต้องมีสาระส าคัญ ดังต่อไปนี้
[ค าว่า “คณะกรรมการก ากับตลาดทุน”แก้ไข เพิ่มเติมโดยมาตรา ๕๖ แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑]
ข้อผูกพันตามมาตรา ๑๑๙ และสัญญาแต่งตั้ง ผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนรวมต้องไม่มี ข้อจ ากัดความรับผิดของบริษัทหลักทรัพย์และ ผู้ดูแลผลประโยชน์ที่มีลักษณะอันไม่เป็นธรรม ต่อผู้ถือหน่วยลงทุน ข้อความในข้อผูกพันหรือในสัญญาใดที่มี ลักษณะที่ขัดบทบัญญัติตามวรรคหนึ่ง ให้ตก เป็นโมฆะ
ผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนรวมต้องเป็น ธนาคารพาณิชย์หรือสถาบันการเงินที่มี คุณสมบัติตามที่ส านักงานประกาศก าหนด ในการประกาศก าหนดตามวรรคหนึ่ง ส านักงานจะก าหนดในเรื่องดังต่อไปนี้เป็น ส าคัญ
เมื่อบริษัทหลักทรัพย์ได้รับอนุมัติให้จัดตั้งและ จัดการกองทุนรวมตามมาตรา ๑๑๗ แล้วและ ก่อนการเสนอขายหน่วยลงทุนต่อประชาชน ให้ บริษัทหลักทรัพย์จัดให้มีผู้ดูแลผลประโยชน์ของ กองทุนรวม
การเสนอขายหน่วยลงทุนต่อประชาชนจะ กระท าได้ต่อเมื่อบริษัทหลักทรัพย์ได้จัดส่งหรือ แจกจ่ายหนังสือชี้ชวนพร้อมทั้งระบุวันที่ที่ได้รับ อนุมัติให้จัดตั้งและจัดการกองทุนรวมไว้ด้วย หนังสือชี้ชวนต้องเป็นไปตามแบบที่ส านักงาน ประกาศก าหนด ส าหรับรายการในหนังสือชี้ชวน ที่ตรงกับรายการในโครงการจัดการกองทุนรวม ต้องมีสาระส าคัญของข้อมูลไม่ต่างกัน
เงินที่ได้รับจากการจ าหน่ายหน่วยลงทุนในแต่ ละโครงการจัดการกองทุนรวมให้รวมเข้าเป็นกอง ทรัพย์สิน และให้บริษัทหลักทรัพย์จดทะเบียน กองทรัพย์สินดังกล่าวเป็นกองทุนรวมกับ ส านักงานตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ คณะกรรมการก ากับตลาดทุนประกาศก าหนด กองทุนรวมที่ได้จดทะเบียนแล้วให้เป็นนิติ บุคคล ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อให้บริษัทหลักทรัพย์ น าทรัพย์สินของกองทุนรวมไปลงทุนตาม โครงการจัดการกองทุนรวมตามที่ได้รับอนุมัติ โดยให้บริษัทหลักทรัพย์เป็นผู้รับผิดชอบในการ ด าเนินการของกองทุนรวม ให้กองทุนรวมตามวรรคสองมีสัญชาติเดียวกับ บริษัทหลักทรัพย์ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบในการ ด าเนินการของกองทุนรวม [ค าว่า “คณะกรรมการก ากับตลาดทุน”แก้ไข เพิ่มเติมโดยมาตรา ๕๖ แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑]
ในการจัดการกองทุนรวม ให้บริษัทหลักทรัพย์ จัดการด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและระมัดระวัง รักษาประโยชน์ของผู้ถือหน่วยลงทุนทั้งปวง โดย ใช้ความรู้ความสามารถเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ ให้บริษัทหลักทรัพย์จัดให้มีนโยบายการ ป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในการ จัดการกองทุนรวม รวมทั้งติดตามดูแลการ กระท าที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนและการกระท า ที่อาจมีลักษณะไม่เป็นธรรมต่อผู้ถือหน่วยลงทุน หรืออาจท าให้ผู้ถือหน่วยลงทุนเสียประโยชน์อัน พึงได้รับ ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์เงื่อนไขและ วิธีการที่คณะกรรมการก ากับตลาดทุนประกาศ ก าหนด
ในการจัดการกองทุนรวม บริษัทหลักทรัพย์ ต้องด าเนินการดังต่อไปนี้
[ค าว่า “คณะกรรมการก ากับตลาดทุน”แก้ไข เพิ่มเติมโดยมาตรา ๕๖ แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑]
ในการจัดการกองทุนรวม ห้ามมิให้บริษัท หลักทรัพย์กระท าการดังต่อไปนี้
ในการจัดการกองทุนรวม บริษัทหลักทรัพย์จะ ลงทุนในหรือมีไว้ซึ่งหน่วยลงทุนของกองทุนรวม อื่นที่บริษัทหลักทรัพย์เดียวกันนั้นเป็น ผู้รับผิดชอบในการด าเนินการได้ต่อเมื่อได้ระบุไว้ โดยชัดแจ้งในโครงการจัดการกองทุนรวมที่ได้รับ อนุมัติและในหนังสือชี้ชวน และปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์เงื่อนไขและวิธีการที่ส านักงาน ประกาศก าหนด
ให้ผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนรวมมีอ านาจ หน้าที่ ดังต่อไปนี้
ในกรณีที่บริษัทหลักทรัพย์กระท าการหรืองด เว้นกระท าการจนก่อให้เกิดความเสียหายแก่ กองทุนรวม หรือไม่ปฏิบัติหน้าที่ของตนตาม มาตรา ๑๒๕ ให้ผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุน รวมจัดท ารายงานเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวโดย ละเอียดและส่งให้แก่ส านักงานภายในห้าวันนับ แต่วันที่ผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนรวมรู้ถึง เหตุการณ์ดังกล่าว ในกรณีที่ส านักงานได้รับรายงานตามวรรค หนึ่งและพิจารณาเห็นว่าการกระท าของบริษัท หลักทรัพย์เป็นการกระท าที่อาจก่อให้เกิดความ เสียหายแก่ผลประโยชน์ของผู้ถือหน่วยลงทุนทั้ง ปวง ให้ส านักงานมีอ านาจสั่งให้บริษัท หลักทรัพย์แก้ไขการกระท าหรืองดเว้นการกระท า ที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายหรือเป็นการฝ่ าฝืน หน้าที่ของบริษัทหลักทรัพย์ตามมาตรา ๑๒๕ ในกรณีที่บริษัทหลักทรัพย์ไม่ปฏิบัติตามค าสั่ง ของส านักงานที่สั่งตามวรรคสอง ให้ส านักงานมี อ านาจด าเนินการ ดังต่อไปนี้
ในการจัดการกองทุนรวม บริษัทหลักทรัพย์ ต้องด าเนินการตามโครงการจัดการกองทุนรวมที่ ได้รับอนุมัติจากส านักงาน การแก้ไขเพิ่มเติมโครงการจัดการกองทุนรวม หรือแก้ไขวิธีการจัดการให้กระท าโดยการขอมติ ของผู้ถือหน่วยลงทุน ซึ่งจะด าเนินการโดยการจัด ประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนหรือการส่งหนังสือขอมติ ของผู้ถือหน่วยลงทุนก็ได้ ให้บริษัทหลักทรัพย์แจ้งการแก้ไขเพิ่มเติม โครงการจัดการกองทุนรวมหรือวิธีการจัดการให้ ส านักงานทราบ รวมทั้งแจ้งไปยังผู้ถือหน่วย ลงทุนทุกคนและเผยแพร่ในลักษณะที่ผู้ลงทุน ทั่วไปสามารถเข้าตรวจดูได้ ทั้งนี้ภายในสิบห้า วันนับแต่วันที่มีมติให้แก้ไข
การแก้ไขเพิ่มเติมโครงการจัดการกองทุนรวม หรือแก้ไขวิธีการจัดการในกรณีดังต่อไปนี้บริษัท หลักทรัพย์อาจขอให้ส านักงานให้ความเห็นชอบ แทนการขอมติของผู้ถือหน่วยลงทุน ตามมาตรา ๑๒๙ วรรคสอง ก็ได้
ในการประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนตามมาตรา ๑๒๙ ต้องมีผู้ถือหน่วยลงทุนเข้าร่วมประชุมไม่ น้อยกว่ายี่สิบห้าคนหรือไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ จ านวนผู้ถือหน่วยลงทุนทั้งหมด และต้องมีหน่วย ลงทุนนับรวมกันได้ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของ จ านวนหน่วยลงทุนที่จ าหน่ายได้แล้วทั้งหมดของ โครงการจัดการกองทุนรวม จึงจะเป็นองค์ ประชุม ในการประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนครั้งใด เมื่อ ล่วงเวลานัดไปแล้วถึงหนึ่งชั่วโมง แต่ผู้ถือหน่วย ลงทุนที่เข้าร่วมประชุมไม่ครบเป็นองค์ประชุม ตามที่ก าหนดในวรรคหนึ่ง บริษัทหลักทรัพย์อาจ นัดประชุมใหม่ โดยในการประชุมครั้งหลังนี้ไม่ บังคับว่าจะต้องครบองค์ประชุม มติของผู้ถือหน่วยลงทุน ให้ถือคะแนนเสียงข้าง มากของจ านวนหน่วยลงทุนทั้งหมดของผู้ถือ หน่วยลงทุนซึ่งเข้าร่วมประชุมและมีสิทธิออก เสียงลงคะแนน เว้นแต่คณะกรรมการก ากับ ตลาดทุนจะประกาศก าหนดให้ต้องได้คะแนน เสียงของจ านวนหน่วยลงทุนที่มากกว่านั้น ให้น าความในวรรคหนึ่ง วรรคสองและวรรค สาม มาใช้บังคับกับการขอมติของผู้ถือหน่วย ลงทุน โดยการส่งหนังสือขอมติของผู้ถือหน่วย ลงทุนโดยอนุโลม
การส่งหนังสือนัดประชุมหรือหนังสือขอมติของ ผู้ถือหน่วยลงทุน ข้อมูลที่ต้องแจ้งในหนังสือนัด ประชุมหรือหนังสือขอมติของผู้ถือหน่วยลงทุน การจัดการประชุม สิทธิในการออกเสียง ลงคะแนน การมอบฉันทะและการด าเนินการ อื่นใดที่เกี่ยวข้องกับการขอมติของผู้ถือหน่วย ลงทุน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์เงื่อนไขและ ิธีการที่คณะกรรมการก ากับตลาดทุนประกาศ ก าหนด
ในการขอมติของผู้ถือหน่วยลงทุนครั้งใด ไม่ว่า จะโดยการจัดประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนหรือโดย การส่งหนังสือขอมติของผู้ถือหน่วยลงทุน หากผู้ ถือหน่วยลงทุนเห็นว่า มติของผู้ถือหน่วยลงทุน ในครั้งนั้นไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือบริษัท หลักทรัพย์ฝ่ าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๒๙/ ๒ หรือฝ่ าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข หรือวิธีการที่ก าหนดตามมาตรา ๑๒๙/๓ ผู้ถือหน่วยลงทุนไม่น้อยกว่าห้าคนและมีหน่วย ลงทุนนับรวมกันได้ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของ จ านวนหน่วยลงทุนที่จ าหน่ายได้แล้วทั้งหมดของ โครงการจัดการกองทุนรวมนั้นจะร้องขอให้ศาล สั่งเพิกถอนมติของผู้ถือหน่วยลงทุนครั้งนั้นก็ได้ แต่ต้องร้องขอต่อศาลภายในสี่สิบห้าวันนับแต่ วันที่ผู้ถือหน่วยลงทุนมีมติให้แก้ไข
เมื่อเลิกกองทุนรวมแล้ว ให้บริษัทหลักทรัพย์ แต่งตั้งผู้ช าระบัญชีเพื่อท าหน้าที่รวบรวมและ แจกจ่ายทรัพย์สินให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุน รวมทั้ง ท าการอย่างอื่นตามแต่จ าเป็นเพื่อช าระบัญชีให้ เสร็จสิ้น ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์เงื่อนไขและ วิธีการที่คณะกรรมการก ากับตลาดทุนประกาศ ก าหนด ผู้ช าระบัญชีตามวรรคหนึ่งต้องได้รับความ เห็นชอบจากส านักงานก่อน ค่าใช้จ่ายและเงินค่าตอบแทนในการช าระ บัญชีของกองทุนรวมใด ให้จ่ายจากทรัพย์สิน ของกองทุนรวมนั้น [ค าว่า “คณะกรรมการก ากับตลาดทุน”แก้ไข เพิ่มเติมโดยมาตรา ๕๖ แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑]
เมื่อการช าระบัญชีเสร็จสิ้นให้ผู้ช าระบัญชีขอ จดทะเบียนเลิกกองทุนรวมกับส านักงาน ภายหลังจดทะเบียนเลิกกองทุนรวมแล้ว หาก ปรากฏว่ายังมีทรัพย์สินคงค้างอยู่ ให้ผู้ช าระ บัญชีจัดการโอนทรัพย์สินดังกล่าวให้ตกเป็น กรรมสิทธิ์ของสา นกังาน
ให้น าความในมาตรา ๔๗ มาตรา ๔๘ มาตรา ๘๐ มาตรา ๘๑ มาตรา ๘๒ มาตรา ๘๓ มาตรา ๘๔ มาตรา ๘๕ มาตรา ๘๖ มาตรา ๘๗ และ มาตรา ๘๙ รวมทั้งบทก าหนดโทษที่เกี่ยวข้อง มา ใช้บังคับแก่การเสนอขายหน่วยลงทุนต่อ ประชาชนและการฟ้องร้องบังคับคดีกับผู้ดูแล ผลประโยชน์โดยอนุโลม ค่าใช้จ่ายในการฟ้องร้องบังคับคดีเพื่อ ประโยชน์ของกองทุนรวมใด ให้เรียกร้องได้จาก ทรัพย์สินของกองทุนรวมนั้น
「1992년 증권 및 증권거래소법」 (제90조-제132조)
• 국가·지역: 태국 • 제 정 일: 1992년 3월 12일 • 최종개정일: 2019년 4월 15일
증권업은 유한회사 또는 공개 유한회사 형태로 설립되거나, 기타 법률에 따라 설립된 금융 기관이 된 때에, 증권위의 권고 에 따른 장관의 허가를 취득하 여 운영할 수 있다. 두 번째 단락 (삭제) 증권사 합병은 경우에 따라 유 한회사 또는 공개유한회사 설립 으로 간주한다. 이 조에 따른 허가증 신청, 승 인 신청, 허가증 발급 및 승인 은 부령에서 정하는 원칙과 조 건, 절차 및 수수료 납부에 따 른다.
국가의 경제 안정 및 재정 보 호 또는 국민의 이익을 보전하 기 위한 필요성이 있는 경우 장 관은 증권위의 권고에 따라 허 가증 취득자가 증권업을 운영함 에 있어 수행하여야 하는 조건 을 설정할 권한을 갖는다. 첫 번째 단락에 따른 필요성을 유발한 상황에 변화가 있는 경 우, 장관은 증권위의 권고에 따 라, 설정된 조건을 수정 또는 변경할 수 있다.
증권업 운영 감독이 사업 방식 에 적합하고 투자자 보호의 필 요성과 균형을 이루게 하기 위 하여, 증권위는 증권위가 규정 하는 바에 따른 형태의 사업을 운영 허가증 취득자에 대하여, 이 장의 제2절 감독 및 통제에 서 규정하는 내용의 일부 또는 전부에 대한 이행을 면제하거나 다르게 이행하도록 고시할 수 있다. 증권위는 첫 번째 단락에 따른 취득자가 준수할 원칙 또는 조 건을 고시할 수 있는 권한을 갖 는다.
증권사가 지사를 둘 수는 있으 나 사무처의 허가를 받아야 한 다. 허가 신청 및 허가는 자본시장 감독위원회가 규정하는 원칙과 조건 및 절차에 따른다. 기타 법률에 따른 금융기관의 지사 설치는 그에 관한 법률에 따른다. [“자본시장감독위원회”라는 용 어는 「2008년 증권 및 증권거 래소법 (제4권)」에 의하여 개 정됨.]
국내에 일반 대중 대상 연락 사무소를 두어 외국 법률에 따 라 설립된 증권업 운용사를 대 행할 사람은 사무처의 허가를 받아야 한다. 첫 번째 단락에 따른 대행인은 허가증에서 명시한 사업에 한하 여 업무를 수행하여야 한다. 제95조의 내용은 이 조에 따른 허가 취득자에 대해서는 적용하 지 아니하되 허가 취득자는 사 무처가 규정하는 원칙을 준수하 여야 한다.
증권사는 “증권”이라는 단어가 앞에 위치하고, “유한회사”라는 단어가 끝에 위치하는 명칭을 사용하여야 한다.
증권사 이외의 어느 누구도 “증권사” 또는 동일한 의미가 있는 단어를 사명 또는 사업의 명칭을 나타내는 단어에 사용할 수 없다.
증권위는 각 유형이나 형태의 증권업 운영에 대하여 정하는 금액에 따라 증권사가 납입 완 료한 등록 자본을 보유하도록 규정할 수 있다.
증권사는 증권위가 정하는 원 칙과 조건 및 절차에 따라 충분 한 자금을 보전하여야 한다.
증권사가 다음 각항의 어느 하 나에 해당하는 행위를 하는 것 을 금지한다.
(ㄱ) 증권 거래나 증권 인수 주선 또는 자본시장감독위원 회가 규정하는 바에 따른 기 타 증권업 운영으로 취득한 경우 (ㄴ) 자본시장감독위원회가 고 시하는 바에 따른 원칙과 조 건 및 절차에 따라 사무처로 부터 감면을 받아 취득한 경 우
[“자본시장감독위원회”라는 용 어는 「2008년 증권 및 증권거 래소법 (제4권)」에 의하여 개 정됨.]
증권사가 보유 중인 증권과 관 련하여, 증권사의 증권 보유가 증권사 자체용 또는 고객용인 지, 또는 회사가 어떤 고객용으 로 보유하고 있는지에 대한 의 문이 발생하는 경우에는 다음 각 항의 선후관계를 따른다.
증권사의 대리인 또는 중개인 위촉은 사무처의 사전 허가를 받아야 한다. 허가 신청 및 허가는 자본시장 감독위원회가 고시하는 원칙과 조건 및 절차에 따른다. [“자본시장감독위원회”라는 용 어는 「2008년 증권 및 증권거 래소법 (제4권)」에 의하여 개 정됨.]
증권사는 증권사의 정관 또는 규정을 개정한 날부터 15일 이 내에 사무처에 서면으로 신고하 여야 한다.
증권사의 증권 거래 또는 교환 을 위한 자금 대출은 자본시장 감독위원회가 정하는 원칙과 조 건 및 절차에 따라 이행하여야 한다.
증권사가 다음 각 항의 어느 하나에 해당하는 특성을 가진 사람을 이사나 관리자 또는 증 권사의 경영 또는 자문 권한을 가지는 사람으로 임명하거나, 그러한 직무를 담당하게 하는 것을 금지한다.
(ㄱ) 증권사의 운영 지원을 위 하여 자본시장감독위원회의 승인을 받아 임명된 경우 (ㄴ) 제145조에 따라 임명된 경우 (ㄷ) 예산 절차 관련 법률에 따른 국영기업에 해당하는 증권사인 경우
[“자본시장감독위원회”라는 용 어는 「2008년 증권 및 증권거 래소법 (제4권)」에 의하여 개 정됨.]
증권사는 사무처의 승인을 받 은 때에 이사 또는 관리자를 임 명하거나, 타인에게 증권사 경 영권 전체 또는 일부를 부여하 는 계약을 체결할 수 있다. 첫 번째 단락에 따른 사람이 이후에 제103조에 따른 특성이 있는 것으로 밝혀지는 경우, 사 무처는 승인을 취소할 권한이 있으며, 증권사는 승인 취소일 부터 15일 이내에 대체자의 성 명을 제출하여 사무처의 승인을 받아야 한다. 제103조의 내용을 증권사가 해 당 증권사의 경영권 전체 또는 일부를 부여하는 계약 체결 당 사자 및 해당자를 위하여 업무 를 수행하는 사람에 대하여 준 용한다.
증권사는 관련 국가 기관의 승 인을 받은 전문 기관이 정하는 기준 및 증권위가 고시하는 추 가 요건을 준수하여, 실제 실적 및 재무 상태를 표시하기 위한 회계장부를 작성하여야 한다.
증권사는 사무처가 고시하는 양식에 따라 6개월의 회계 기간 마다 대차대조표와 손익계산서 를 작성하여야 한다. 대차대조 표는 해당 회계 기간의 회계 감 사인으로 사무처의 승인을 받은 해당 증권사의 이사나 직원 또 는 피고용인이 아닌 회계 감사 인이 감사를 실시하고 의견을 제시하여야 한다. 증권사는 첫 번째 단락에 따른 대차대조표 및 손익계산서를 6 개월의 회계 기간 마다 해당 증 권사 사무실의 공개된 장소에 게시하고 하나 이상의 지역 일 간 신문에 게재하여야 하며, 사 무처에 1부를 제출하여야 한다. 첫 번째 단락에 따른 회계 기 간 첫 6개월의 대차대조표와 손 익계산서 작성 및 두 번째 단락 에 따른 게재는 회계기간 종료 일부터 3개월 이내에 이행을 완 료하여야 하며, 각 회계 연도에 대해서는 총회에서 승인한 날부 터 21일 이내에 이행을 완료하 되 전체 기간은 해당 회계 연도 마지막 날부터 4개월을 초과하 지 아니하여야 한다. 다만, 사무 처가 다르게 규정하는 경우는 제외한다.
제106조에 따른 회계 감사인은 사무처에 회계 감사인 관련 법 률의 규정 및 증권위가 고시하 는 추가 규정에 따라 의견을 제 시하기 위하여, 윤리 강령을 준 수하여 회계 감사를 수행하여야 한다. 증권사가 회계 장부 기재 사항 을 뒷받침하는 서류 작성 및/또 는 회계 장부 기재를 허위로 하 는 경우, 회계 감사인은 의견 제시를 위한 본인 서명이 필요 한 회계 감사 보고서에서, 재무 제표에 영향을 미치는 회계 장 부의 주요 사실 관계를 공개하 여야 한다. 첫 번째 단락 또는 두 번째 단 락을 준수하지 아니하는 회계 감사인에 대해서는 사무처가 승 인을 취소할 권한이 있다.
증권사는 사무처가 정하는 원 칙 및 기간에 따라 해당 증권사 관련 사항을 공시하거나 자료를 공개하여야 한다. 그러한 사항 또는 자료 공시는 증권사의 공 개된 장소에 게재하고, 공개 사 항 또는 공시 자료 사본을 첨부 하여 사무처에 보고한다.
사무처는 특정 증권사에 대하 여 사무처가 정하는 기간에 따 라 또는 수시로 보고서를 제출 하거나 문건을 제시하도록 규정 할 수 있으며, 자본시장감독위 원회가 고시하는 원칙 및 기한 에 따라 해당 보고서 또는 문건 의 내용에 대한 설명 또는 해석 용도의 설명서를 요구할 수 있 다. 첫 번째 단락에 따라 제출 또 는 제시하는 보고서 및 문서 또 는 내용 설명이나 확장을 위한 설명서는 증권사가 사실에 따라 완전하고 정확하게 작성하여야 한다. [“자본시장감독위원회”라는 용 어는 「2008년 증권 및 증권거 래소법 (제4권)」에 의하여 개 정됨.]
증권사는 사무처가 정하는 시 간 및 일자에 따라 업무 개시 및 휴업을 하여야 한다. 다만, 사무처가 다른 시간 또는 일자 에 업무를 개시하거나 휴업하도 록 허가한 경우는 제외한다.
제94조제(1)항과 제(7)항, 제 (8)항 및 제(9)항, 제104조, 제 106조, 제107조, 제108조 및 제110조의 내용은, 기타 법률에 따라 설립되고 제90조에 따라 허가를 취득한 금융 기관에 대 해서는 적용하지 아니 한다.
증권사가 판결에 따라 채무자 가 되거나, 법원으로부터 재산 관리 명령을 받거나, 당국 또는 기타 법률에 따른 감독 책임이 있는 기관으로부터 사업 전체 또는 일부에 대한 중지 명령을 받은 때에는, 「2003년 선물거 래법」제43조와 제44조, 제45 조 및 제46조의 내용을 고객 및 증권사 고객의 소유로 간주되는 자산에 대하여 준용한다. 이러 한 경우, 다르게 판단하도록 입 증할 수 있는 경우를 제외하고, 자본시장감독위원회가 고시하는 원칙에 따라 증권사가 작성한 회계 장부에서 표시된 사항 및 고객의 재산 액수를 정확한 사 항 및 액수로 추정한다. 이 조에서 사용하는 용어의 뜻 은 편의를 위하여 다음과 같이 정의한다. “고객”이란 다음 각항을 뜻한 다.
증권 거래를 중개함에 있어, 증 권사는 증권 거래 중개를 위탁 한 고객과 서면 계약을 체결하 여야 한다. 이러한 경우, 자본시 장감독위원회가 해당 계약 당사 자에 대한 공정성을 보장하기 위하여 계약의 핵심 사항을 규 정할 수 있다. [“자본시장감독위원회”라는 용 어는 「2008년 증권 및 증권거 래소법 (제4권)」에 의하여 개 정됨.]
증권 거래를 중개함에 있어, 증 권사는 자본시장감독위원회가 정하는 원칙과 조건 및 절차를 준수하여야 한다.
증권사는 자본시장감독위원회 가 정하는 원칙과 조건 및 절차 에 따라 증권을 거래하여야 한 다. [“자본시장감독위원회”라는 용 어는 「2008년 증권 및 증권거 래소법 (제4권)」에 의하여 개 정됨.]
증권사는 자본시장감독위원회 가 정하는 원칙과 조건 및 절차 에 따라 투자 자문을 실시하여 야 하며, 증권시장감독위원회는 증권사가 고객에게 청구하는 투 자 자문 수수료 또는 서비스 이 용료를 정할 수 있다. [“자본시장감독위원회”라는 용 어는 「2008년 증권 및 증권거 래소법 (제4권)」에 의하여 개 정됨.]
증권 인수에 있어, 증권사는 자 본시장감독위원회가 정하는 원 칙과 조건 및 절차를 준수하여 야 하며, 자본시장감독위원회는 증권사가 고객에게 청구하는 증 권 인수에 대한 수수료 또는 서 비스 요금을 정할 수 있다. [“자본시장감독위원회”라는 용 어는 「2008년 증권 및 증권거 래소법 (제4권)」에 의하여 개 정됨.]
뮤추얼 펀드를 운용함에 있어, 증권사는 해당 뮤추얼펀드 설립 신청서가 사무처의 승인을 받은 때에 뮤추얼 펀드를 설립하고 관리할 수 있으며, 이와 관련하 여 자본시장감독위원회가 고시 하는 원칙과 조건 및 절차에 따 른다. [“자본시장감독위원회”라는 용 어는 「2008년 증권 및 증권거 래소법 (제4권)」에 의하여 개 정됨.]
제117조에 따라 뮤추얼 펀드 설립 신청서를 제출하는 경우, 증권사는 다음 각항의 증빙 서 류를 제출하여야 한다.
투자 단위 소유자와 증권사 간 의 약정은 최소한 다음 각항의 주요 내용을 포함하여야 한다.
[“자본시장감독위원회”라는 용 어는 「2008년 증권 및 증권거 래소법 (제4권)」에 의하여 개 정됨.]
제119조에 따른 약정 및 뮤추 얼 펀드 수익 관리자 위촉 계약 은, 증권사 및 수익 관리자의 책임에 대하여, 투자 단위 소유 자에게 불리한 형태의 한계를 설정하지 아니하여야 한다. 첫 번째 단락의 규정에 반하는 형태의 약정이나 계약 내용은 무효가 된다.
뮤추얼 펀드 수익 관리자는 상 업 은행 또는 사무처가 고시하 는 바에 따른 자격을 갖춘 금융 기관이어야 한다. 첫 번째 단락에 따른 고시에 있어, 사무처는 다음 각항의 사 항을 중요시하여야 한다.
증권사가 제117조에 따라 뮤추 얼 펀드 설립 및 운용 승인을 받은 때에는 일반 대중 대상의 투자 단위 공모 실시 전에 증권 사가 뮤추얼 펀드 수익 관리자 를 두어야 한다.
일반 대중 대상의 투자 단위 공모는, 증권사가 뮤추얼 펀드 설립 및 운영 승인일을 명시한 투자설명서 송부 또는 배포를 완료한 때에 실시할 수 있다. 투자설명서는 사무처가 고시하 는 양식을 따라야 한다. 뮤추얼 펀드 운용 프로젝트의 항목과 일치하는 투자설명서의 항목은 자료의 주요 내용과 상이하지 아니하여야 한다.
각 뮤추얼 펀드 운용 프로젝트 의 투자 단위 판매로 취득한 자 금은 자산으로 취합하며, 증권 사는 해당 자산을 자본시장감독 위원회가 고시하는 원칙과 절차 에 따라 뮤추얼 펀드로 사무처 에 등록한다. 등록 완료한 뮤추얼 펀드는 증 권사를 뮤추얼 펀드 운용 책임 자로 하여, 증권사가 승인받은 뮤추얼 펀드 운용 프로젝트에 따른 뮤추얼 펀드 자산의 투자 를 목적으로 하는 법인이 된다. 두 번째 단락에 따른 뮤추얼 펀드는 뮤추얼 펀드 운용 책임 자인 증권사의 국적과 동일한 국적을 갖는다. [“자본시장감독위원회”라는 용 어는 「2008년 증권 및 증권거 래소법 (제4권)」에 의하여 개 정됨.]
증권사는 투자 단위 소유자 전 체의 이익을 보호하기 위하여 전문적인 지식과 능력을 활용하 고 주의를 기울여 성실하게 뮤 추얼 펀드를 운용하여야 한다. 증권사는 뮤추얼 펀드 운용에 서의 이익에 대한 갈등 방지 정 책을 마련하고, 투자 단위 소유 자에 대한 이익 갈등을 야기하 는 행위 및 투자 단위 소유자에 대한 불공정 행위 또는 투자 단 위 소유자가 취득하여야 할 이 익에 대한 손실을 초래할 수 있 는 행위를 감시·감독하여야 한 다. 이와 관련하여 자본시장감 독위원회가 고시하는 원칙과 조 건 및 절차에 따른다.
뮤추얼 펀드를 운용함에 있어 증권사는 다음 각항을 이행하여 야 한다.
[“자본시장감독위원회”라는 용 어는 「2008년 증권 및 증권거 래소법 (제4권)」에 의하여 개 정됨.]
뮤추얼 펀드를 운용함에 있어 증권사는 다음 각항의 행위를 하여서는 아니 된다.
뮤추얼 펀드를 운용함에 있어 증권사는 승인받은 뮤추얼 펀드 운용 프로젝트 및 투자설명서에 서 명시하고 사무처가 고시하는 원칙과 조건 및 절차에 따라 이 행 완료한 때에 같은 증권사가 운용 책임을 담당하는 다른 뮤 추얼 펀드의 투자 단위에 투자 하거나 보유할 수 있다.
뮤추얼 펀드 수익 관리자는 다 음 각항의 권한과 직무를 담당 한다.
증권사나 뮤추얼 펀드에 손해 를 야기하는 적극 행위 또는 소 극 행위를 하거나 제125조에 따른 직무를 불이행하는 경우 뮤추얼 펀드 수익 관리자는 그 러한 사태를 인지한 날부터 5일 이내에 해당 사건과 관련한 상 세 보고서를 작성하여 사무처에 제출하여야 한다. 사무처가 첫 번째 단락에 따른 보고서를 접수하였으며 증권사 의 행위가 투자 단위 소유자 전 체의 이익에 손실을 초래할 수 있는 행위라고 판단하는 경우 사무처는 손실을 초래할 수 있 거나 제125조에 따른 증권사의 직무 위반에 해당하는 적극 행 위 또는 소극 행위를 시정하도 록 증권사에 명령할 권한을 갖 는다. 증권사가 두 번째 단락에 의거 한 사무처의 명령에 따라 이행 하지 아니하는 경우 사무처는 다음 각항에 해당하는 조치를 할 권한을 갖는다.
증권사는 사무처의 승인을 받 은 뮤추얼 펀드 운용 프로젝트 에 따라 뮤추얼 펀드를 운용하 여야 한다. 뮤추얼 펀드 운용 프로젝트의 수정 또는 운용 방법 개선은 투 자 단위 소유자 회의 개최를 통 하거나, 투자 단위 소유자 대상 의결 요청서를 송부함으로써 이 행할 수 있는 투자 단위 소유자 의 의결을 통하여 실행한다. 증권사는 수정 결정일부터 15 일 이내에 뮤추얼 펀드 운용 프 로젝트 또는 운용 방법 수정을 사무처와 투자 단위 소유자 전 원에게 알리고 일반적인 투자 단위 소유자가 열람할 수 있는 형태로 공개하여야 한다.
다음 각항의 어느 하나에 해당 하는 뮤추얼 펀드 운용 프로젝 트의 수정 또는 운용 방법 변경 의 경우 증권사는 제129조 두 번째 단락에 따른 투자 단위 소 유자 대상 의결 요청에 갈음하 여 사무처에 승인을 요청할 수 있다.
제129조에 따른 투자 단위 소 유자 회의에서 회의체를 구성하 기 위해서는 투자 단위 소유자 25인 이상 또는 투자 단위 소유 자 전체 인원의 과반수가 출석 하여야 하며, 판매된 투자 단위 수의 1/3 이상에 해당하는 투자 단위가 필요하다. 어떤 투자 단위 소유자 회의 소집 시간에서 1시간이 초과하 였으나, 회의에 출석한 투자 단 위 소유자가 첫 번째 단락에서 정한 회의체를 구성할 수 있는 정족수에 미달하는 경우, 증권 사는 회의체 구성 정족수를 적 용하지 아니하고 차기 회의를 소집할 수 있다. 투자 단위 소유자의 의결은 회 의에 출석한 투표권을 가진 투 자 단위 소유자가 보유한 전체 투자 단위 수의 다수결을 따른 다. 다만, 자본시장감독위원회가 그보다 많은 투자 단위 수의 투 표가 필요하도록 고시하는 경우 는 제외한다. 첫 번째 단락과 두 번째 단락 및 세 번째 단락의 내용을 투자 단위 소유자 대상 의결 요청서 송부를 통한 투자 단위 소유자 의 의결 요청에 준용한다.
회의 소집 통지서 또는 투자 단위 소유자 대상 의결 요청서, 회의 소집 통지서 또는 투자 단 위 소유자 대상 의결 요청서에 서 신고하여야 하는 자료, 회의 개최, 투표에서의 권리, 위임 및 투자 단위 소유자의 의결 관련 기타 조치는 자본시장감독위원 회가 정하는 원칙과 조건 및 절 차에 따른다.
투자 단위 소유자 회의 개최를 통하거나 투자 단위 소유자를 대상 의결 요청서를 송부를 통 한 것인지에 관계없이 특정 투 자 단위 소유자 대상 의결 요청 에서 투자 단위 소유자가 해당 투자 단위 소유자의 의결이 불 법적이거나 증권사가 제129조 의2를 위반 또는 준수하지 아니 하였거나 제129조의3에 따라 정한 원칙이나 조건 또는 절차 를 위반 또는 준수하지 아니하 였다고 판단한다면, 판매된 해 당 뮤추얼 펀드 운용 프로젝트 전체 투자 단위의 총 1/5 이상 에 해당하는 투자 단위를 보유 한 5인 이상의 투자 단위 소유 자가 그러한 투자 단위 소유자 의 의결에 대한 취소 명령을 법 원에 신청할 수 있으나, 투자 단위 소유자가 수정 의결한 날 부터 45일 이내에 법원에 신청 하여야 한다.
뮤추얼 펀드가 해산된 때에는 증권사가 청산인을 선임하여 자 산을 모아 투자 단위 소유자에 게 배분하도록 하고 청산 완료 에 필요한 행위를 하여야 한다. 이와 관련하여 자본시장감독위 원회가 정하는 원칙과 조건 및 절차에 따른다. 첫 번째 단락에 따른 청산인은 사무처의 사전 승인을 받아야 한다. 뮤추얼 펀드 청산 비용 및 보 수는 해당 뮤추얼 펀드의 자산 에서 지급한다. [“자본시장감독위원”"라는 용어 는 「2008년 증권 및 증권거래 소법 (제4권)」에 의하여 개정 됨.]
청산이 완료된 때에는 청산인 이 사무처에 뮤추얼 펀드 해산 등록을 신청한다. 뮤추얼 펀드 해산 등록 후 미 결 자산이 있는 것으로 드러난 다면 청산인은 해당 자산을 사 무처에 귀속시키는 이전 조치를 한다.
제47조, 제48조, 제80조, 제81 조, 제82조, 제83조, 제84조, 제 85조, 제86조, 제87조 및 제89 조의 내용과 관련 벌칙 규정을 일반 대중을 대상으로 하는 투 자 단위 공모 및 투자 단위 수 익 관리자에 대한 소송에 준용 한다. 뮤추얼 펀드의 이익을 위한 소 송 비용은 해당 뮤추얼 펀드의 자산에서 청구한다.