「민상법전」 (제1536조-제1560조)
• 국가·지역: 태국 • 제정일: 1926년 1월 1일 •최종개정일: 2021년 4월 9일
เด็กเกิดแต่หญิงขณะเป็นภริยาชายหรือ ภายในสามร้อยสิบวันนับแต่วันที่การสมรส สิ้นสุดลง ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็นบุตรชอบ ด้วยกฎหมายของชายผู้เป็นสามีหรือเคยเป็น สามีแล้วแต่กรณี ให้น าความในวรรคหนึ่งมาใช้บังคับแก่บุตรที่ เกิดจากหญิงก่อนที่ได้มีค าพิพากษาถึงที่สุดของ ศาลแสดงว่าการสมรสเป็นโมฆะ หรือภายใน ระยะเวลาสามร้อยสิบวันนับแต่วันนั้น
ในกรณีที่หญิงท าการสมรสใหม่นั้นเป็นการ ฝ่าฝืนมาตรา ๑๔๕๓ และคลอดบุตรภายในสาม ร้อยสิบวันนับแต่วันที่การสมรสสิ้นสุดลง ให้ สันนิษฐานไว้ก่อนว่าเด็กที่เกิดแต่หญิงนั้นเป็น บุตรชอบด้วยกฎหมายของชายผู้เป็นสามีคนใหม่ และห้ามมิให้น าข้อสันนิษฐานในมาตรา ๑๕๓๖ ที่ว่าเด็กเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของสามีเดิม มาใช้บังคับ ทั้งนี้เว้นแต่มีค าพิพากษาของศาล แสดงว่าเด็กมิใช่บุตรชอบด้วยกฎหมายของชาย ผู้เป็นสามีคนใหม่นั้น
ในกรณีที่ชายหรือหญิงสมรสฝ่าฝืนมาตรา ๑๔๕๒ เด็กที่เกิดในระหว่างการสมรสที่ฝ่าฝืนนั้น ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็นบุตรชอบด้วย กฎหมายของชายผู้เป็นสามีซึ่งได้จดทะเบียน สมรสครั้งหลัง ในกรณีที่หญิงสมรสฝ่าฝืนมาตรา ๑๔๕๒ ถ้า มีค าพิพากษาถึงที่สุดแสดงว่าเด็กมิใช่บุตรชอบ ด้วยกฎหมายของชายผู้เป็นสามีซึ่งได้จด ทะเบียนสมรสครั้งหลัง ให้น าข้อสันนิษฐานใน มาตรา ๑๕๓๖ มาใช้บังคับ ให้น าความในวรรคหนึ่งมาใช้บังคับแก่เด็กที่ เกิดภายในสามร้อยสิบวันนับแต่วันที่ศาลมีค า พิพากษาถึงที่สุดให้การสมรสเป็นโมฆะเพราะฝ่า ฝืนมาตรา ๑๔๕๒ ด้วย
ในกรณีที่สันนิษฐานว่าเด็กเป็นบุตรชอบด้วย กฎหมายของชายผู้เป็นหรือเคยเป็นสามีตาม มาตรา ๑๕๓๖ มาตรา ๑๕๓๗ หรือมาตรา ๑๕๓๘ ชายผู้เป็นหรือเคยเป็นสามีจะไม่รับเด็ก เป็นบุตรของตนก็ได้โดยฟ้องเด็กกับมารดาเด็ก ร่วมกันเป็นจ าเลยและพิสูจน์ได้ว่าตนไม่ได้อยู่ ร่วมกับมารดาเด็กในระยะเวลาตั้งครรภ์คือ ระหว่างหนึ่งร้อยแปดสิบวันถึงสามร้อยสิบวัน ก่อนเด็กเกิด หรือตนไม่สามารถเป็นบิดาของเด็ก ได้เพราะเหตุอย่างอื่น แต่ถ้าในขณะยื่นฟ้องมารดาเด็กไม่มีชีวิตอยู่ จะฟ้องเด็กแต่ผู้เดียวเป็นจ าเลยก็ได้ถ้าเด็กไม่มี ชีวิตอยู่ไม่ว่ามารดาของเด็กจะมีชีวิตอยู่หรือไม่ จะยื่นค าร้องขอให้ศาลแสดงว่าเด็กนั้นไม่เป็น บุตรก็ได้ในกรณีที่มารดาของเด็กหรือทายาท ของเด็กยังมีชีวิตอยู่ ให้ศาลส่งส าเนาค าร้องนี้ไป ให้ด้วย และถ้าศาลเห็นสมควรจะส่งส าเนาค า ร้องไปให้อัยการพิจารณาเพื่อด าเนินคดีแทนเด็ก ด้วยก็ได้
ชายผู้เป็นหรือเคยเป็นสามีจะฟ้องคดีไม่รับ เด็กเป็นบุตรตามมาตรา ๑๕๓๙ ไม่ได้ถ้าปรากฏ ว่าตนเป็นผู้แจ้งการเกิดของเด็กในทะเบียนคน เกิดเองว่าเป็นบุตรของตน หรือจัดหรือยอมให้มี การแจ้งดังกล่าว
การฟ้องคดีไม่รับเด็กเป็นบุตรชายผู้เป็นหรือ เคยเป็นสามีต้องฟ้องภายในหนึ่งปีนับแต่วันรู้ถึง การเกิดของเด็ก แต่ห้ามมิให้ฟ้องเมื่อพ้นสิบปีนับ แต่วันเกิดของเด็ก ในกรณีที่มีค าพิพากษาของศาลแสดงว่าเด็ก มิใช่บุตรชอบด้วยกฎหมายของชายผู้เป็นสามีคน ใหม่ตามมาตรา ๑๕๓๗ หรือชายผู้เป็นสามีใน การสมรสครั้งหลังตามมาตรา ๑๕๓๘ ถ้าชายผู้ เป็นหรือเคยเป็นสามีซึ่งต้องด้วยบทสันนิษฐาน ว่าเด็กเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของตนตาม มาตรา ๑๕๓๖ ประสงค์จะฟ้องคดีไม่รับเด็กเป็น บุตร ให้ฟ้องคดีภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่รู้ว่ามีค า พิพากษาถึงที่สุด
ในกรณีที่ชายผู้เป็นหรือเคยเป็นสามีได้ฟ้อง คดีไม่รับเด็กเป็นบุตรแล้ว และตายก่อนคดีนั้นถึง ที่สุด ผู้มีสิทธิได้รับมรดกร่วมกับเด็กหรือผู้จะเสีย สิทธิรับมรดกเพราะการเกิดของเด็กนั้นจะขอเข้า เป็นคู่ความแทนที่หรืออาจถูกเรียกให้เข้ามาเป็น คู่ความแทนที่ชายผู้เป็นหรือเคยเป็นสามีก็ได้
การฟ้องคดีไม่รับเด็กเป็นบุตร ผู้มีสิทธิได้รับ มรดกร่วมกับเด็กหรือผู้จะเสียสิทธิรับมรดก เพราะการเกิดของเด็กอาจฟ้องได้ในกรณี ดังต่อไปนี้
เมื่อปรากฏข้อเท็จจริงต่อเด็กว่าตนมิได้เป็น บุตรสืบสายโลหิตของชายผู้เป็นสามีของมารดา ตน เด็กจะร้องขอต่ออัยการให้ฟ้องคดีปฏิเสธ ความเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของชายนั้นก็ได้ การฟ้องคดีตามวรรคหนึ่ง ถ้าเด็กได้รู้ ข้อเท็จจริงก่อนบรรลุนิติภาวะว่าตนมิได้เป็นบุตร ของชายผู้เป็นสามีของมารดา ห้ามอัยการฟ้อง คดีเมื่อพ้นหนึ่งปีนับแต่วันที่เด็กบรรลุนิติภาวะ แต่ถ้าเด็กรู้ข้อเท็จจริงดังกล่าวหลังจากบรรลุนิติ ภาวะแล้ว ห้ามอัยการฟ้องคดีเมื่อพ้นหนึ่งปีนับ แต่วันที่เด็กรู้เหตุนั้น ไม่ว่ากรณีใด ๆ ห้ามมิให้ฟ้องคดีปฏิเสธ ความเป็นบุตรเมื่อพ้นสิบปีนับแต่วันที่เด็กบรรลุ นิติภาวะ
เด็กเกิดจากหญิงที่มิได้มีการสมรสกับชาย ให้ถือว่าเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของหญิงนั้น เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น
เด็กเกิดจากบิดามารดาที่มิได้สมรสกัน จะ เป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายต่อเมื่อบิดามารดาได้ สมรสกันในภายหลังหรือบิดาได้จดทะเบียนว่า เป็นบุตรหรือศาลพิพากษาว่าเป็นบุตร
บิดาจะจดทะเบียนเด็กเป็นบุตรชอบด้วย กฎหมายได้ต่อเมื่อได้รับความยินยอมของเด็ก และมารดาเด็ก ในกรณีที่เด็กและมารดาเด็กไม่ได้มาให้ความ ยินยอมต่อหน้านายทะเบียนให้นายทะเบียนแจ้ง การขอจดทะเบียนของบิดาไปยังเด็กและมารดา เด็ก ถ้าเด็กหรือมารดาเด็กไม่คัดค้านหรือไม่ให้ ความยินยอมภายในหกสิบวันนับแต่การแจ้งนั้น ถึงเด็กหรือมารดาเด็ก ให้สันนิษฐานว่าเด็กหรือ มารดาเด็กไม่ให้ความยินยอม ถ้าเด็กหรือมารดา เด็กอยู่นอกประเทศไทยให้ขยายเวลานั้นเป็น หนึ่งร้อยแปดสิบวัน ในกรณีที่เด็กหรือมารดาเด็กคัดค้านว่าผู้ขอ จดทะเบียนไม่ใช่บิดา หรือไม่ให้ความยินยอม หรือไม่อาจให้ความยินยอมได้การจดทะเบียน เด็กเป็นบุตรต้องมีค าพิพากษาของศาล เมื่อศาลได้พิพากษาให้บิดาจดทะเบียนเด็ก เป็นบุตรได้และบิดาได้น าค าพิพากษาไปขอจด ทะเบียนต่อนายทะเบียน ให้นายทะเบียน ด าเนินการจดทะเบียนให้
เมื่อนายทะเบียนได้แจ้งการขอจดทะเบียน ขอรับเด็กเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายไปยังเด็ก และมารดาเด็กตามมาตรา ๑๕๔๘ แล้ว ไม่ว่า เด็กหรือมารดาเด็กจะคัดค้านการจดทะเบียนรับ เด็กเป็นบุตรตามมาตรา ๑๕๔๘ หรือไม่ ภายใน ก าหนดเวลาไม่เกินเก้าสิบวันนับแต่วันแจ้งการ ขอจดทะเบียนถึงเด็กหรือมารดาเด็ก เด็กหรือ มารดาเด็กอาจแจ้งให้นายทะเบียนจดบันทึกไว้ ได้ว่าผู้ขอจดทะเบียนไม่สมควรเป็นผู้ใช้อ านาจ ปกครองบางส่วนหรือทั้งหมด เมื่อได้มีค าแจ้งของเด็กหรือมารดาเด็ก ดังกล่าวในวรรคหนึ่งแล้ว แม้จะได้มีการจด ทะเบียนรับเด็กเป็นบุตรตามมาตรา ๑๕๔๘ บิดา ของเด็กก็ยังใช้อ านาจปกครองบางส่วนหรือ ทั้งหมดตามที่เด็กหรือมารดาเด็กแจ้งว่าบิดาไม่ สมควรเป็นผู้ใช้อ านาจปกครองนั้นไม่ได้จนกว่า ศาลจะพิพากษาให้บิดาของเด็กใช้อ านาจ ปกครองบางส่วนหรือทั้งหมด หรือก าหนดเวลา เก้าสิบวันนับแต่วันที่เด็กหรือมารดาเด็กแจ้งต่อ นายทะเบียนว่าผู้ขอจดทะเบียนรับเด็กเป็นบุตร ไม่สมควรใช้อ านาจปกครองบางส่วนหรือทั้งหมด นั้นได้ล่วงพ้นไปโดยเด็กหรือมารดาเด็กมิได้ร้อง ขอต่อศาลให้พิพากษาว่าผู้ขอจดทะเบียนรับเด็ก เป็นบุตรไม่เป็นผู้สมควรใช้อ านาจปกครอง บางส่วนหรือทั้งหมด ในคดีที่ศาลพิพากษาว่าผู้ขอจดทะเบียนรับ เด็กเป็นบุตรเป็นผู้ไม่สมควรใช้อ านาจปกครอง บางส่วนหรือทั้งหมด ศาลจะพิพากษาในคดี เดียวกันนั้นให้ผู้ใดเป็นผู้ใช้อ านาจปกครองหรือ เป็นผู้ปกครองเพื่อการปกครองบางส่วนหรือ ทั้งหมดก็ได้
ในกรณีที่มีการคัดค้านว่าผู้ซึ่งขอจดทะเบียน รับเด็กเป็นบุตรมิใช่บิดาของเด็ก เมื่อผู้ซึ่งขอจด ทะเบียนรับเด็กเป็นบุตรน าคดีไปสู่ศาลขอให้ศาล พิพากษาว่าผู้ขอจดทะเบียนรับเด็กเป็นบุตรเป็น บิดาของเด็ก เด็กหรือมารดาเด็กจะขอให้ศาล พิพากษาในคดีเดียวกันนั้นก็ได้ว่าผู้ขอจด ทะเบียนรับเด็กเป็นบุตรแม้จะเป็นบิดาของเด็ก ก็ เป็นผู้ไม่สมควรใช้อ านาจปกครองบางส่วนหรือ ทั้งหมด ในกรณีเช่นว่านี้ให้น าความในวรรคสาม ของมาตรา ๑๕๔๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ในกรณีที่เด็กไม่มีมารดาหรือมีมารดาแต่ มารดาถูกถอนอ านาจปกครองบางส่วนหรือ ทั้งหมดและศาลได้ตั้งผู้อื่นเป็นผู้ปกครอง บางส่วนหรือทั้งหมดไว้ก่อนมีการจดทะเบียนรับ เด็กเป็นบุตร บิดาซึ่งจดทะเบียนรับเด็กเป็นบุตร ชอบด้วยกฎหมายแล้วจะร้องขอต่อศาลให้มี ค าสั่งถอนความเป็นผู้ปกครองบางส่วนหรือ ทั้งหมดของผู้ปกครองและให้บิดาเป็นผู้ใช้ อ านาจปกครองก็ได้ถ้าศาลเห็นว่าบิดาอาจใช้ อ านาจปกครองเพื่อความผาสุกและประโยชน์ ของเด็กได้ดียิ่งกว่าผู้ปกครอง ศาลจะมีค าสั่ง ถอนความเป็นผู้ปกครองบางส่วนหรือทั้งหมด ของผู้ปกครองและให้บิดาเป็นผู้ใช้อ านาจ ปกครองก็ได้
ผู้มีส่วนได้เสียจะขอให้ศาลถอนการจด ทะเบียนเด็กรับเป็นบุตร เพราะเหตุว่าผู้ขอให้จด ทะเบียนนั้นมิใช่บิดาก็ได้แต่ต้องฟ้องภายในสาม เดือนนับแต่วันที่รู้การจดทะเบียนนั้น อนึ่ง ห้ามมิ ให้ฟ้องเมื่อพ้นสิบปีนับแต่วันจดทะเบียน
ในคดีฟ้องขอให้รับเด็กเป็นบุตรชอบด้วย กฎหมาย ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าเด็กเป็นบุตร ชอบด้วยกฎหมายของชายเมื่อปรากฏข้อเท็จจริง อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้
พฤติการณ์ที่รู้กันทั่วไปตลอดมาว่าเป็นบุตร นั้น ให้พิจารณาข้อเท็จจริงที่แสดงความ เกี่ยวข้องฉันบิดากับบุตรซึ่งปรากฏในระหว่างตัว เด็กกับครอบครัวที่เด็กอ้างว่าตนสังกัดอยู่ เช่น บิดาให้การศึกษา ให้ความอุปการะเลี้ยงดูหรือ ยอมให้เด็กนั้นใช้ชื่อสกุลของตนหรือโดยเหตุ ประการอื่น ในกรณีใดกรณีหนึ่งดังกล่าวข้างต้น ถ้า ปรากฏว่าชายไม่อาจเป็นบิดาของเด็กนั้นได้ให้ ยกฟ้องเสีย
การฟ้องคดีขอให้รับเด็กเป็นบุตรในระหว่างที่ เด็กเป็นผู้เยาว์ถ้าเด็กมีอายุยังไม่ครบสิบห้าปี บริบูรณ์ผู้แทนโดยชอบธรรมของเด็กเป็นผู้ฟ้อง แทน ในกรณีที่เด็กไม่มีผู้แทนโดยชอบธรรม หรือ มีแต่ผู้แทนโดยชอบธรรมไม่สามารถท าหน้าที่ได้ ญาติสนิทของเด็กหรืออัยการอาจร้องขอต่อศาล ให้ตั้งผู้แทนเฉพาะคดีเพื่อท าหน้าที่ฟ้องคดีแทน เด็กก็ได้ เมื่อเด็กมีอายุสิบห้าปีบริบูรณ์เด็กต้องฟ้อง เอง ทั้งนี้โดยไม่จ าต้องได้รับความยินยอมของ ผู้แทนโดยชอบธรรม ในกรณีที่เด็กบรรลุนิติภาวะแล้วจะต้องฟ้อง คดีภายในหนึ่งปีนับแต่วันบรรลุนิติภาวะ ในกรณีที่เด็กตายในระหว่างที่เด็กนั้นยังมี สิทธิฟ้องคดีขอให้รับเด็กเป็นบุตรอยู่ ผู้สืบสันดานของเด็กจะฟ้องคดีขอให้รับเด็กเป็น บุตรก็ได้ถ้าผู้สืบสันดานของเด็กได้รู้เหตุที่อาจ ขอให้รับเด็กเป็นบุตรมาก่อนวันที่เด็กนั้นตาย ผู้สืบสันดานของเด็กจะต้องฟ้องภายในหนึ่งปีนับ แต่วันที่เด็กนั้นตาย ถ้าผู้สืบสันดานของเด็กได้รู้ เหตุที่อาจขอให้รับเด็กเป็นบุตรภายหลังที่เด็กนั้น ตาย ผู้สืบสันดานของเด็กจะต้องฟ้องภายในหนึ่ง ปีนับแต่วันที่รู้เหตุดังกล่าว แต่ทั้งนี้ต้องไม่พ้น สิบปีนับแต่วันที่เด็กนั้นตาย การฟ้องคดีขอให้รับเด็กเป็นบุตรในระหว่างที่ ผู้สืบสันดานของเด็กเป็นผู้เยาว์ให้น าความใน วรรคหนึ่งและวรรคสองมาใช้บังคับโดยอนุโลม
การเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายตามมาตรา ๑๕๔๗ ให้มีผลนับแต่วันที่เด็กเกิด แต่ทั้งนี้จะ อ้างเป็นเหตุเสื่อมสิทธิของบุคคลภายนอกผู้ท า การโดยสุจริตในระหว่างเวลาตั้งแต่เด็กเกิดจนถึง เวลาที่บิดามารดาได้สมรสกันหรือบิดาได้จด ทะเบียนว่าเป็นบุตรหรือศาลพิพากษาถึงที่สุดว่า เป็นบุตรไม่ได้
การฟ้องคดีขอให้รับเด็กเป็นบุตรของผู้ตายที่ ได้ฟ้องภายในก าหนดอายุความมรดก ถ้าศาลได้ พิพากษาว่าเด็กเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของ ผู้ตาย เด็กนั้นมีสิทธิรับมรดกในฐานะทายาทโดย ธรรม ในกรณีที่ได้มีการแบ่งมรดกไปแล้ว ให้น า บทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี้ว่าด้วยเรื่อง ลาภมิควรได้มาใช้บังคับโดยอนุโลม
เมื่อได้จดทะเบียนเด็กเป็นบุตรแล้วจะถอน มิได้
บุตรเกิดระหว่างสมรสซึ่งศาลพิพากษาให้ เพิกถอนภายหลังนั้นให้ถือว่าเป็นบุตรชอบด้วย กฎหมาย
「민상법전」 (제1536조-제1560조)
• 국가·지역: 태국 • 제정일: 1926년 1월 1일 •최종개정일: 2021년 4월 9일
여자가 남자의 아내인 때 또는 혼인이 종료된 날부터 310일 이내에 출생한 아동은 경우에 따라 남편이거나 남편이었던 남 자의 법적 자녀로 우선 추정하 도록 한다. 첫번째 단락의 내용을 혼인 무 효를 선고하는 법원의 최종 판 결이 있기 전 또는 그러한 날부 터 310일의 기간 내에 여자에 게서 출생한 자녀에게 적용하도 록 한다.
여자의 재혼이 제1453조에 대 한 위반이 되며 혼인이 종료된 날부터 310일 이내에 자녀를 해산한 경우, 그러한 여자에게 서 출생한 자녀는 새로 남편이 된 남자의 법적 자녀로 우선 추 정하도록 하고, 법원이 새로 남 편이 된 남자의 법적 자녀가 아 니라고 판결하는 것을 제외하 고, 전 남편의 법적 자녀라고 추정하는 제1536조를 적용하지 아니하도록 한다.
남자 또는 여자가 제1452조를 위반하여 혼인한 경우, 그러한 위반이 되는 혼인 기간 중에 출 생한 아동은 후에 혼인 등록을 한 남편인 남자의 법적 자녀로 우선 추정하도록 한다. 기혼 여자가 제1452조를 위반 한 경우, 만약 후에 혼인 등록 을 한 남편인 남자의 법적 자녀 가 아니라고 선고하는 법원의 최종 판결이 있다면, 제1536조 의 추정을 적용하도록 한다. 첫번째 단락의 내용을 제1452 조에 대한 위반으로 인하여 법 원이 혼인을 무효로 하는 최종 판결을 한 날부터 310일 이내 에 출생한 아동에게도 적용하도 록 한다.
아동을 제1536조나 제1537조 또는 제1538조에 따라 남편이 거나 남편이었던 남자의 법적 자녀로 추정하는 경우, 남편 또 는 남편이었던 남자는 아동과 모를 함께 피고로 제소하고 본 인이 임신 기간 즉, 아동의 출 생 180일부터 310일 전의 기간 동안 아동의 모와 동거하지 아 니하였거나 다른 이유로 인하여 아동의 부가 될 수 없다고 증명 하여, 자신의 자녀로 인정하지 아니할 수도 있다. 다만, 만약 소를 제기한 때에 아동의 모가 생존해 있지 아니 하다면, 아동을 단독으로 피고 로 제소할 수도 있다. 아동의 모의 생존 여부에 관계없이, 만 약 아동이 생존해 있지 아니하 다면, 법원에 그 아동이 자녀가 아니라고 선고하도록 청원서를 제출할 수도 있다. 아동의 모 또는 아동의 상속인이 생존해 있는 경우, 법원은 청원서 사본 을 전달하도록 하며, 만약 법원 이 합당하다고 판단한다면, 검 사에게 청원서 사본을 송부하여 아동을 대신하여 법적조치를 집 행하기 위한 검토를 하도록 할 수도 있다.
만약 자신이 직접 출생등록증 에 자신의 자녀라고 자녀의 출 생 신고를 하였거나, 그러한 신 고가 있도록 준비 또는 용납한 사람이라고 드러난다면, 남편이 거나 남편이었던 사람이 제 1539조에 따라 아동을 자녀로 인정하지 아니하는 소를 제기할 수 없다.
아동을 자녀로 인정하지 아니 하는 소는 남편이거나 남편이었 던 남자가 아동의 출생을 인지 한 날부터 1년 이내에 제기하여 야 하나, 아동의 출생일부터 10 년이 경과한 때에는 소를 제기 하지 아니하도록 한다. 제1537조에 따라 아동이 새 남편인 남자 또는 제1538조에 따라 후에 혼인한 남편인 남자 의 자녀가 아니라는 법원의 판 결이 있는 경우, 만약 제1536조 에 따라 자신의 법적 자녀라고 추정되어야 하는 남편 또는 남 편이었던 남자가 아동을 자녀로 인정하지 아니하는 소를 제기하 고자 한다면, 최종 판결을 인지 한 날부터 1년 이내에 제기하도 록 한다.
남편이거나 남편이었던 사람이 아동을 자녀로 인정하지 아니하 는 소를 제기하였으며, 그 사건 이 최종심에 도달하기 전 사망 한 경우, 아동과 함께 유산 상 속권을 취득하거나 그 아동의 출생으로 인하여 유산 상속권을 상실하게 될 사람은 남편이거나 남편이었던 남자를 대신하여 소 송당사자로 참여하도록 요청하 거나 대리 소송당사자로 참여하 도록 소환될 수도 있다.
아동을 자녀로 인정하지 아니 하는 소는 다음 각 항의 어느 하나에 해당하는 경우에 아동과 함께 유산 상속권을 취득하였거 나 아동의 출생으로 인하여 유 산 상속권을 상실한 사람이 제 기할 수 있다.
아동에게 본인의 모의 남편인 남자의 법적 자녀가 아니라는 사실관계가 드러난 때에는 아동 이 검사에게 법적 자녀 관계 거 부 기소를 요청할 수도 있다. 첫번째 단락에 따른 기소는 만 약 자녀가 성년이 되기 전에 본 인이 모의 남편인 남자의 자녀 가 아니라는 사실관계를 인지하 였다면, 아동이 성년이 된 날부 터 1년이 경과한 때에는 검사가 기소하는 것을 금지하나, 만약 아동이 성년이 된 이후에 그러 한 사실관계를 인지하였다면, 아동이 그러한 내용을 인지한 날부터 1년이 경과한 때에는 검 사가 기소하는 것을 금지한다. 어떤 경우라 하더라도 아동이 성년이 된 날부터 10년이 경과 한 때에는 자녀 관계 거부 기소 를 하지 아니하도록 한다.
남자와 혼인하지 아니한 여자 로부터 출생한 아동은 그 여자 의 법적 자녀로 보도록 한다. 다만 다르게 규정한 법률이 있 는 경우는 제외한다.
혼인하지 아니한 부모로부터 출생한 아동은 이후 부모가 혼 인한 때나 부가 본인의 자녀라 고 등록한 때 또는 법원이 자녀 로 판결한 때에 법적 자녀가 된 다.
부는 아동과 아동의 모의 동의 를 받은 때에 아동을 법적 자녀 로 등록할 수 있다. 아동과 아동의 모가 등록담당 관 앞에서 동의하지 아니하는 경우, 등록담당관은 부의 등록 신청을 아동과 아동의 모에게 통보하도록 한다. 만약 아동 또 는 아동의 모가 아동 또는 아동 의 모에게 그러한 통보를 한 날 부터 60일 내에 이의를 제기하 지 아니하거나 동의를 하지 아 니한다면, 아동 또는 아동의 모 가 동의하지 아니한다고 추정하 도록 한다. 만약 아동 또는 아 동의 모가 국외에 있다면 그러 한 기간을 180일로 연장하도록 한다. 아동 또는 아동의 모가 등록 신청자가 부가 아니라고 이의를 제기하거나, 동의하지 아니하거 나, 동의하지 아니할 수 있는 경우, 자녀 등록은 법원의 판결 이 있어야 한다. 법원이 부가 아동을 자녀로 등 록하도록 판결하였으며, 부가 판결문을 제출하여 등록담당관 에게 등록 신청을 하는 때에는 등록담당관은 등록 조치를 하도 록 한다.
등록담당관이 제1548조에 따 라 아동과 아동의 모에게 법적 자녀 등록 신청을 통보한 때에 는, 제1548조에 따른 아동 또는 아동의 모의 자녀 등록 신청에 대한 이의 제기 여부를 불문하 고, 아동 또는 아동의 모에게 등록 신청을 통보한 날부터 90 일을 초과하지 아니하는 기한 내에 아동 또는 아동의 모가 등 록담당관에게 등록신청자가 친 권의 일부 또는 전부를 행사하 기에 적절하지 아니하다고 기록 하도록 신고할 수 있다. 첫번째 단락과 같은 아동 또는 아동의 모의 신고가 있는 때에 는 제1548조에 따른 자녀 인정 등록이 있다고 하더라도, 아동 의 부는 법원이 아동의 부에게 친권의 일부 또는 전부를 행사 하도록 판결하거나 아동 또는 아동의 모가 법원에 자녀 등록 신청자가 친권의 일부 또는 전 부를 행사하기에 적절하지 아니 하다는 판결을 하도록 요청하지 아니하여, 아동 또는 아동의 모 가 등록담당관에게 자녀 등록 신청자가 친권의 일부 또는 전 부를 행사하기에 적절하지 아니 하다고 신고한 날부터 90일의 기한이 경과할 때가지는 부가 그러한 친권자가 되기에 적절하 지 아니하다는 아동 또는 아동 의 모의 신고에 따라 친권의 일 부 또는 전부를 행사할 수 없 다. 법원이 자녀 인정 등록 신청자 가 친권의 일부 또는 전부를 행 사하기 적절하지 아니하다고 판 결하는 사건에서는 법원이 그러 한 동일 사건에서 어떠한 사람 을 보호 일부 또는 전부를 위한 친권자 또는 보호자로 결정할 수도 있다.
자녀 인정 등록 신청자가 아동 의 부가 아니라는 이의 제기가 있는 경우, 자녀 인정 등록 신 청자가 법원에 자녀 인정 등록 신청자가 자녀의 부라고 판결하 도록 소를 제기한 때에는 아동 또는 아동의 모가 법원에 그러 한 동일 사건에 대하여 자녀 인 정 등록 신청자가 자의 부라고 하더라도 친권의 일부 또는 전 부를 행사하기에 적절하지 아니 한 사람이라고 판결하도록 요청 할 수도 있다. 이와 같은 경우, 제1549조 세번째 단락의 내용 을 준용하도록 한다.
아동이 모가 없거나 모는 있으 나 친권의 일부 또는 전부를 박 탈당하였으며, 아동을 자녀로 인정하는 등록이 있기 전에 법 원이 다른 사람을 일부 또는 전 체 보호자로 지정한 경우, 아동 을 법적 자녀로 인정 등록한 부 는 법원에 보호자의 보호자 자 격 일부 또는 전부를 박탈하고 부를 친권자로 하는 명령을 하 도록 요청할 수도 있다. 만약 법원이 보호자보다 아버지가 친 권을 행사하는 것이 아동의 행 복과 이익을 위하여 유리하다고 판단한다면, 법원은 보호자의 자격 일부 또는 전부를 박탈하 고 부가 친권자가 되도록 명령 할 수도 있다.
이해관계자는 등록 신청자가 부가 아니라는 이유로 법원에 아동을 자녀로 인정하는 등록을 취소하도록 요청할 수도 있으 나, 그러한 등록을 인지한 날부 터 3개월 이내에 소를 제기하여 야 한다. 등록일부터 10년이 경 과한 때에는 제소하지 아니하도 록 한다.
아동을 법적 자녀로 인정하도 록 하는 소송 사건에서 다음 각 항의 어느 하나에 해당하는 사 실관계가 드러난 때에는 아동을 남자의 법적 자녀로 우선 추정 하도록 한다.
내내 자녀라고 알려진 그러한 정황은 부가 교육을 제공하거 나, 양육하거나 그 아동이 본인 의 성을 사용하도록 용납하거나 기타 이유로 아동이 본인이 소 속되어 있다고 주장하는 아동과 가족 사이에서 나타나는 부와 자녀와 같은 관련성을 나타내는 사실관계를 검토하도록 한다. 위와 같은 어느 하나의 경우에 해당하는 경우, 만약 남자가 그 아동의 부가 될 수 없다고 드러 난다면 소를 기각하도록 한다.
아동이 미성년자인 기간에 아 동을 자녀로 인정하도록 요청하 는 소는 만약 아동이 만15세가 되지 아니하였다면 아동의 법정 대리인이 대신 원고가 되도록 한다. 아동이 법정 대리인이 없 거나 법정 대리인이 의무를 이 행할 수 없는 경우, 아동의 가 까운 친척 또는 검사가 법원에 아동을 대리한 제소 의무를 수 행하기 위한 사건에 한한 대리 인 지정을 요청할 수도 있다. 아동이 만15세가 된 때에는 아 동이 직접 소를 제기하여야 한 다. 이와 관련하여 법정 대리인 의 동의를 받을 필요가 없다. 아동이 성년이 된 경우에는 성 년이 된 날부터 1년 이내에 소 를 제기하여야 한다. 아동이 자녀로 인정하도록 요 청하는 소를 제기할 권리가 있 는 동안에 아동이 사망하는 경 우, 아동의 비속이 아동을 자녀 로 인정하도록 요청하는 소를 제기할 수도 있다. 만약 아동의 비속이 아동이 사망한 날 이전 에 아동을 자녀로 인정하도록 요청하는 이유를 인지하였다면, 아동의 비속은 아동이 사망한 날부터 1년 이내에 소를 제기하 여야 한다. 만약 아동의 비속이 아동이 사망한 이후에 아동을 자녀로 인정하도록 요청하는 이 유를 인지하였다면, 아동의 비 속은 해당 이유를 인지한 날부 터 1년 이내에 소를 제기하여 한다. 그러나 이와 관련하여 아 동이 사망한 날부터 10년을 초 과하지 아니하여야 한다. 아동의 비속이 미성년인 동안 아동을 자녀로 인정하도록 하는 소는 첫번째 단락 및 두번째 단 락의 내용을 준용하도록 한다.
제1547조에 따라 법적 자녀가 되는 것은 아동이 출생한 날부 터 효력을 발생하도록 하나, 이 와 관련하여 아동이 출생한 날 부터 부모가 혼인하거나 부가 자녀라고 등록하거나, 법원이 자녀가 될 수 없다고 최종 판결 을 하는 날까지의 기간 동안에 는 성실하게 행한 제삼자의 권 리 상실의 이유로 제기할 수 없 다.
유산 시효 기한 내에 제기된 아동을 사망자의 자녀로 인정하 도록 요청하는 소는 만약 법원 이 아동을 사망자의 법적 자녀 라고 판결한다면, 그 아동은 법 정상속인의 자격으로 유산을 상 속받을 권리가 있다. 유산 분배를 완료한 경우에는 부당이득 사건에 관한 이 법전 의 규정을 준용하도록 한다.
아동을 자녀로 등록 완료한 때 에는 철회할 수 없다.
법원이 사후 취소 판결을 하는 혼인 기간 동안에 출생한 자녀 는 법적 자녀로 보도록 한다.